กิจกรรมที่2 ฝึกอบรมแกนนำครู

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กับการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การบริหารหลักสูตร.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ภาพรวมการพัฒนาสู่สังคมคาร์บอนต่ำ ระดับโลก ระดับประเทศ ระดับท้องถิ่น ระดับโรงเรียน และตัวอย่างปฏิบัติการมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ โครงการพัฒนาการจัดการศึกษาโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองทุ่งสง.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
รายงานผล O-NET ปีการศึกษา 2556
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“โครงการพัฒนาการจัดการศึกษาโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองทุ่งสง ก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำ” กิจกรรมที่2 ฝึกอบรมแกนนำครู 5-7 กรกฎาคม 2559 ณ ชุมทางลดโลกร้อน เทศบาลเมืองทุ่งสง

เป็นเมืองชุมทางน่าอยู่ มีชุมชนเข้มแข็ง และมี สังคมที่ผาสุกอย่างยั่งยืน วิสัยทัศน์ในการพัฒนาเมืองทุ่งสง ยุคนายกฯ ทรงชัย วงษ์วัชรดำรง เป็นเมืองชุมทางน่าอยู่ มีชุมชนเข้มแข็ง และมี สังคมที่ผาสุกอย่างยั่งยืน และ นโยบายด้านการพัฒนาการศึกษา ส่งเสริมการกีฬา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น นโยบายด้านการพัฒนา คุณภาพชีวิต เมืองแห่งการเรียนรู้ มุ่งพัฒนาให้ “โรงเรียน” เป็นฐานการเรียนรู้และพัฒนาทุกด้าน เมืองคาร์บอนต่ำ มุ่งพัฒนาให้ “คนและเมือง” มีการเตรียม ความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ต้นไม้-มลพิษ-พลังงาน-การบริโภค) เหตุผลและความสำคัญ

ทำอย่างไรในการนำยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่สังคม คาร์บอนต่ำมาเชื่อมโยงการพัฒนาการศึกษาใน ระบบโรงเรียน เพื่อโรงเรียนเป็น “ฐานในการ เรียนรู้และพัฒนาเมืองทุ่งสงสู่สังคมคาร์บอนต่ำ” จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาการจัดการศึกษา โรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองทุ่งสง ก้าวสู่สังคม คาร์บอนต่ำ ทรงชัย วงษ์วัชรดำรง นายกเทศมนตรีเมืองทุ่งสง

4 ยุทธศาสตร์สู่เมืองทุ่งสงคาร์บอนต่ำ

4 ยุทธศาสตร์... มุ่งสู่เมืองเมืองคาร์บอนต่ำ ยุทธศาสตร์ที่ 1 มุ่งสู่ทุ่งสง “เมืองแห่ง ต้นไม้” ดำเนินการและสนับสนุนการเพิ่มพื้นที่สี เขียวของเมือง โดยการปลูกต้นไม้ใหม่และดูแล รักษาต้นไม้ที่มีอยู่เดิมในเมืองให้คงอยู่ ยุทธศาสตร์ที่ 2 มุ่งสู่ทุ่งสง“เมืองไร้ มลพิษ”เพื่อดูแลจัดการเรื่องขยะและน้ำเสีย ฌาปนสถาน ให้เกิดมลพิษน้อยที่สุด 4 ยุทธศาสตร์... มุ่งสู่เมืองเมืองคาร์บอนต่ำ

4 ยุทธศาสตร์... มุ่งสู่ทุ่งสงเมืองคาร์บอนต่ำ ยุทธศาสตร์ที่ 3 มุ่งสู่ทุ่งสง “เมืองพิชิตพลังงาน” เพื่อบริหารจัดการเรื่องการลดการใช้พลังงานฟอสซิล ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และส่งเสริมพลังงาน สะอาด ยุทธศาสตร์ที่ 4 มุ่งสู่ทุ่งสง “เมืองที่มีการบริโภค อย่างยั่งยืน” ส่งเสริมการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง สนับสนุนการทำเกษตรเมือง สวนผักในเมือง เพื่อใช้ในการบริโภคบนพื้นฐานหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4 ยุทธศาสตร์... มุ่งสู่ทุ่งสงเมืองคาร์บอนต่ำ

หลักการและแนวทางการดำเนินงาน ยึดหลักการ “การพัฒนาโรงเรียนทั้ง ระบบ หรือ Whole – School Approach: WSA)” มาประยุกต์ใช้ในการดำเนินงาน กล่าวคือ หาก ต้องการให้โรงเรียนเป็นฐานการสร้าง คนรุ่นใหม่ให้ก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำ มีความยั่งยืนตลอดไป โดยไม่เลือน หายไปตามโครงการฯ นั้น บุคลากร ทุกฝ่ายต้องรับรู้ เข้าใจ และร่วมมือ กันอย่างจริงจัง หลักการและแนวทางการดำเนินงาน

ถือเป็นส่วนหนึ่งของงานโรงเรียน ไม่คิดว่าเป็นงานฝากหรืองานส่วนเกิน ครบวงจร ตั้งแต่การสร้างความรู้ความเข้าใจ การวางแผน ลงมือปฏิบัติ และติดตามประเมินผล ครอบคลุม และสอดคล้องกันในทุกฝ่าย ทั้งฝ่ายบริหาร ฝ่ายวิชาการและ ฝ่ายอื่นๆ ทำอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่การกำหนดนโยบาย เป้าหมาย มีการวางแผน และมีแนวทางการดาเนินงานอย่างชัดเจน ประเมินตนเอง ทั้งก่อนและระหว่างดำเนินงาน รวมทั้งมีการปรับปรุงและ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม การบูรณาการและการเรียนรู้ เข้าใจ ยอมรับ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมแนวทาง 4 ยุทธศาสตร์ ตาม บทบาทหน้าที่ของตน ตั้งแต่ต้น และตลอดระยะเวลาการทำงาน และมี ส่วนร่วมรับรู้และภาคภูมิใจในผลสำเร็จของงาน ยึด 7 แนวทางดำเนินงาน:

เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนทั้ง 6 แห่งในสังกัด เทศบาลเมืองทุ่งสง เป็นโรงเรียน “ยุคใหม่” ที่สามารถเป็นฐานการเรียนรู้และพัฒนา แบบบูรณาการ (School Based Management for Local Development , SBMD) เรื่องการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยมุ่งเน้นลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Climate Change Mitigation) สู่สังคมคาร์บอนต่ำได้อย่างเป็น รูปธรรม วัตถุประสงค์หลัก

วัตถุประสงค์ย่อย 5 เดือน (11พ.ค.-10 ต.ค.59) 1) เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจของผู้บริหารโรงเรียน ครู รวมทั้งบุคลากรเทศบาลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการ จัดการศึกษา และพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม ต่อหลักการ แนวคิด และแนวทางในการดำเนินโครงการ รวมทั้ง ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นในเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ และแนวทางการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำใน บทบาทของสถานศึกษา 2) เพื่อร่วมกันพัฒนาร่างแผนการจัดการเรียนรู้ และ พัฒนาโรงเรียนแบบบูรณาการ ในการก้าวสู่การเป็น ฐานการเรียนรู้โรงเรียนต้นแบบคาร์บอนต่ำในอนาคต วัตถุประสงค์ย่อย 5 เดือน (11พ.ค.-10 ต.ค.59)

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ในระยะเวลา 5 เดือนนี้ ผู้บริหารและครูที่เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 70 ระบุว่ามีความรู้ ความเข้าใจต่อในเรื่องการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ และภาวะโลกร้อน และระบุว่าโรงเรียน จำเป็นอย่างมากในการมุ่งสู่การเป็นโรงเรียนคาร์บอนต่ำ ร่วมกับเทศบาล ครูที่เข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อยร้อยละ 70 มีความเข้าใจ การบูรณาการ 4 ยุทธศาสตร์คาร์บอนต่ำลงสู่การพัฒนา โรงเรียนทั้งระบบ โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 4 แห่งจากทั้งหมด 6 แห่ง มีแผนการจัดการเรียนรู้ และพัฒนาโรงเรียนทั้ง ระบบ สู่การเป็นโรงเรียนคาร์บอนต่ำได้อย่างชัดเจน ผลที่คาดว่าจะได้รับ ในระยะเวลา 5 เดือนนี้

กิจกรรมที่จะดำเนินการ ในระยะเวลา 5 เดือน กิจกรรมที่ 1 ประชุมผู้บริหารเทศบาลและผู้บริหารโรงเรียน (7 มิ.ย. 59) กิจกรรมที่ 2 การฝึกอบรมครูและบุคลากรเทศบาล (5-7 กรกฎาคม 59) กิจกรรมที่ 3 ผู้เชี่ยวชาญเยี่ยมโรงเรียนเพื่อให้เสนอแนะต่อแผนพัฒนา โรงเรียนและแผนการจัดการเรียนรู้คาร์บอนต่ำแบบูรณาการ (ปลายเดือนส.ค.59) กิจกรรมที่จะดำเนินการ ในระยะเวลา 5 เดือน

แผนการดำเนินงาน

ประเด็นที่จะให้ครูแต่ละโรงเรียนช่วยกันคิด ประเด็นที่ 1 สิ่งที่อยากเห็น/อยากให้เกิดขึ้น ในโรงเรียนของเราในระยะเวลา 3-5 ปีนี้ ประเด็นที่ 2 โรงเรียนเราทำอะไรไปแล้วบ้าง ในการก้าวไปถึงสิ่งที่เราอยากเห็น/อยากให้ เกิด ประเด็นที่ 3 อะไรที่เป็นอุปสรรคปัญหาที่ทำ ให้รร.ก้าวไปสู่ประเด็นที่ 1 ไม่ได้ ประเด็นที่จะให้ครูแต่ละโรงเรียนช่วยกันคิด

ความคาดหวังต่อการอบรมนี้ กฎกติกาการอบรม 1. ตรงต่อเวลาและเลิกตรงเวลา(16.30 น.) 2. ไม่เล่นโทรศัพท์ (ไลน์/facebook/ปิดเสียง) 3. ไม่คุยเสียงดัง ตั้งใจฟังวิทยากร 4. แต่งกายตามสบาย ความคาดหวังต่อการอบรมนี้ 1. เรียนรู้อย่างผ่อนคลาย ไม่เร่งรัด ไม่ยัดเยียด 2. ต้องการความรู้ที่นำไปสู่การปฏิบัติได้จริง 3. เกียรติบัตร