Host configuration & Data Storage Management

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
Advertisements

ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
FILE AND DIRECTORIES พื้นฐานลินุกส์ ผู้สอน นายวุฒิชัย คำมีสว่าง.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การเพิ่ม ลบ จำกัดสิทธิ์ User จัดทำโดย 1. นายธัชนนท์ ต๊ะต้องใจ 1-B เลขที่ 4 2. นาย ไพบูรณ์ อินทะซาว 1-B เลขที่ 23.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Sc B011 Software ที่สนใจ. sc B012 VCD Cutter โปรแกรม ตัด - ต่อ VCD เฉพาะส่วนที่ ต้องการแบบง่าย ๆ.
Information and Communication Technology Lab2
FIX COMMON PC PROBLEMS By Missis Jatuporn Surinseng Missis Chamaiporn Sommit.
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
การสำรองข้อมูล backup
Pro/Desktop.
ระบบบริหารงานบุคคล.
Winrar โปรแกรมย่อไฟล์ หลายครั้งที่เมื่อเราโหลดข้อมูลมาจากเว็บไซต์ ต่างๆ แล้วไฟล์ที่ได้มีนามสกุลเป็น.rar ซึ่งเราต้อง นำไฟล์นั้นมาแตกออกเพื่อที่เราจะได้ข้อมูลจริงๆที่
แนะนำเมนู และการใช้งาน โปรแกรม IEP ONLINE กลุ่มงานวิชาการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 11 จังหวัดนครราชสีมา.
และสร้างเว็บไซต์ประเภทCMS
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
P.2 P.1Presented by นางสาวฐาวรา พ ร ธรรมวัฒน์ ID Section B01 SC15A.
คำสั่ง ในระบบ DOS (Disk Operating System)
การใช้งาน Microsoft Excel
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
Microsoft Powerpoint Microsoft Powerpoint อีกโปรแกรม หนึ่งของชุด Microsoft Office โปรแกรม Powerpoint นี้ใช้สำหรับการทำพรีเซ็นเทชั่น หรือการนำเสนอข้อมูล.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
เทคนิคการสร้าง ภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์ Computer Animation ง
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
IP-Addressing and Subneting
การใช้งานเครื่องแม่ข่ายเสมือน (Virtual Server-VMWARE) มหาวิทยาลัยสงขลาครินทร์ Server Admin, ISD CC PSU.
Introduction to VB2010 EXPRESS
IP-Addressing and Subneting
Content Team: คู่มือการป้องกันสินค้าลอกเลียนแบบ 9 July 2015
Boson Netsim Simulator ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
Training Admin Docushare
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การบริหารโครงการ Project Management
เรียนรู้การใช้งานโปรแกรม เพื่อจำลองระบบไมโครคอนโทรลเลอร์
โครงสร้างภาษา C Arduino
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
Basic Input Output System
บทที่ 8 ระบบปฏิบัติการ DOS
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
Object-Oriented Programming Paradigm
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
เรื่อง การใช้งานระบบ Survey license
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
SMS News Distribute Service
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
เงื่อนไขการสร้างเอกสารเลือกวันหยุด
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดบล๊อคและบัฟเฟอร์ (Blocking and Buffering)
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Host configuration & Data Storage Management 030523126 – Linux Operating System and Administration Assoc. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka

การปรับแต่งเครื่องแม่ข่าย ในการทำงานกับกับเครื่องแม่ข่าย มีสิ่งที่สามารถปรับแต่งได้ คือ Boot loader Services Keyboard Language Date และ Time Network Printer ตรงๆตัวในโหมด GUI

Boot Process Boot process คือกระบวนการเป็นขั้นตอนของระบบตั้งแต่เปิดเครื่อง จนถึงหน้าจอ login การ boot บางครั้งอาจจะเกิดปัญหาขึ้น เช่น driver การ์ดจอมีปัญหาทำให้ไม่สามารถเข้าสู่ X windows ได้ ลืมรหัสผ่านของผู้ดูแลระบบ ตัวจัดการ Boot Process เรียกว่า Boot Loader ใน CentOS โดยปกติแล้ว boot loader จะใช้โปรแกรมที่ชื่อว่า GRUB (GRand Unified Boot loader)

GRUB การอัพเดต Linux ใช้รู้จัก hardware มากขึ้น หรือ มีแก้ bug จะเรียกว่ากับ update kernel ในบางครั้งการใช้ kernel ใหม่อาจจะทำให้เกิดปัญหา GRUB จึงสามารถเลือกได้ ว่าจะ boot เข้าระบบด้วย kernel เก่า หรือใหม่

การแก้ไข parameter ใน GRUB เมื่ออยู่ที่หน้าเมนูหลักของ GRUB กด ‘e’ จะเป็นแก้ไขค่า parameter ในการ boot root (hd0,0) kernel ro rhgb quiet

Parameter ของ kernel เราสามารถเพิ่มเติม parameter ต่างๆ ของ kernel เข้าไปได้อีก ตัวอย่างเช่น single เป็น text, ไม่มี network, เข้าเป็น root เลย 1 เหมือนกับ single 3 text mode + network แต่ไม่มี X windows 5 เข้า X windows ทดลองพิมพ์ single ต่อท้าย quiet ในส่วนของ kernel แล้ว กด ‘b’ เพื่อ boot คำสั่ง passwd ใช้สำหรับเปลี่ยนรหัสผ่าน (password)

แฟ้มข้อมูล grub.conf การเปลี่ยน parameter ในการ boot ของ GRUB จะเป็นการเปลี่ยน ชั่วคราว เมื่อ boot เครื่องขึ้นมาใหม่สิ่งที่แก้จะหายไป ถ้าอยากให้การแก้ไขอยู่ถาวรจะต้องไปแก้ไขใน /boot/grub/grub.conf

การเพิ่มรหัสผ่านให้กับ GRUB grub-md5-crypt เป็นคำสั่งเพื่อเข้ารหัสของรหัสผ่านแบบ md5

วิธีการเพิ่มรหัสผ่านให้กับ GRUB หลังจากที่ได้เข้ารหัส รหัสผ่าน ด้วย grub-md5-crypt แล้ว ให้นำรหัส นั้นไปเพิ่มใน /boot/grub/grub.conf

หลังจากที่มีการเพิ่มรหัสผ่านให้ GRUB

Kernel, Init เมื่อ boot loader ทำงาน Kernel จะถูกเรียกเพื่อเริ่มต้นการทำงาน และ config hardware และอุปกรณ์ต่างๆ จากนั้นจะมีการ mount RAM disk ซึ่งจะบรรจุไปด้วย driver ที่ จำเป็นก่อนที่ root ของระบบแฟ้มข้อมูลจะถูก mount จากนั้น kernel จะเรียกใช้งาน init (/sbin/init) ซึ่งเป็นตัว config เกี่ยวกับ environment ของระบบ และชุดของบริการต่างๆ ในระบบ โปรแกรม init จะไปเรียก /etc/rc.d/rc.sysinit จากนั้น init จะไปเรียก /etc/inittab

/etc/inittab และ runlevel เป็น script ที่จะเรียก runlevel ขึ้นมาใช้งาน ตัวที่เรียก runlevel โดยปกติคือ initdefault รูปแบบคือ id:runlevel:initdefault บริการที่ถูกเรียกใน runlevel จะถูกเก็บใน directory /etc/rc.d/rcrunlevel.d ตัวอย่างถ้า runlevel เป็น 3 บริการจะเก็บใน /etc/rc.d/rc3.d ข้างใน directory /etc/rc.d/rcrunlevel.d จะประกอบไปด้วย แฟ้มข้อมูล ขึ้นต้นด้วย S (เรียกใช้ตอนเข้า runlevel) ขึ้นต้นด้วย K (เรียกใช้ตอนออกจาก runlevel) จะถูกเรียกตามลำดับตอนแรกที่ตามตัว S, K

หมายเลข RunLevel คำสั่ง telinit หมายเลขrunlevel Description System shutdown 1 Single-user mode, no networking 2 Multi-user mode, no networking 3 Multi-user mode, text-user interface with networking 4 Reserved 5 Multi-user mode, graphical-user interface with networking 6 Reboot คำสั่ง telinit หมายเลขrunlevel ใช้สำหรับเปลี่ยน runlevel ของระบบ

Services ในแต่ละ runlevel เราสามารถกำหนด service ที่จะให้ถูกเรียกใช้งานได้ โหมด graphics เรียกผ่าน terminal พิมพ์ system-config-services เรียกผ่าน menu : Applications  Administration  Services โหมด console ใช้คำสั่ง chkconfig chkconfig --list (ดูบริการต่างๆ) chkconfig --level runlevel servicename on|off การเรียกใช้งาน service service servicename start|stop|restart

Data Storage Management RAID (Redundant Array of Inexpensive Disks) ตอนนี้ เปลี่ยนเป็น (Redundant Array of Independent Disks) LVM (Logical Volume Manager) ทั้ง 2 เทคโนโลยีนำมาประยุกต์ใช้งานทำให้ งานของผู้ดูแลระบบที่จะต้อง จัดการเกี่ยวกับที่เก็บข้อมูล ทำได้สะดวกและสบายมากขึ้น แก้ปัญหาเกี่ยวกับการสำรองข้อมูลได้

การเพิ่มเติม Harddisk ให้กับ server Shutdown เครื่อง server เปิด case เครื่อง server ใส่ harddisk อีกตัวเพิ่มเข้าไป ปิด case เปิดเครื่อง server ใน VirtualBox ถ้าต้องการเพิ่ม Harddisk อีกตัวให้กับ GuestOS File  Virtual Media Manager  New ให้ลองสร้าง harddisk ตัวใหม่ ขนาด 1 GB

คำสั่ง fdisk เมื่อใส่ harddisk ใหม่ harddisk ตัวนั้นจะยังไม่มีการแบ่ง partition และ format คำสั่ง fdisk จะเป็นตัวช่วยให้เรามองเห็น harddisk ที่เพิ่งใส่เข้ามา fdisk -l เพื่อดู harddisk ที่ต่อเข้ากับเครื่อง server

สร้าง partition ให้กับ harddisk ใหม่ การสร้าง partition ให้กับ harddisk ใหม่ (/dev/sdb) ใช้คำสั่ง fdisk /dev/sdb กด m เพื่อดู help กด n เพื่อสร้าง partition ใหม่ p primary มีได้ 4 อันใน 1 harddisk e extended p ดู parition ที่ถูกแก้ไข w เขียน partition ลองใช้คำสั่ง “fdisk -l” ใหม่เพื่อดู partition

Format Harddisk mkfs.ext3 /dev/sdb1 เมื่อทำการแบ่ง partition เสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็จะต้อง format Linux รองรับระบบแฟ้มข้อมูลหลายประเภท เช่น ext2 ext3 (2001) ext4 (2008) DOS VFAT คำสั่งที่ใช้ format harddisk เป็น ระบบแฟ้มข้อมูลแบบ ext3 mkfs.ext3 /dev/sdb1

mount/umount harddisk ใหม่ สมมุติเหตุการณ์ ต้องการเอา harddisk ใหม่ มาใช้ในการเก็บ web แฟ้มข้อมูล Web โดยปกติของ CentOS จะมีที่ตั้งที่ /var/www ถ้าต้องการให้ /var/www มาเก็บข้อมูลใน harddisk ตัวใหม่ จะต้อง ใช้คำสั่ง “mount” mount /dev/sdb1 /var/www ลองใช้คำสั่ง “df –h” เพื่อดูเนื้อที่ harddisk ในระบบ ถ้าต้องการจะเอาการ mount ออกใช้คำสั่ง umount umount /dev/sdb1 หรือ umount /var/www

/etc/fstab การใช้คำสั่ง mount จะทำงานเพียงแต่ในขณะนั้นเท่านั้น เมื่อ reboot เครื่อง ใหม่ ระบบก็จะลืมการ mount ต่างๆ ที่ทำไว้ ถ้าต้องการใช้การ mount ถาวรต้องการแก้ไขแฟ้มข้อมูล /etc/fstab รูปแบบของ /etc/fstab device ตำแหน่งที่จะmount ระบบแฟ้มข้อมูล defaults dump(0/1) fsckOrder /dev/sdb1 /var/www ext3 defaults 0 2

RAID หลักการของ RAID จะมีการใช้ harddisk อย่างน้อย 2 ตัวขึ้นไป โดยช่วยกัน อาจ harddisk 1 ตัวเป็นอะไรไป ข้อมูลจะไม่สูญหาย ชนิดของ RAID Hardware RAID แพง แต่ดีที่สุด ใช้ hardware เป็นตัวควบคุมการทำงานของ RAID โดยตรง Software RAID เป็นตัวที่ดีรองลงมาจาก hardware RAID ซึ่ง CentOS รองรับการใช้งานได้ RAID0, RAID1, RAID5, RAID6, RAID10 Fake RAID เป็นการทำ RAID ปลอม เนื่องจาก software บางตัวจะรันเฉพาะเครื่องที่มี RAID เท่านั้น ทำให้ในความเป็นจริงไม่ได้ช่วยอะไรระบบเลย

RAID0 ระดับของ RAID มีหลายระดับ จะกล่าวถึงระดับที่ CentOS รองรับคือ 0, 1, 5, 6, และ 10 RAID0 จะต้องใช้ harddisk 2 ตัวขึ้นไป เป็นการทำ strip data คือแบ่งข้อมูลไปกระจายตาม harddisk ต่างๆ ไม่ได้เป็นการป้องกันการสูญหายของข้อมูลเมื่อ harddisk ตัวใดตัวหนึ่งพัง เนื้อที่ harddisk ใช้ได้เท่าเดิม (1) แต่จะทำให้การอ่าน (nX) และเขียนข้อมูลเร็วขึ้น (nX)

RAID1 RAID1 บางครั้งเรียกว่า Mirror ก็การสำรองข้อมูลเหมือนกันลงใน harddisk ทุกตัวที่ทำ RAID จะต้องใช้ harddisk 2 ตัวขึ้นไป สามารถป้องกัน harddisk ล้มเหลวได้ n-1 ตัว อัตราเนื้อที่ที่เก็บข้อมูลได้ 1/n ความเร็วในการอ่าน n เท่า ความเร็วในการเขียน 1 เท่า

RAID5 RAID5 หรือ Block-level striping with distributed parity เป็นการใช้ parity เข้ามาช่วยในการกู้ข้อมูลจาก harddisk ที่เสีย ข้อมูลที่อยู่ใน harddisk ที่เสียสามารถกู้คืนได้ด้วยการคำนวณจากข้อมูล ที่เหลือจาก harddisk ลูกอื่น เมื่อใส่ harddisk ใหม่ให้ ต้องใช้ harddisk อย่างน้อย 3 ตัว อัตราเนื้อที่ที่ใช้เก็บข้อมูล 1- (1 / n) ทนต่อการล้มเหลวของ harddisk ได้ 1 ตัว

RAID6 RAID6 หรือ Block-level striping with double distributed parity การทำงานเหมือน RAID6 แต่มีการเก็บ parity 2 ที่ ทำให้กันการเสียหาย ของ harddisk ได้ 2 ตัวในเวลาเดียวกัน

RAID10 RAID จริงๆ แล้วในตอนนี้มากสุดคือ ระดับ 6 RAID10 มาจาก RAID1+0 คือการทำ RAID1 (mirror) แล้ว RAID0 (strip)

เตรียมตัวทำ RAID ใน CentOS เราจะทดลองการทำ RAID1 (mirror) สร้าง harddisk ใหม่อีก 1 ตัว (ตอนนี้จะมีทั้งหมด 3 harddisks) ใช้คำสั่ง fdisk ลบ partition ของ /dev/sdb ออกก่อน เมื่อ fdisk –l จะเห็นประมาณนี้

สร้าง RAID1 ใน CentOS สร้าง primary partition ใน harddisk ใหม่ทั้ง 2 ตัว /dev/sdb /dev/sdc เราจะสร้าง device ชื่อว่า /dev/md0 ที่เป็น RAID1 mdadm --create --verbose /dev/md0 --level=1 --raid-devices=2 /dev/sdb /dev/sdc ตรวจสอบความถูกต้อง cat /proc/mdstat ถ้าเห็น md0: active raid1 แสดงว่า ok

การใช้งาน RAID การ format RAID ก็เหมือนกับการ format harddisk ปกติ mkfs.ext3 /dev/md0 ทำให้ระบบรู้จัก raid ทุกครั้งที่ boot mdadm --detail --scan --verbose > /etc/mdadm.conf จากนั้นก็นำไป mount ใช้งานได้ตามปกติ ในการใช้งานจริงๆ เราอาจจะมี spare disk ไว้อีก 1 ตัว สามารถสร้าง โดยใช้คำสั่งเดิม แต่เพิ่ม spare-devices เข้าไป mdadm --create --verbose /dev/md0 --level=1 --raid-devices=2 /dev/sdb /dev/sdc --spare-devices=1 /dev/sdd

กรณีที่ harddisk ที่ทำ RAID มีปัญหา ในกรณีที่ harddisk ใน RAID มีปัญหาจะมี การแก้ไข 3 ขั้นตอน (สมมุติ /dev/sdc มีปัญหา) บอก RAID ว่า harddisk ตัวนี้ fail mdadm --manage /dev/md0 --fail /dev/sdc Remove harddisk ที่มีปัญหาออกจาก RAID mdadm --manage /dev/md0 --remove /dev/sdc จากนั้น reboot เครื่อง (ใน console : พิมพ์ shutdown –h now) ถอด harddisk เก่า แล้วใส่ harddisk เข้าไป เพิ่ม harddisk ใหม่เข้าไปใน RAID mdadm --manage /dev/md0 --add /dev/sdc