โปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ กองทัพเรือ (ระยะที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานพยาบาลปฐมภูมิ) วันที่ 7 - 9 สิงหาคม 2562
ตุลาคม 2562
ระบบสมาชิก ผู้ใช้งานหนึ่งคนต่อเครื่องเท่านั้น ระบบจะไม่อนุญาตให้ใช้งานรหัสผู้ใช้คนเดียวกันหลาย ๆ เครื่อง อายุ 1 ปี ทุก ๆ รหัสสมาชิกผู้ใช้งานโปรแกรมจะมีวันหมดอายุภายใน 1 ปี งบประมาณ หรือภายใน 30 ก.ย. ของทุกปี แต่งตั้งผู้ดูแลระบบประจำหน่วย รหัสผู้ใช้งานจะมีการกำหนดสิทธิการใช้งานโปรแกรมในแต่ละส่วน โดยผู้ดูแลระบบที่ได้รับอนุญาตจะมีสิทธิการดำเนินการสูงสุด
ห้องเวชระเบียน รายการที่รอดำเนินการ สามารถดับเบิ้ลคลิกเพื่อทำรายการต่อไปได้ ที่อยู่ที่ติดต่อได้ หมายถึง ที่อยู่ปัจจุบันที่ติดต่อได้ ซึ่งในการปรับปรุงโปรแกรมครั้งต่อไปจะอนุญาตให้ผู้ใช้งานกรอกรายละเอียดที่อยู่ด้วยตนเองได้ โดยไม่บังคับให้ใช้ระบบค้นหาที่กำหนดไว้ ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน อนุญาตให้สามารถบันทึกที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน และควรจะอ่านที่อยู่ตามทะเบียนบ้านจากบัตรประชาชนได้ เพิ่มที่อยู่ของญาติ เพิ่มระบบบันทึกที่อยู่ของญาติ/ผู้นำส่ง ปรับปรุงระบบบัตรทอง พร. ปรับปรุงระบบอ่านเลขบัตรทอง พร.
ห้องเวชระเบียน การแสดงผลข้อมูล ประกอบไปด้วย NMD HN, OPD NO, ชื่อ-สกุล, คลินิกการรักษา, สิทธิการรักษา เป็นต้น รหัสผู้ป่วยนอก แนะนำให้เป็นไปตามมาตรฐานเวชระเบียนคือ ลำดับ/ปี ระบบอัตโนมัติบัตรประชาชน เลือกประเภทบัตรประชาชนแล้ว ควรจะพิมพ์เลขบัตรต่อได้โดยทันที ไม่ต้องใช้เมาส์ในการคลิกเลือกอีก อาชีพผู้รับบริการ แนะนำให้มีระบบค้นหาเพื่อความสะดวก ตรวจสอบสิทธิการรักษา ควรอ่านบัตรประชาชนผู้มารับบริการได้ด้วย
ห้องเวชระเบียน : ลงทะเบียนมารับบริการ ลบ Visit อนุญาตให้ลบลงทะเบียนมารับบริการได้ หากสถานะข้อมูลเหล่านั้นยังไม่ถูกส่งข้อมูล ซึ่งถ้าหากข้อมูลส่งมายัง พร. แล้วการลบจะต้องดำเนินการโดยผู้ดูแลระบบ ย้อนหลังไม่เกิน 15 วัน อนุญาตให้ลงทะเบียนย้อนหลังได้ไม่เกิน 15 วัน หากมีเหตุที่ทำให้ไม่สามารถลงทะเบียนได้ภายใน 15 วัน จะต้องแจ้งผู้ดูแลระบบ
ห้องเวชระเบียน : ลงทะเบียนมารับบริการ ลงทะเบียนซ้ำในแต่ละวัน อนุญาตให้ลงทะเบียนซ้ำในแต่ละวันได้ โดยให้มีความแตกต่างกันของข้อมูล ดังนี้ ระยะเวลาแต่ละ Visit ควรมีระยะเวลาที่ห่างกัน ตั้งแต่ 1 - 3 ชม. คลินิกหลักที่รับบริการไม่ควรเป็นคลินิกเดียวกัน ไม่ควรมีการลงทะเบียนมารับบริการ มากกว่า 2 ครั้งในแต่ละวัน * ระบบจะต้องมีการแจ้งเตือนเมื่อการลงทะเบียนไม่อยู่ในเงื่อนไข *
ห้องตรวจโรค คำว่า “วินิจฉัยโรคหลัก วินิจฉัยโรคอื่น ๆ” จะมีการเปลี่ยนแปลงคำให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล วินิจฉัยโรคหลัก ที่อยู่เป็นโรคที่ต้องติดตามเฝ้าระวังการระบาดของโรคจะต้องมีการแจ้งเตือนให้บันทึก “รายงานโรค 506 (รง.506)” ระบบติดตามสถานะผู้รับบริการ ติดตามสถานะผู้มารับบริการได้ว่า ปัจจุบันอยู่ในขั้นตอนการดำเนินการได้ (ห้องตรวจใด) วินิจฉัยโรคหลัก จะบันทึกเฉพาะคลินิกที่มารับบริการหลัก ยังไม่มีการเพิ่มการบันทึกหลายคลินิก (ในเวอร์ชั่นปัจจุบัน ซึ่งจะเพิ่มในระยะที่ 3)
ห้องตรวจโรค สาเหตุภายนอก/วินิจฉัย S,T จะแยกหน้าต่างเป็นส่วนอีกหนึ่งส่วน และจะมีระบบอัตโนมัติบังคับให้กรอกสาเหตุภายนอก เพิ่มขนาดตัวอักษร ข้อเสนอแนะให้เพิ่มขนาดตัวอักษรในบางตำแหน่ง ซึ่งจะมีการปรับปรุงให้เกิดความเหมาะสมต่อไป รหัสหัตถการและวินิจฉัยโรค ข้อเสนอแนะควรจะมีระบบแนะนำช่วยเหลือ เมื่อมีการวินิจฉัยโรคที่จำเป็นต้องมีรหัสหัตถการ รหัสหัตถการและราคา จะมีการปรับปรุงรหัสหัตถการและกำหนดราคาหัตถการจากระบบให้โดยอัตโนมัติ
ห้องตรวจโรค รหัสหัตถการควรเป็นรหัสจากกรมบัญชีกลาง ระบบจะสามารถค้นหาด้วยรหัสกรมบัญชีกลางได้ หัตถการค้นหาด้วยชื่อ ระบบค้นหาหัตถการควรจะค้นหาด้วยชื่อที่เข้าใจได้ ตัดรายการหัตถการ ให้แสดงผลรายการหัตถการเฉพาะที่ใช้จริง ๆ ในหน่วยปฐมภูมิเท่านั้น วินิจฉัยโรค สามารถค้นหาด้วยชื่อที่กำหนดเองได้ เช่น URI, fever
จ่ายยาและเวชภัณฑ์ ระบบค้นหายา ควรจะแสดงสัญลักษณ์ของยาตามหน่วยนับ เช่น TAB และยาฉีดแสดงผลเป็นสีแดงตามมาตรฐาน สามารถค้นหาด้วยชื่อย่อ/ชื่อที่กำหนดเองได้ เช่น cpm, ยาอม สามารถตั้งค่ากลุ่มยาที่ต้องการได้ เช่น URI แสดงผลยอดเงินที่เบิกได้/เบิกไม่ได้ กำลังประสานกำลัง กสพ.พร. ในการปรับปรุงระบบยาและคลังยา
พยาธิ/เอ๊กซเรย์ ระบบเลือกเป็นกลุ่มพยาธิ ให้สามารถเลือกเป็นรายการแต่ละรายการได้ ก่อนที่จะบรรจุเข้าในรายการ ชื่อพยาธิ ในการตรวจเช่น CBC, Urine ควรจะมีการแสดงผลแต่กลุ่มด้วย การแสดงผลตรวจพยาธิ แสดงผลกรณีผิดปกติเป็นสีแดง และมีสัญลักษณ์ในการกำหนดว่าผลสูงหรือต่ำกว่าค่าปกติ เช่น H, L การแสดงผลเอ๊กซเรย์ สิ่งใดที่สามารถระบุตรวจเป็นข้างได้ เช่น ขาซ้าย ขาขวา ควรจะมีการแสดงผลให้เลือกได้ แสดงผลยอดเงินที่เบิกได้/เบิกไม่ได้
ตรวจสุขภาพ อยู่ในขั้นตอนการพัฒนาระบบงาน...
ระบบผู้ป่วยใน อยู่ในขั้นตอนการพัฒนาระบบงาน... อัตราครองเตียง รายชื่อ/จำนวนผู้ป่วย
สถิติและข้อมูล สถิติผู้มารับบริการตามแบบฟอร์ม F01 – 04 สถิติผู้มารับบริการ 20 อันดับโรค (ผู้ป่วยนอก-ใน) สถิติผู้มารับบริการแยกตามคลินิกที่รับบริการ (จำนวน/ชั้นยศ) สถิติผู้มารับบริการในเวลาราชการและนอกเวลา (จำนวน) สถิติการใช้ยาและเวชภัณฑ์ (จำนวน) สถิติผู้มารับบริการแยกตามโรค (จำนวน)
สถิติและข้อมูล แบบรายงานโรคระบาด (รง.506) (* ขอแบบฟอร์ม) (J00 J026 J069 R509) สถิติ ILI 5 อันดับโรค (* รอข้อมูล) ค้นหาด้วย “รหัสวินิจฉัยโรค” จะได้จำนวนผู้รับบริการ (* รอความต้องการ) ค้นหาแฟ้มเวชระเบียนตามระยะเวลาที่กำหนด ค้นหาแฟ้มเวชระเบียนที่มีค่าใช้จ่ายสูง 20 อันดับแรก สถิติรายงานตามแบบฟอร์ม นค. 1 สถิติค่าใช้จ่าย (* รอปรึกษา) รายงานประจำวัน วินิจฉัยโรค สถานะจำหน่าย 10 อันดับโรค (* จำนวน) (* รอข้อมูล)
ระบบพิมพ์เอกสาร ปกเวชระเบียนผู้ป่วย บัตรเล็กประจำตัวผู้ป่วย ใบสั่งยา พิมพ์สติ๊กเกอร์ยา (หากสามารถจัดทำสติ๊กเกอร์ยาได้ทันกำหนด)
ธันวาคม 2562
ห้องเวชระเบียน แพ้ยา/โรคประจำตัว ควรจะสามารถเพิ่มข้อมูลการเป็นรายการแต่ละรายการได้ เพิ่มซักประวัติผู้มารับบริการ แพ้อาหาร/สูบบุหรี่ ฯลฯ สถานะข้อมูลไม่เบิก เพิ่มวิธีการจัดเก็บข้อมูลการลงทะเบียนให้เปลี่ยนแปลงเป็นสถานะไม่ส่งเบิก สปสช. เพื่อจัดเก็บข้อมูลเป็นเพียงสถิติ
การส่งต่อรักษา อยู่ในขั้นตอนการพัฒนาระบบงาน... สถิติผู้มารับบริการที่ส่งต่อ
การติดตามการรักษา/นัด อยู่ในขั้นตอนการพัฒนาระบบงาน...
โอกาสพัฒนาในระยะต่อไป
จ่ายยาและเวชภัณฑ์ ยาที่แพ้ ควรจะแสดงหน้าต่างป้องกันไม่ให้สามาถกรอกยาที่แพ้
เอ๊กซเรย์ เพิ่มระบบบันทึกผล ข้อเสนอแนะสามารถบันทึกผลการตรวจเอ๊กซเรย์ได้
การส่งเสริมป้องกันโรค อยู่ในขั้นตอนการพัฒนาระบบ... ศึกษาในการส่งออกข้อมูล 43 แฟ้ม 50 แฟ้ม
ระบบพิมพ์เอกสาร ใบบันทึกการตรวจรักษา บันทึกแพทย์ (ผู้ป่วยใน)