“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
เป้าหมาย ร้อยละ 98 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเฉพาะ ข้อที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
บทที่ 1 ภาพรวมของการสอบบัญชี
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
ความปลอดภัยอาหาร Food Safety
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี 1. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจการแบ่งประเภท และการระบุโทษของการ กระทำความผิดแต่ละประเภท 2.
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
สหกรณ์ ปี 2560 สหกรณ์ 4,629 สหกรณ์ (65%) ต้อง  สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีส่วนร่วม ในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์  สหกรณ์มีเสถียรภาพทางการเงินในระดับ มั่นคงมาตรฐานขึ้นไป.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
ความสำคัญและบทบาทหน้าที่ของสารวัตรเกษตรอาสา โดย กรมวิชาการเกษตร
โดยอาจารย์ฐิติพร วัฒนชัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พงษ์เดช วานิชกิตติกูล
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การบริหารงานคลังสาธารณะ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ประกันภัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
อำนาจอธิปไตย 1.
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
อำนาจ การปกครอง และการระงับข้อพิพาท
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายสำหรับการท่องเที่ยวและการโรงแรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
บทที่ 7 นิติบุคคล (Juristic Persons)
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ” สารี อ๋องสมหวัง มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

Up date องค์การอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค กลไกผู้บริโภคในรัฐธรรมนูญ

มาตรา 57 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540 สิทธิของบุคคลซึ่งเป็นผู้บริโภคย่อมได้รับการคุ้มครอง ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ กฎหมายตามวรรคหนึ่งบัญญัติให้มีองค์การอิสระซึ่งประกอบด้วยตัวแทนผู้บริโภคในการให้ความเห็นในการตรากฎหมาย กฎ และข้อบังคับ และให้ความเห็นในการกำหนดมาตรการต่าง ๆ เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค

รัฐธรรมนูญ ปี 2550 มาตรา 61 สิทธิของบุคคลซึ่งเป็นผู้บริโภคย่อมได้รับความคุ้มครองในการได้รับข้อมูลที่เป็นความจริง และมีสิทธิร้องเรียนเพื่อให้ได้รับการแก้ไขเยียวยาความเสียหาย รวมทั้งมีสิทธิรวมตัวกันเพื่อพิทักษ์สิทธิของผู้บริโภค ให้มีองค์การเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระจากหน่วยงานของรัฐ ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนผู้บริโภค ทำหน้าที่ให้ความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของหน่วยงานของรัฐในการตราและการบังคับใช้กฎหมายและกฎ และให้ความเห็นในการกำหนดมาตรการต่าง ๆ เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค รวมทั้งตรวจสอบและรายงานการกระทำหรือละเลยการกระทำอันเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค ทั้งนี้ ให้รัฐสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการขององค์การอิสระดังกล่าวด้วย

ร่าง รัฐธรรมนูญปี 2558 ฉบับดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ มาตรา 60 สิทธิของบุคคล ซึ่งเป็นผู้บริโภค ย่อมได้รับการคุ้มครอง ให้มีองค์การเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ ซึ่งประกอบด้วย ตัวแทนผู้บริโภค ทำหน้าที่ให้ความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของหน่วยงานของรัฐในการตราและการบังคับใช้กฎหมายและกฎ และให้ความเห็นในการกำหนดมาตรการต่างๆ เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค รวมทั้งตรวจสอบและรายงานการกระทำหรือละเลยการกระทำอันเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค และเสนอทางแก้ไขเยียวยาความเสียหายที่ผู้บริโภคได้รับ สนับสนุนและส่งเสริมผู้บริโภคมีความรู้ และทักษะที่จำเป็นด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ตลอดจนดำเนินคดีที่เป็นประโยชน์สาธารณะเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ

ร่าง รัฐธรรมนูญปี 2558 ฉบับนายมีชัย ฤชุพันธุ์ มาตรา 57 รัฐต้องจัดให้มีมาตรการหรือกลไกในการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค และส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้บริโภครวมกลุ่มกันเพื่อปกป้องสิทธิของตน

ร่าง รัฐธรรมนูญปี 2558 ฉบับนายมีชัย ฤชุพันธุ์

เหตุผลที่ต้องมีองค์การอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค สังคมไทยต้องการตัวแทนผู้บริโภคในการร่วมกำหนดกติกา และมาตรการเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคกับหน่วยงานรัฐ ร่างพระราชบัญญัติองค์การอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคฉบับนี้ มีเป้าหมายในการให้องค์การอิสระเป็นตัวแทนที่เป็นทางการ ในการรักษาผลประโยชน์ของผู้บริโภค ไม่แตกต่างจากภาคธุรกิจที่มีคณะกรรมการร่วมภาคเอกชน ๓ สถาบัน (กกร.) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หอการค้าไทย สมาคมธนาคารไทย สมาคมธุรกิจทั้งหลายที่เป็นกลุ่มผลประโยชน์ของภาคธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ทั้งๆ ที่ประเทศไทยมีหน่วยงานสนับสนุนด้านเศรษฐกิจอีกจำนวนมาก เช่น คณะกรรมการร่วมภาครัฐบาลและเอกชน (กรอ.) กระทรวงพาณิชย์ กรมส่งเสริมการส่งออก สำนักงานส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่มี ๔๔ กลุ่มอุตสาหกรรม สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย หอการค้าไทย ที่มีสาขาทุกจังหวัด สมาคมธนาคารไทย เป็นต้น ซึ่งองค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ เหล่านี้ จะช่วยภาคธุรกิจต่อรองประโยชน์กับรัฐได้ตลอดเวลา แต่ในฝั่งของผู้บริโภคยังไม่มีตัวแทนในการทำหน้าที่ดังกล่าว ดังนั้น เพื่อให้เกิดสมดุลในการส่งเสริมภาคธุรกิจ ผลประโยชน์ของรัฐและการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค จึงจำเป็นที่จะต้องมีการตั้งองค์การอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค

เหตุผลที่ต้องมีองค์การอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค สนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งให้ผู้บริโภคในการมีข้อมูล ความรู้ ความเท่าทัน สามารถต่อรองเมื่อเกิดปัญหาขึ้นกับตนเอง เพื่อสนับสนุนหน่วยงานรัฐในการคุ้มครองผู้บริโภคให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ถึงแม้ประเทศไทยจะมีสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กรมการค้าภายใน และหน่วยงานอื่นๆ แต่ด้วยข้อจำกัดของหน่วยงานรัฐในการทำงานกับกลุ่มผู้ด้อยโอกาส หรือต้องดำรงความเป็นกลางระหว่างผู้บริโภคและภาคเอกชน ทำให้การคุ้มครองผู้บริโภคในประเทศอ่อนแอเมื่อเปรียบเทียบกับศักยภาพของภาคธุรกิจ และในการจะก้าวข้ามประเทศกำลังพัฒนาเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ซึ่งย่อมต้องการการแข่งขันของภาคธุรกิจ โดยการแข่งขันจะเกิดขึ้นได้ต้องมีกลไกผู้บริโภคในการเพิ่มอำนาจต่อรองให้ได้รับการคุ้มครองที่มากขึ้น เพื่อสะท้อนประสิทธิภาพของภาคธุรกิจและสภาพการแข่งขันในด้านนั้น ๆ ดังนั้น การมีกลไกองค์การอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคจึงมีความสำคัญเพื่อให้ผู้บริโภค มีข้อมูล มีความรู้ เท่าทัน และสามารถต่อรองในการคุ้มครองตนเองได้มากขึ้น 

เหตุผลที่ต้องมีองค์การอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค สนับสนุนหน่วยงานรัฐในการบังคับใช้กฎหมาย เพิ่มโอกาสให้ผู้บริโภคเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ในหลายครั้ง ปัญหาผู้บริโภค ทำให้ผู้บริโภคเป็นจำนวนมากได้รับความเสียหาย แต่เนื่องจากความเสียหายที่เกิดกับผู้บริโภครายบุคคลอาจเป็นความเสียหายที่ตีค่าเป็นตัวเงินเพียงจำนวนเล็กน้อย ทำให้ผู้บริโภคในแต่ละรายที่ได้รับความเสียหายไม่ประสงค์จะดำเนินการด้านคดี แต่ความเสียหายเมื่อตีค่าความเสียหายโดยรวมย่อมเกิดความเสียหายเป็นจำนวนมาก ซึ่งในปัจจุบันมีกฎหมายให้สามารถฟ้องคดีแบบกลุ่มได้ การให้องค์การนี้มีบทบาทในการฟ้องคดีแทนผู้บริโภคเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือบทบาทในการดำเนินคดีแบบกลุ่ม จึงเป็นสิ่งที่องค์กรผู้บริโภคในระดับประเทศต้องมีบทบาทในการฟ้องคดีเพื่อประโยชน์สาธารณะ