การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
การดำเนินงานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และ คอมพิวเตอร์ ปีงบประมาณ 2551 กองบำรุงพันธุ์สัตว์
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ

การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
16. การเขียนงานวิจัยแบบง่าย ๆ
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
Key Performance Indicators (KPI)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
PATIENT IDENTIFICATION
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ผลของการจัดท่าคลอดแบบ semi-squatting
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
การแจ้งขออายัดสลากเพื่อประวิงการจ่ายเงินรางวัล
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
นวัตกรรมทางการพยาบาล “FIFO cautery box”
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4

หลักการและเหตุผล จากการเก็บรวบรวมข้อมูลการติดเชื้อแผลผ่าตัด (SSI ) ผู้ป่วยตึกพิเศษร่มเย็น 4 ปี พ.ศ.2550 – 2552 พบอัตราการติดเชื้อแผลสะอาดเป็น 0.69,0.58 และ 0.49 ตามลำดับ ตึกพิเศษร่มเย็น 4 ได้เก็บรวบรวม Case มาทบทวนร่วมกันแต่ก็ยังไม่ทราบสาเหตุที่ทำให้เกิดการติดเชื้อที่ชัดเจน พบว่ามีปัจจัยส่งเสริมที่ทำให้เกิดการติดเชื้อคือ ปัจจัยทางด้านผู้ป่วยและทางด้านบุคลากรซึ่งมีรูปแบบการทำแผลและการเตรียมอุปกรณ์ในการทำแผลที่แตกต่างกัน ทางหอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4 จึงได้พัฒนารูปแบบในการทำแผลผู้ป่วยในห้องพิเศษขึ้นเพื่อลดอัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัด และเพื่อให้บุคลากรมีแนวปฏิบัติในการทำแผลที่เป็นรูปแบบเดียวกัน

วัตถุประสงค์ อัตราติดเชื้อที่แผลผ่าตัด ( SSI ) น้อยกว่า 3 : 1000 วันนอน บุคลากรมีแนวปฏิบัติในการทำแผล / การเตรียมอุปกรณ์ในการทำแผลที่เป็นรูปแบบเดียวกัน

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ: ผู้ป่วย  แผลผ่าตัดไม่ติดเชื้อ บุคลากร  มีรูปแบบในการทำแผลที่ สะดวกรวดเร็วและเหมาะสม รูปแบบการศึกษา  เชิงทดลองและพรรณนา สถานที่  ตึกพิเศษร่มเย็น 4

กลุ่มตัวอย่าง ผู้ป่วย หญิงไทยอายุไม่เกิน 60 ปี ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดที่ตึกพิเศษร่มเย็น 4 ประเภทแผลเป็น Clean Wound เริ่มเก็บข้อมูลตั้งแต่ มิถุนายน – กรกฎาคม 2553 จำนวน 10 ราย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู้ป่วย โทรเยี่ยมอาการผู้ป่วยและซักถาม ลักษณะแผลผ่าตัดหลังผ่าตัด ครบ 1 เดือน เจ้าหน้าที่  แบบสำรวจความพึงพอใจของ เจ้าหน้าที่โดยใช้แบบสอบถามที่1.1

วิธีการเก็บข้อมูล 1. ประชุมพร้อมแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทุกคนรับทราบเกี่ยวกับการทำวิจัย 2. ร่วมกันกำหนดรูปแบบการจัด Set สำหรับไปทำแผลผู้ป่วยแต่ละห้องดังนี้ 2.1 ผู้ทำแผลเตรียม Set ทำแผลโดยเติมก๊อสและสำลีให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละ Case และติดสติกเกอร์แต่ละห้องไว้ 1 Set ต่อ 1 ห้อง 2.2 นำ Set ทำแผลและอุปกรณ์ทำแผลทั้งหมดใส่ในรถ Treatment โดยนำถังทำแผลไปด้วย ดังรูป 2.2

2.3 ทำแผลผู้ป่วยแต่ละห้องจากแผล Clean Wound ถึง Dirty Wound โดยยึดหลัก Aseptic Technique ดังรูป 2.3 2.4 หลังทำแผลเสร็จแล้วห่อ Setให้มิดชิดนำไปเก็บในถังทำแผลหน้าห้องผู้ป่วยดังรูป 2.4

2.5 ล้างมือให้สะอาดโดยใช้ Alcohol Hand Rub และไปทำแผลห้องต่อไป 3. โทรเยี่ยมอาการลักษณะของแผลผ่าตัดหลังผ่าตัด แล้ว 1 เดือนว่ามีอาการติดเชื้อหรือไม่ 4. สำรวจความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่โดยใช้แบบสอบถามที่ 1.1 5. บันทึกข้อมูล

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ป่วยหลังผ่าตัด - จำนวน 10 คน เจ้าหน้าที่ - คะแนนความพึงพอใจร้อยละ 80

ผลการศึกษา จากการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำแผลและการเตรียมอุปกรณ์สำหรับทำแผลผู้ป่วยหลังผ่าตัดพบว่าบุคลากรซึ่งเป็นพยาบาลวิชาชีพจำนวน 8 ราย พึงพอใจในการปรับเปลี่ยนการทำแผลในรูปแบบใหม่ คิดเป็นร้อยละ 100 ในด้านการติดตามเยี่ยมผู้ป่วยหลังผ่าตัดจำนวน 10 ราย ไม่พบแผลผ่าตัดติดเชื้อคิดเป็นร้อยละ 100