การขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนนโยบาย และการดำเนินงานแบบบูรณาการ ของกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559 โดย : นายแพทย์โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
แนวทางการตรวจราชการคุณภาพ เขตสุขภาพที่1
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
รองผู้อำนวยการสำนักบริหารการสาธารณสุข
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และคำรบรองการปฏิฟ้ติราชการ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การจัดทำแผนเงินบำรุง
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
แผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ ) ***นพ.เสรี หงษ์หยก รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของผู้ว่าราชการจังหวัดและ
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
นโยบายที่สำคัญ ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับกลุ่มบริการ (คพสก.)
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
นโยบายขับเคลื่อนงานวิจัย และจริยธรรมการวิจัย กรมอนามัย
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
การจัดการความรู้ Knowledge Management
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กรอบการจัดทำแผนปีงบประมาณ 2561
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 นายแพทย์วิศิษฎ์ ตั้งนภากร อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ วันที่ 6 ธันวาคม 2559

Value based Health Care “An assessment of the benefit of an intervention relative to the expenditure” American College of Physicians (ACP) Clinical Guidelines Committee เป็นเอกสารที่ท่าน รมว. ได้นำเสนอต่อผู้บริหารในหลายเวที จากภาพจะเห็นว่า สัญลักษณ์ทางสุขภาพ เงาที่ตกทอดไปเป็นมูลค่าของเงิน การมีสุขภาพดีย้อมตามมาด้วยค่าใช้จ่าย ทำอย่างไร จึงจะไม่เพิ่มภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ และมีสุขภาพที่ดี

ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์รัฐบาล กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ รัฐบาล กระทรวงสาธารณสุข 1. วิสัยทัศน์ : เป็นองค์กรหลักคุ้มครองผู้บริโภคและส่งเสริมผู้ประกอบการด้านบริการสุขภาพ เพื่อประชาชนมีสุขภาพดี ชุมชนมีศักยภาพในการพึ่งพาตนเอง 2. ยุทธศาสตร์ : 1) ส่งเสริมพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สถานพยาบาล และสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ 2) ส่งเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการมีส่วนร่วมของ ประชาชนและภาคีเครือข่ายในการจัดการสุขภาพ 3) ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการบริการสุขภาพสู่มาตรฐานสากล 4) พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ 1. วิสัยทัศน์ : มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน 2. ยุทธศาสตร์ชาติ : 1) ด้านความมั่นคง 2) ด้านเศรษฐกิจ 3) ด้านสังคม 4) ด้านการต่างประเทศ 5) ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม 1. วิสัยทัศน์ : เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อ ประชาชนสุขภาพดี 2. ยุทธศาสตร์ : 1) ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ 2) บริการเป็นเลิศ 3) บุคลากรเป็นเลิศ 4) บริหารจัดการเป็นเลิศ

เป็นองค์กรหลักคุ้มครองผู้บริโภค VISION MISSION เป็นองค์กรหลักคุ้มครองผู้บริโภค และส่งเสริมผู้ประกอบการด้านบริการสุขภาพ เพื่อประชาชนมีสุขภาพดี ชุมชนมีศักยภาพในการพึ่งพาตนเอง มุ่งมั่นส่งเสริม พัฒนา และ อภิบาล ระบบบริการสุขภาพให้ได้ มาตรฐานสากล โดยการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง

ส. สมรรถนะเป็นฐาน บ. บริการด้วยใจ ส. ใฝ่สามัคคี

และชุมชนจัดการสุขภาพตนเอง ประชาชน ดูแลสุขภาพตนเอง และชุมชนจัดการสุขภาพตนเอง อย่างยั่งยืน ระบบบริหารจัดการ ที่มีประสิทธิภาพ ประชาชนได้รับ บริการสุขภาพ ที่มีมาตรฐาน ปลอดภัย และสมประโยชน์ ผู้ประกอบการ ธุรกิจบริการสุขภาพ สามารถแข่งขันทั้ง ในและนอกประเทศ

ประชาชน/ชุมชนพึ่งตนเองด้านสุขภาพ (ลดรายจ่าย) เป้าหมายระยะ 20 ปี อภิบาลระบบ สู่ความยั่งยืน เป็นศูนย์กลางสุขภาพ 1 ใน 3 ของเอเชีย (เพิ่มรายได้) ประชาชน/ชุมชนพึ่งตนเองด้านสุขภาพ (ลดรายจ่าย)

Governa nce Excellen ce เป้าหมายระยะ 5 ปี 1. โครงการพระราชดำริฯ 2. รพ. ผ่านมาตรฐานระบบบริการ สุขภาพ(Green & Clean Hospital) 3. สถานประกอบการเพื่อ สุขภาพยกระดับสู่สากล 4. ประทศไทยเป็น ศูนย์กลางสุขภาพ นานาชาติ Service Excellen ce People Excellen ce P&P Excellen ce 1. ประชาชนดูแลสุขภาพ ตนเองได้ 2. ชุมชนจัดการสุขภาพ ตนเองอย่างยั่งยืน Governa nce Excellen ce 1. องค์กร ผ่านเกณฑ์ PMQA 2. องค์กรมีระบบคุณธรรมและความ โปร่งใส 3. วิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ เพิ่มขึ้น 4. กฎหมายเพื่อส่งเสริมรายได้และ บริการประชาชน

ประชาชนดูแลสุขภาพตนเอง และชุมชนจัดการสุขภาพตนเองอย่างยั่งยืน 1. P&P 3. People Excellence ประชาชนดูแลสุขภาพตนเอง และชุมชนจัดการสุขภาพตนเองอย่างยั่งยืน เป้าหมาย มาตรการ ผลระยะ 1 ปี ผลระยะ 5 ปี 1. ประชาชนดูแลสุขภาพตนเอง 1. พัฒนาการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพที่ถูกต้องและมีความรอบรู้ระดับดี 2. พัฒนาครอบครัวให้มีศักยภาพดูแลตนเอง (อสค.) 1. ปชช. มีความรอบรู้ ระดับดี (10%) 2. อสค. 40,000 ครอบครัว 1. ปชช. มีความรอบ รู้ ระดับดี (20%) 2. อสค. 8 แสนครอบครัว 2. ชุมชนจัดการสุขภาพตนเองอย่างยั่งยืน 1. พัฒนา อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชน 2. พัฒนาตำบลจัดการสุขภาพบูรณาการ 5 กลุ่มวัย 1. อสม.นักจัดการสุขภาพฯ (ตำบลละ 10 คน) 2. ตำบลฯ ผ่านเกณฑ์ (70%) (ตำบลละ 30 คน) 2. ตำบลฯ ผ่านเกณฑ์ทุกตำบล

ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่มีมาตรฐานปลอดภัยและสมประโยชน์ 2. Service Excellence ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่มีมาตรฐานปลอดภัยและสมประโยชน์ ผู้ประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพสามารถแข่งขันทั้งในและนอกประเทศ เป้าหมาย มาตรการ ผลระยะ 1 ปี ผลระยะ 5 ปี 1. โครงการพระราชดำริฯ พัฒนามาตรฐานสุขศาลาพระราชทานใน โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน 17 แห่ง 19 แห่ง 2. รพ. ผ่านมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ (Green & Clean Hospital) 1. พัฒนาผังแม่บทอาคารสภาพแวดล้อม 2. พัฒนาปฏิบัติการสอบเทียบเครื่องมือ แพทย์ สู่ ISO 3. พัฒนา รพ.สู่เกณฑ์มาตรฐานระบบบริการ สุขภาพ 1. 51 รพ. 2. ผ่าน ISO 5 ด้าน 3. ร้อยละ 70 1. รพ.ทุกแห่ง 2. ผ่าน ISO ทุกแห่ง (ภูมิภาค) 3. รพ.ทุกแห่ง 3. สถานประกอบการเพื่อสุขภาพยกระดับสู่สากล 1. ยกระดับสถานประกอบการ สุขภาพสู่ Thai SPA Award 1. ร้อยละ 30 1. ร้อยละ 50 4. ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ 1. ส่งเสริม พัฒนาสถานบริการสุขภาพผ่านมาตรฐานสากล (HA JCI) 1. ร้อยละ 10

4.Governanc-Excellence มีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ เป้าหมาย มาตรการ ผลระยะ 1 ปี ผลระยะ 5 ปี องค์กรมีระบบบริหารจัดการตามเกณฑ์ (PMQA) 1. พัฒนาองค์กรสู่การรับรอง เกณฑ์บริหารจัดการภาครัฐ ผ่านการรับรองหมวด 3,6 ผ่านการรับรองทุกหมวด 2. องค์กรมีระบบคุณธรรมและความโปร่งใส 1.ส่งเสริมคุณธรรมและความ โปร่งใสขององค์กร (ITA) ร้อยละ 90 ร้อยละ 95 3. สัดส่วนวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์เพิ่มขึ้น ส่งเสริมวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ 3 เรื่อง 10 เรื่อง 4. กฎหมายที่ส่งเสริมการเพิ่มรายได้ทางสุขภาพและบริการประชาชน พัฒนาปรับปรุงกฎหมาย 13 ฉบับ -

4.0 มั่นคง ยั่งยืน มั่งคั่ง งบประมาณปี 2560 รากฐาน เป้าหมาย ส่วนกลาง 49% ภูมิภาค 51% (167 ล้าน) มั่งคั่ง รากฐาน เป้าหมาย ผลที่คาดจะได้รับ 1. สุขศาลาพระราชทานฯ 2. สถานบริการสุขภาพภาครัฐ 3. สถานพยาบาลภาคเอกชน 4. สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ บริการสุขภาพมีมาตรฐาน และมีศักยภาพในการแข่งขัน ในระดับสากล คุ้มครองผู้รับรับริการ และสร้างรายได้ ตำบลจัดการสุขภาพบูรณาการ 5 กลุ่มวัย ชุมชนจัดการสุขภาพตนเอง ลดรายจ่าย 1. อสค. 2. อสม.นักจัดการสุขภาพ 3.ความรอบรู้ด้านสุขภาพ ประชาชนดูแลสุขภาพตนเอง