ณ โรงแรมมารวย การ์เด้น กรุงเทพมหานคร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
การดำเนินงานเพื่อแก้ปัญหา และพัฒนางานสาธารณสุขชายแดน
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
1. 2 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ที่ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผนผล % หมายเหตุ 1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง.
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชาคมอาเซียน.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
นายแพทย์ศุภมิตร ชุณห์สุทธิวัฒน์ ที่ปรึกษากรมควบคุมโรค และ ที่ปรึกษาศูนย์ประสานงานเครือข่ายสุขภาพหนึ่งเดียว.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การสำรวจสถานบริการและพนักงานบริการ
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การดำเนินงานเพื่อแก้ปัญหา และพัฒนางานสาธารณสุขชายแดน
วิสัยทัศน์ “วิสัยทัศน์จังหวัดสระแก้วมีระบบสุขภาพที่ดีรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษ พื้นที่ชายแดน และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนภายในปี 2562”
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
สรุปผลการดำเนินงานตาม PA
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การจัดการความรู้ Knowledge Management
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ณ โรงแรมมารวย การ์เด้น กรุงเทพมหานคร ความเป็นมาของการประชุม การพัฒนาศักยภาพการจัดการด้านสุขภาพขั้นพื้นฐาน ในชายแดนประเทศเพื่อนบ้าน ........................................................... 25 มีนาคม 2558 ณ โรงแรมมารวย การ์เด้น กรุงเทพมหานคร นพ.สุริยะ วงศ์คงคาเทพ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

เนื้อหา ◊ สาระสำคัญของบันทึกข้อตกลง ◊ ความร่วมมือทวิภาคี ◊ สาระสำคัญของบันทึกข้อตกลง ◊ ความร่วมมือด้านสาธารณสุขไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ◊ ความร่วมมือด้านสาธารณสุขของจังหวัดชายแดนทั้งสองประเทศ ◊ บริบทพื้นที่ชายแดน ◊ การประชุม การพัฒนาศักยภาพการจัดการด้านสุขภาพขั้นพื้นฐานใน ประเทศเพื่อนบ้าน ◊ กรอบการดำเนินงานเพื่อพัฒนาศักยภาพการจัดการสุขภาพขั้นพื้นฐาน ในชายแดนประเทศเพื่อนบ้าน

บันทึกข้อตกลง/การเจรจา กระทรวงสาธารณสุขไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ความร่วมมือทวิภาคี บันทึกข้อตกลง/การเจรจา กระทรวงสาธารณสุขไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ไทย-พม่า (บันทึกข้อตกลง 20 ก.ย. 2556) ไทย-มาเลเซีย (ข้อตกลงร่วมกัน 28 ก.ย. 2550) ไทย-ลาว (บันทึกการเจรจา 9 พ.ย. 2544) ไทย-กัมพูชา (บันทึกข้อตกลง 4 เม.ย. 2544)

สาระสำคัญของบันทึกข้อตกลง ลำดับ สาระสำคัญ ลาว กัมพูชา มาเลเซีย เมียนมาร์ 1 การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร  2 การควบคุมและเฝ้าระวังโรคติดต่อบริเวณชายแดน และข้ามพรมแดน 3 การควบคุมการนำเข้า-ส่งออก อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 4 การพัฒนาสถานบริการสุขภาพ 5 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 6 การส่งเสรมสุขภาพ 7 ยาสมุนไพร

ความร่วมมือด้านสาธารณสุขไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน 1. ความร่วมมือด้านสาธารณสุขไทย-เมียนมาร์ ◊ การประชุมความร่วมมือด้านสาธารณสุขไทย-พม่า ระหว่างวันที่ 29-30 เมษายน 2555 ณ กรุงย่างกุ้ง สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า สาระสำคัญ - ธำรงไว้ซึ่งการจัดประชุมความร่วมมือด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ ไทย และประเทศพม่า ซึ่งกำหนดจัดเป็นเป็นประจำทุกปี โดยผลัดกันเป็นเจ้าภาพ - ให้มีการประชุมร่วมกันในระดับพื้นที่ (Local Joint Coordination Meeting) ระหว่างจังหวัด เชียงรายกับท่าขี้เหล็ก จังหวัดตากกับเมียวดี และจังหวัดระนองกับเกาะสอง ปีละ 2 ครั้ง โดยผลัด เปลี่ยนกันเป็นเจ้าภาพ - ให้มีการจัดอบรมทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (Joint SRRT/RRT) สำหรับจังหวัดชายแดนของทั้งสองประเทศ เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมงานฯ ของทั้งสองฝ่าย ในการเฝ้าระวัง สอบสวน และควบคุมโรคในพื้นที่ชายแดนร่วมกัน

ความร่วมมือด้านสาธารณสุขไทย-เมียนมาร์ (ต่อ) ◊ การประชุมความร่วมมือระหว่างประเทศไทยและเมียนมาร์ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ชายแดน เมื่อวันที่ 14 – 16 สิงหาคม 2556 กรุงเทพมหานคร - ได้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลสถานการณ์โรค และความก้าวหน้าในการ ดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่ชายแดน ซึ่งมีหัวข้อดังต่อไปนี้ - มีการทบทวนความก้าวหน้าของการดำเนินงานในประเด็น (1) Disease surveillance and outbreak response, (2) HIV/AIDS, (3) TB และ (4) Malaria รวมทั้งระบุส่วนขาด สิ่งที่ท้าท้าย และเสนอกิจกรรมความร่วมมือเพื่อเติมเต็มส่วนที่ขาด - การประชุมกลุ่มเพื่อพิจารณาประเด็นในการป้องกันควบคุมโรคในลักษณะผสมผสานโดยแบ่งตามพื้นที่ ได้แก่ จังหวัดเชียงรายกับท่าขี้เหล็ก/ จังหวัดตากกับเมียวดี/ จังหวัดระนองกับเกาะสอง และจังหวัดกาญจนบุรีกับทวาย

ความร่วมมือด้านสาธารณสุขไทย-เมียนมาร์ (ต่อ) ◊ การลงนามบันทึกความเข้าใจระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวง สาธารณสุขไทยและกระทรวงสาธารณสุขเมียนมาร์ เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2556 ณ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ สาระสำคัญ - การสนับสนุนความร่วมมือด้านสาธารณสุขในพื้นที่จังหวัดชายแดนของทั้งสองประเทศ อาทิ การส่งเสริมสุขภาพและการพัฒนาระบบการบริการสุขภาพสำหรับแรงงานต่างด้าวและประชากรข้ามพรมแดน การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อและโรคอุบัติใหม่ การป้องกันและควบคุมอาหารที่ต่ำกว่ามาตรฐาน ยา ยาแผนโบราณ ผลิตภัณฑ์ยาและเครื่องสำอาง เป็นต้น

ความร่วมมือด้านสาธารณสุขไทย-กัมพูชา ◊ การประชุมความร่วมมือด้านสาธารณสุขระหว่างกระทรวง สาธารณสุขไทยกับกระทรวงสาธารณสุขกัมพูชา เมื่อวันที่ 24-28 กันยายน 2556 โดยมีสรุปผลการประชุมสาระสำคัญ ในการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระบบบริการสาธารณสุขของทั้งสองประเทศ โดยเน้นให้เกิดความร่วมมือด้านสาธารณสุขชายแดนของทั้งสอง ประเทศ

ความร่วมมือด้านสาธารณสุขของจังหวัดชายแดนทั้งสองประเทศ ◊ การประชุมร่วมกันในระดับพื้นที่ (Local Joint Coordination Meeting) ◊ การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารเพื่อการเฝ้าระวังโรค ◊ การพัฒนาศักยภาพบุคลากร - การจัดอบรมทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (Joint SRRT/RRT) สำหรับจังหวัดชายแดนของทั้งสองประเทศ ดังนี้ ◊ ตาก-เมียวดี ◊ ระนอง-เกาะสอง ◊ เชียงราย – ท่าขี้เหล็ก - การอบรม Operation Theater - การอบรม ICU - การอบรม EMS

การพัฒนาศักยภาพสถานบริการสาธารณสุขชายแดนของประเทศเพื่อนบ้าน ชายแดนลาว ◊ การพัฒนาโรงพยาบาลแขวงบ่อแก้ว ◊ การพัฒนาโรงพยาบาลโพนโฮง ◊ การพัฒนาโรงพยาบาลปากซอ ชายแดนกัมพูชา ◊ การพัฒนาสถานีอนามัยอันดองตึ๊ก ชายแดนเมียนมาร์ ◊ การพัฒนาโรงพยาบาลท่าขี้เหล็ก งบประมาณ : กระทรวงการต่างประเทศ

บริบทพื้นที่ชายแดน ◊ พรมแดนติดต่อกับ 4 ประเทศเพื่อนบ้าน ◊ ความหลากหลายของประชากร ◊ ภาระของสถานบริการสาธารณสุข - การให้บริการประชากรที่ไม่มี หลักประกันสุขภาพ - การให้บริการสุขภาพประชากร จากประเทศเพื่อนบ้านที่มาใช้ บริการในประเทศไทย - ภาระงาน จนท.ไทยเพิ่มขึ้น - ภาระค่าใช้จ่ายในการให้บริการที่ เรียกเก็บเงินไม่ได้

การประชุม การพัฒนาศักยภาพการจัดการด้านสุขภาพ ขั้นพื้นฐานในประเทศเพื่อนบ้าน ◊ เพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหา ปัจจัยแห่งความสำเร็จของระบบสุขภาพ ชายแดน ◊ เพื่อพัฒนาระบบสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน (Primary Care) ในชายแดน ประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้ชายแดนฝั่งไทย ในถิ่นทุรกันดาร ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ระบบสาธารณสุขของประเทศเพื่อนบ้านเข้าไม่ถึง โดยประเทศไทยเป็นพี่เลี้ยงให้กับสถานบริการของประเทศเพื่อนบ้านได้ ◊ เพื่อลดภาระการเข้ามาใช้บริการสาธารณสุขของประเทศไทย จากประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณชายแดนประเทศเพื่อนบ้าน

พื้นที่นำร่อง ◊ จังหวัดเชียงราย ◊ จังหวัดแม่ฮ่องสอน ◊ จังหวัดตาก ◊ จังหวัดกาญจนบุรี ◊ จังหวัดสระแก้ว ◊ จังหวัดตราด ◊ จังหวัดอุบลราชธานี ◊ จังหวัดน่าน

กรอบการดำเนินงานเพื่อพัฒนาศักยภาพการจัดการสุขภาพขั้นพื้นฐาน ในชายแดนประเทศเพื่อนบ้าน ประชุมกลุ่มเป้าหมาย กรอบแนวคิดในการจัดการด้านสุขภาพขั้นพื้นฐานในชายแดนประเทศเพื่อนบ้าน (Concept Paper) พร้อมกำหนดพื้นที่เป้าหมายการดำเนินงาน จัดประชุม Senior Officer ระหว่างกระทรวงสาธารณสุขไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน หรือผลักดันในการประชุม JC เสนอ Concept Paper ต่อ กระทรวงการต่างประเทศ / องค์การระหว่าง ประเทศ จัดทำ (ร่าง) MOU เสนอเข้าคณะรัฐมนตรี สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ ลงนาม MOU ระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวง สาธารณสุขไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน

จบการนำเสนอ