ความคิดในเชิงกลยุทธ์ ( Strategic Thinking) โดย พญ. มนทิรา ทองสาริ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
การบริหารความคิด( Thinking Paradigm) 1.ความคิดเชิงบวก( Positive Thinking) 2.ความคิดเชิงสร้างสรรค์( Creative Thinking) 3. ความคิดเชิงกลยุทธ์ ( Strategic Thinking) 4. ความคิดเชิงจริยธรรม( Ethical Thinking)
Positive Thinking Creative Thinking Strategic Thinking ไม่เครียด ไม่มีอคติ ปลอดโปร่ง Positive Thinking Creative Thinking ริเริ่ม เห็นภาพกว้าง มีความคิดลุ่มลึก Strategic Thinking มีธรรมาภิบาล โปร่งใส Ethical Thinking
องค์ประกอบของความคิดเชิงกลยุทธ์ 1.Context Thinking กรอบความคิดตามบริบท/เนื้อหา การบริการต้องคำนึงถึงสภาพแวดล้อมของ ลูกค้า เงื่อนไขของเวลา สภาพแวดล้อมของคู่แข่ง 2.Forward Thinking คิดไปข้างหน้า โลกเปลี่ยนแปลงเร็ว คิดแค่ปัจจุบันไม่พอต้องหาข้อมูลการเปลี่ยนแปลงในอนาคต การมองอนาคตต้องมองให้ลึก หาทางออกให้ได้
องค์ประกอบของความคิดเชิงกลยุทธ์ 3. Visionary Thinking องค์ประกอบของ Visionary Thinking - มองภายนอก : OT ( โอกาส – อันตราย) - มองภายใน : SW ( จุดอ่อน – จุดแข็ง) 4. Matching Thinking สอดคล้องกับ Visionary Thinking ต้อง Match SWOT ให้ได้ จะไม่เลือกเส้นทางที่อันตราย ไม่ยึดติดกับเส้นทางที่เป็นโอกาส แต่ต้องเลือกทางเลือกที่เป็นโอกาสและเป็นจุดแข็งเพื่อไปให้รอด ถ้าเป็นโอกาสที่ไม้ใช่จุดแข็งอย่าเลือก Key Success Factors
องค์ประกอบของความคิดเชิงกลยุทธ์ 5. Holistic Thinking คิดแบบองค์รวม 6. System Thinking คิดอย่างเป็นระบบ ต้องเชื่อมโยงทั้งระบบ 7. Weighted Thinking ต้องให้น้ำหนักในประเด็นที่เป็นองค์ประกอบของความคิด 8. Customer Value Thinking ยึดค่านิยมของลูกค้า รู้ถึงความต้องการของลูกค้า ต้องทำตัวเองเป็นอนัตตา ยึดอัตตาลูกค้า ต้องคิดเป็นองค์รวม เชื่อมโยงเป็นระบบ ให้น้ำหนักในการคิด ตอบสนองต่อความต้องการที่สำคัญของลูกค้า
องค์ประกอบของความคิดเชิงกลยุทธ์ 9. Benchmarking Thinking ต้องมีตัววัดทั้งประสิทธิภาพ และประสิทธิภาพ ตัววัดที่ใช้ต้องมีการเปรียบเทียบกับหน่วยงานอื่น 10. Dynamic Thinking ความคิดเชิงพลวัตร ไม่หยุดนิ่ง คิดไม่รู้จักอิ่ม คิดแข่งกับคู่แข่ง ถ้าไม่มีคู่แข่งต้องแข่งกับตัวเอง
ของศูนย์บริการสาธารณสุข บริบทในการให้บริการ ของศูนย์บริการสาธารณสุข
ศูนย์บริการสาธารณสุข /หน่วยบริการของ สนอ. แนวทางในการให้บริการ - บริการภายในสถานที่ - บริการชุมชน / บริการเชิงรุก การกำหนดทิศทางในการให้บริการ - การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย : Priority Setting - ความครอบคลุม ในการให้บริการ ( Coverage ) : ความแตกต่างในกลวิธีในการให้บริการในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย - การเข้าถึงบริการของประชาชนทุกกลุ่มในพื้นที่ รับผิดชอบ
ระบบการให้บริการ - การบริการตามภารกิจ - การบริการตามภารกิจ : ระบบบริการปฐมภูมิ ( องค์รวม ผสมผสาน ต่อเนื่อง ) : มาตรฐานและคุณภาพการบริการ - บริการตามปัญหาสุขภาพ /สาธารณสุขในพื้นที่ ( Area Based ) : ดำเนินการตามแผนการ / โครงการ จัดระบบบริการสุขภาพตามสภาพพื้นที่เพื่อการเข้าถึงบริการของประชาชนทุกกลุ่มในพื้นที่ - สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชน - สนับสนุน / สร้างความเข็มแข็ง ภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ
การบริการสุขภาพชุมชน ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน/ควบคุม รักษาปฐมภูมิ ฟื้นฟูสุขภาพ สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม อาหารปลอดภัย ป้องกันภาวะคุกคาม ทางสุขภาพ คุ้มครองผู้บริโภค Home health care & Home visit SRRT / Health BEST Team หน่วยตรวจสุขภาพครอบครัว บริการสงเคราะห์สาธารณสุข หน่วยแพทย์และบริการสาธารณสุขเคลื่อนที่(ทันตกรรม ทำหมันสุนัข X-ray) บริการสุขภาพตามกลุ่มเป้าหมาย ( ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กายภาพบำบัด สุขภาพจิต เอดส์ ยาเสพติด ฯลฯ ) อาสาสมัครสาธารณสุข ศูนย์สุขภาพชุมชน กรรมการชุมชน ประชาชน ( ตนเอง / ครอบครัว) การดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน การมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ 11 11
หน่วยแพทย์และสาธารณสุขเคลื่อนที่ หน่วยแพทย์และสาธารณสุขเคลื่อนที่ 68 ครั้ง/เดือน หน่วยบริการสาธารณสุขสำนักอนามัยเคลื่อนที่ 2 ครั้ง/เดือน คลินิกส่งเสริมสุขภาพเคลื่อนที่ ขอบคุณและสวัสดี 12