ระบบบริการสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 3 ปีงบประมาณ 2560 8 – 9 พฤษภาคม 2560 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
ตัวชี้วัดงานยาเสพติด ร้อยละ 92 ของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด
Service Gap Service delivery 6M2 5F1 30F2 9F3 M1 : บริการผู้ป่วยใน (IPD) สำหรับผู้ป่วยจิตเวชและยาเสพติด (A-M1) 1 4 M2 : บริการผู้ป่วยนอกจิตเวชเด็ก (A-F3) 2 M3 : บริการคลินิกผู้ป่วยนอกยาเสพติดคุณภาพ (A-F2) Admit ที่ ward ทางกาย พิจิตร,อุทัยธานี นว.3/14 กพ.1/12 พจ.3/9 อท.4/8 ชน.0/6
Service Gap บริการผู้ป่วยในสำหรับผู้ป่วยจิตเวชและยาเสพติด (A-M1) แนวคิดผู้บริหาร คือ ให้สร้างห้องแยกในหอผู้ป่วยทางกายและมีจิตแพทย์ไปตรวจ
Service Gap บริการคลินิกผู้ป่วยนอกยาเสพติดคุณภาพ (A-F2) พิจิตร : ส่งประเมินครบ 6 แห่ง ปี 2560 อยู่ระหว่างรอผลการประเมิน ชัยนาท : เคยผ่านทุกโรงพยาบาล แต่ไม่ได้ประเมินใหม่ (re-acredit) ยกเว้นโรงพยาบาลสร้างใหม่ (เนินขาม และหนองมะโมง) ยังไม่ได้ส่งประเมิน อุทัยธานี : ส่งประเมิน 4 แห่ง ปี 2560 อยู่ระหว่างรอผลการประเมิน
Quick win ยาเสพติด 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ร้อยละ 100 ของสถานบริการระดับ รพ.สต. ขึ้นไป สามารถให้บริการคัดกรอง บำบัดฟื้นฟูและติดตามผู้ป่วยยาเสพติดได้ตามที่กำหนด ร้อยละ 50 ของค่ายศูนย์ขวัญฯ ค่ายวิวัฒน์ฯ ระบบต้องโทษ จัดบริการตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 80 ของค่ายศูนย์ขวัญฯ ค่ายวิวัฒน์ฯ ระบบต้องโทษ จัดบริการตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 92 ของผู้ป่วย ยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด ร้อยละ 30 ของหน่วยบริการกระทรวงสาธารณสุขมีมาตรการลดอันตราย (Harm Reduction) ร้อยละ 40 ของหน่วยบริการกระทรวงสาธารณสุขมีมาตรการลดอันตราย (Harm Reduction) ร้อยละ 50 ของหน่วยบริการกระทรวงสาธารณสุขมีมาตรการลดอันตราย (Harm Reduction)
ผลการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนดร้อยละ 92 จำนวนผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา (A) จำนวนผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้ารับการบำบัดและได้รับการจำหน่ายตามเกณฑ์ที่กำหนด (B)
ผลการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนดร้อยละ 92 จังหวัดนครสวรรค์ (36/37)x100 = 97.3 จังหวัดพิจิตร (23/39)x100 = 58.97 จังหวัดอุทัยธานี (33/33)x100 = 100.00 จังหวัดกำแพงเพชร (70/70)x100 = 100.00 จังหวัดชัยนาท (24/26)x100 = 92.31 ภาพรวมเขต ทำได้ 90.73
ผลการปฏิบัติงาน ค่ายศูนย์ขวัญแผ่นดินแนวใหม่ (จังหวัดนครสวรรค์) รูปแบบการดำเนินงาน พหุพาคี - หลายหน่วยงาน มหาดไทย สาธารณสุข ทหาร ตำรวจ มีรูปแบบเฉพาะ ระยะเวลา - 12 วัน - ดูแล บำบัดรักษา ฟื้นฟู ฝึกอาชีพ -ทุกหน่วยงานอยู่ร่วมกัน 12 วัน
ผลการปฏิบัติงาน ผลการดำเนินงาน ปี 2558 = 6 ค่าย = 971 คน ปี 2559 = 7 ค่าย = 1274 คน ปี 2560 = 9 ค่าย ทำแล้ว 4 ค่าย จำนวนกว่า 400 คน มีการอบรม บสต. ระบบใหม่ ครบทั้งเขต และจังหวัดนครสวรรค์ : อบรม บสต. ระบบใหม่ ครบถึงระดับ รพ.สต. : อบรม Matrix, MET ครบทุกโรงพยาบาล : อบรม BA, BI ถึงระดับ รพ.สต.
ปัญหา และ โอกาสพัฒนา สถานการณ์ข้อมูลเชิงคุณภาพ การแพร่ระบาดของปัญหายาเสพติด ยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่องในทุกพื้นที่ โดยมีการใช้ยาในทางที่ผิดเพิ่มมากขึ้น เช่น โปร ลีน tramadol เพิ่มขึ้นในพื้นที่ ในกลุ่มนักเรียน นักศึกษา การบำบัดรักษาในระบบสมัครใจ แม้ว่าจะอยู่ในลำดับแรกของการเข้ารับการบำบัด แต่จำนวนของผู้เข้ารับบำบัดยังคงมีจำนวนไม่มาก กลุ่มเป้าหมายโดยเฉพาะเยาวชน ครอบครัว และชุมชนยังขาดความตระหนักในปัญหายาเสพติด
ปัญหา และ โอกาสพัฒนา ยังมีผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดรายใหม่ และส่วนใหญ่ไม่สมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาฟื้นฟู สถานบำบัดยาเสพติดทุกระบบ มาตรฐานการบำบัดยังไม่เป็นเป็นแนวทางเดียวกัน การบันทึกระบบข้อมูลการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด (บสต.)โดยเฉพาะการส่งต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานยังไม่ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน
ปัญหา และ โอกาสพัฒนา สถานการณ์การระบาดเกิดขึ้นในนักเรียน และนักศึกษามากขึ้น กำหนดให้การป้องกันควบคุมไม่ให้เกิดผู้เสพรายใหม่เป็นนโยบายสำคัญ มากกว่าการบำบัดรักษา กำหนดให้ผู้บำบัดในระบบสมัครใจ ต้องมารับการบำบัดและติดตามให้ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด ควรให้มีการปรับหมวดงบประมาณข้ามหมวดได้ตามความเหมาะสม และสภาพปัญหาระหว่างผู้ดูแลระบบของแต่ละหน่วยงานเพื่อบริหารจัดการข้อมูลให้เป็นปัจจุบันของพื้นที่ ควรประสานงานระหว่างผู้ดูแลระบบของแต่ละหน่วยงานเพื่อบริหารจัดการข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
ปัญหา และ โอกาสพัฒนา ความสามารถในการจัดการคุณภาพของค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ขาดแคลนกำลังคนในการปฏิบัติงาน โครงสร้างการปฏิบัติงานยังไม่ชัดเจน
ประเด็นการประชุมกลุ่มพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือด้านบริการและวิชาการ ระหว่างกรมการแพทย์กับเขตสุขภาพที่ 3 สาขายาเสพติด ปีงบประมาณ 2560 สิ่งที่ต้องการ ร้อยละ 92 ของผู้ป่วยยาเสพติด ที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่าย จากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด GAP Analysis Service delivery : คุณภาพของการบริการยาเสพติด Health workforce : ขาดแคลนสหวิชาชีพหลายสาขา Leadership and Governance : - การส่งเสริมป้องกันปัญหายาเสพติดในทุกกลุ่มวัย - อำนาจในการประสานงานและการปรับเปลี่ยนคุณภาพของค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Planning พัฒนาคุณภาพการบริการยาเสพติดในสถานบริการ (เขตสุขภาพ) กำหนดโครงสร้างการปฏิบัติงานในงาน/กลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติด (สำนักงานปลัดกระทรวงฯ) สนับสนุนการเพิ่มอัตรากำลังคน และความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน (สำนักงานปลัดกระทรวงฯ) Situation Analysis การแพร่ระบาดของปัญหายาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ประชาชนขาดความตระหนักในปัญหายาเสพติด ผู้เสพส่วนใหญ่ไม่สมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษา มาตรฐานการบำบัดยังไม่เป็นเป็นแนวทางเดียวกัน (HA ยาเสพติด) การบันทึก บสต. ยังไม่ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน ความสามารถในการจัดการคุณภาพของค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โครงสร้างการปฏิบัติงานยังไม่ชัดเจน ขาดแคลนกำลังคนในการปฏิบัติงาน
THANK YOU