สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงานคืออะไร หลักการของการเรียนรู้ของ โครงงาน จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้ ด้วยโครงงาน โครงงานกับการเรียนรู้แบบต่างๆ ลักษณะเด่นของการเรียนรู้ด้วย.
Advertisements

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.
Testing & Assessment Plan Central College Network I.
Professional Leaning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวีชาชีพ
ประชุมผู้บริหารการศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษา
แม่แบบที่ดีของการบริการ
สรุปการดำเนินงาน ตามนโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๘
1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ
การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Moderate Class More Knowledge
เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ
บทบาท Peer กับการคือสู่สุขภาวะ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรการสอน
เทคนิคการสอนยุค IT ตอนที่ 2
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา ชุมชนศึกษาและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
Teaching Learning Community. Teaching Learning Community.
PLC : การพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ
การประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา
กลุ่มงานหลักเกณฑ์ฯ สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและ บุคลากรอาชีวศึกษา
กฎหมายการศึกษาไทย.
การสอบที่มีประสิทธิภาพ
แนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงาน 4 ศูนย์เรียนรู้
กับการก้าวสู่ยุคประเทศไทย 4.0
ณ วันนี้เป็นวิชาชีพชั้นสูงหรือยัง
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
นายสมชัย ชวลิตธาดา EKACHAI SCHOOl โรงเรียนเอกชัย
ครูกับการออกแบบการเรียนรู้ สู่คุณภาพเด็กไทย
ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. พิเศษ 1/5 สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
โครงสร้างการทำงานภายใต้โครงการประชารัฐ
ปฏิรูปการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน ด้วย Active Learning PLC และการนิเทศ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
การพัฒนาหลักสูตรในรูปแบบ Productive Learning
สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
PRE 103 Production Technology
ประชุมเชิงปฏิบัติ การบริหารการเปลี่ยนแปลงกรมอนามัย มุ่งสู่องค์กรนำด้านส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย วันที่
ระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงานของข้าราชการครู (Logbook Teacher)
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
Animal Health Science ( )
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
รอบที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๒
หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง ปีการศึกษา ๒๕๖๒
โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School- Based Management
“การปฏิบัติหน้าที่อย่างครูมืออาชีพ”
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค
ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
PLC.
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ประธานมูลนิธิสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

สรุปผลการดำเนินโครงการฯ (U-School Mentoring) ปี 2559 ประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ (35%) + ยกระดับทักษะความรู้ด้านภาษา (30%) + พัฒนาศักยภาพวิชาการ หรือ STEM Education (20%) + พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม (15%) 125 สถาบัน อุดมศึกษา 154 โรงเรียนเป้าหมาย 133 โครงการ/กิจกรรม ครู 2,991 คน + นักเรียน 25,250 คน

N(บน) สรุปผลการดำเนินโครงการฯ (U-School Mentoring) ปี 2559 จุดเด่น คือ รูปแบบ “บวร” + Flipped Class Room ที่เน้น Learning Outcome ขาด 2 จังหวัด คือ จ.น่าน และ จ.ลำพูน ควรเพิ่มบทบาท ศึกษานิเทศก์และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา + Model โรงเรียนต้นแบบที่เน้น Head + Technology & Engineering ครู ได้เกิดความมั่นใจในการสอน + นักเรียนเกิดกำลังใจและความกระตือรือร้นในการเรียนรู้มากขึ้น 16/17 U & 18 Sc 606 T & 1,274 Sd 16 A 6/8 P

สนับสนุนเครือข่ายโรงเรียนต้นแบบ สรุปผลการดำเนินโครงการฯ (U-School Mentoring) ปี 2559 N(ล่าง) จุดเด่น คือ ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน (เชื่อมโยงชุมชนให้เป็นฐานการเรียนรู้) + Mind Mapping ขาด 4 จังหวัด คือ จ.กำแพงเพชร จ.อุตรดิตถ์ จ.อุทัยธานี และ จ.สุโขทัย ควรเพิ่มบทบาทการวิจัยเพื่อสร้างคู่มือเทคนิคการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้อง ตามบริบทเชิงพื้นที่ + สนับสนุนเครือข่ายโรงเรียนต้นแบบ ครูและนักเรียนเกิดแรงบันดาลใจในการเติมเต็มประสบการณ์การเรียนรู้และนวัตกรรมทางวิชาการสู่ชุมชนพื้นที่ 10/13 U & 18 Sc 105 T & 1,378 Sd 11 A 5/9 P

Mid (บน) สรุปผลการดำเนินโครงการฯ (U-School Mentoring) ปี 2559 จุดเด่น คือ การวางแผนและบริหารจัดการเครือข่ายฯ เข้มแข้งและเป็นระบบ + PLC (Professional Learning Community) ขาด 1 จังหวัด คือ จ.สิงห์บุรี ควรมีการจัดทำฐานข้อมูลโครงการฯ ที่ชัดเจน เพื่อการใช้ประโยชน์ร่วมกันในอนาคต + พยายามดึงสถาบันอุดมศึกษาสมาชิก เครื่อข่ายฯ ที่เหลือ เพื่อมาทำงานร่วมกันในการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบ ครูเกิดกำลังใจ + นักเรียนได้รับความสุขจากการเรียนรู้และทัศนคติเชิงบวก + เกิดคู่มือจากผลงานวิจัยสู่ชุมชน 33/45 U & 46 Sc 1,142 T & 11,755 Sd 46 A 8/9 P

Mid (ล่าง) สรุปผลการดำเนินโครงการฯ (U-School Mentoring) ปี 2559 จุดเด่น คือ การใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศที่ทันสมัยเพื่อพัฒนาคู่มือและนวัตกรรม + SMART NOTEBOOK ขาด 4 จังหวัด คือ จ.ประจวบคีรีขันธ์ จ.สมุทรสงคราม จ.สมุทรสาคร และ จ.สุพรรณบุรี ควรมีการจัดทำกรอบตัวชี้วัดเพื่อกำกับ ติดตาม และประเมินผลที่ชัดเจน + พยายามดึงสถาบันอุดมศึกษาสมาชิก เครื่อข่ายฯ ที่เหลือ เพื่อมาทำงานร่วมกันในการพัฒนาชุมชนพื้นที่อย่างเป็นระบบต่อเนื่อง ครูได้พัฒนาเทคนิควิธีและคู่มือช่วยสอนในรูปแบบที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ + นักเรียนได้เปิดโลกทัศน์ที่แปลกใหม่ในการเรียนรู้ 11/33 U & 11 Sc 175 T & 665 Sd 11 A 6/10 P

E สรุปผลการดำเนินโครงการฯ (U-School Mentoring) ปี 2559 ขาด 2 จังหวัด จุดเด่น คือ การดึงทรัพยากรชุมชนพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา+ 4 H (Head - Hand - Heart - Health) ขาด 2 จังหวัด คือ จ.นครนายก และ จ.ปราจีนบุรี ควรมีการเพิ่มสัดส่วนกิจกรรมที่สะท้อน Head และ Heart ให้มากขึ้น + จัดทำฐานข้อมูลและการรายงานผลการดำเนินกิจกรรมที่สามารถสะท้อนคุณภาพที่ยั่งยืนได้ ครูและนักเรียนได้โอกาส การปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน โดยดึงทรัพยากร ในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดการเรียนรู้ 8/8 U & 13 Sc 85 T & 2,136 Sd 8 A 6/8 P

EN (บน) สรุปผลการดำเนินโครงการฯ (U-School Mentoring) ปี 2559 จุดเด่น คือ รูปแบบกิจกรรม STEM Education + ทฤษฎีพหุปัญญา + “Engineering Design Process” ขาด 4 จังหวัด คือ จ.หนองคาย จ.มุกดาหาร จ.หนองบัวลำภู และ จ.บึงกาฬ ควรเน้นรูปแบบกิจกรรมที่ช่วยพัฒนาทักษะชีวิตสำหรับผู้เรียนให้มากขึ้น + การสร้างคู่มือเทคนิคการส่งเสริมการเรียนรู้จากภาคทฤษฎีสู่ภาคปฏิบัติอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ครูและนักเรียน สามารถใช้แนวคิด เชิงระบบทางวิทยาศาสตร์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมกับชุมชน 11/15 U & 13 Sc 190 T & 2,716 Sd 14 A 8/12 P

EN (ล่าง) สรุปผลการดำเนินโครงการฯ (U-School Mentoring) ปี 2559 จุดเด่น คือ รูปแบบกิจกรรมเชิงบูรณาการที่หลากหลาย + การพัฒนานวัตกรรม เพื่อการเรียนการสอน อย่างมีส่วนร่วม ขาด 3 จังหวัด คือ จ.ชัยภูมิ จ.ยโสธร และ จ.อำนาจเจริญ ควรเน้นรูปแบบ PBL และ PLC เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้จากโรงเรียนสู่ชุมชน + การได้รับการสนับสนุนด้านลิขสิทธิ์และข้อกฎหมายเพื่อส่งเสริมต่อยอดโรงเรียนต้นแบบ ในพื้นที่ ครูและนักเรียนได้มีโอกาสในการบูรณาการศาสตร์การเรียนรู้ที่หลากหลายและเอื้อต่อการวิจัยต่อยอด 14/17 U & 17 Sc 347 T & 2,008 Sd 14 A 5/8 P

S(บน) สรุปผลการดำเนินโครงการฯ (U-School Mentoring) ปี 2559 จุดเด่น คือ รูปแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับบริบทเชิงพื้นที่และการลดช่องว่างระหว่างเด็กปกติกับเด็กพิเศษ + “Active Learning” ขาด 4 จังหวัด คือ จ.กระบี่ จ.ชุมพร จ.ตรัง และ จ.พัทลุง ควรเน้นรูปแบบ Lesson Learning ให้มากขึ้นเพื่อการศึกษา วิจัย และต่อยอด + การสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนต้นแบบเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในท้องถิ่น ผู้บริหาร ครู และนักเรียน มีโอกาสในการพัฒนาต่อยอดกิจกรรมเพื่อขยายโรงเรียนต้นแบบการเรียนร่วมระหว่างเด็กปกติและเด็กพิเศษ 8/8 U & 11 Sc 195 T & 2,400 Sd 8 A 5/9 P

S(ล่าง) สรุปผลการดำเนินโครงการฯ (U-School Mentoring) ปี 2559 จุดเด่น คือ บริบทความเข้มแข็งของการทำงานร่วมกันเพื่อดึงชุมชนเฉพาะพื้นที่เข้ามามี ส่วนร่วม + รูปแบบกิจกรรมศาสตร์และศิลป์เพื่อวิจัยและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขาด ครูแนะแนว และบริบทความไม่พร้อม ในระดับพื้นที่ (ศาสนา / ภาษา / วัฒนธรรม) ควรเน้นรูปแบบ Action Research ให้มากขึ้นเพื่อจัดทำคู่มือและส่งเสริมงานบริการวิชาการสู่ชุมชนอย่างเห็นผลต่อการสร้าง ความปกติสุขและความยั่งยืนให้กับโรงเรียน ครูได้พัฒนาศักยภาพ การสอนอย่างมีประสิทธิภาพ + นักเรียนได้ค้นหาตัวตน และความถนัดเพื่อสร้างโอกาสการเรียนรู้ 14/14 U & 14 Sc 146 T & 918 Sd 5 A 5/5 P

สรุปผลการดำเนินโครงการฯ (U-School Mentoring) ปี 2559 ปัญหาการประสานงานและ การทำความเข้าใจร่วมกัน ความไม่พร้อมของผู้บริหาร ครู นักเรียน และ บริบทแวดล้อมต่าง ๆ ขาด Head & Heart + ความชัดเจนใน Learning Outcome ขาดการกำกับ ติดตาม และรายงานผลที่ชัดเจนทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยเฉพาะการตอบโจทย์ความยั่งยืนตามโครงการฯ ปัญหาทั่วไปเชิงเทคนิค เช่น ข้อจำกัดเกี่ยวกับ งบประมาณ ระยะทาง ระยะเวลา เป็นต้น ภาพรวมของปัญหาและอุปสรรค ตามโครงการฯ ปี 2559

ผลที่เกิดตามโครงการฯ สรุปผลการดำเนินโครงการฯ (U-School Mentoring) ปี 2559 ผลที่เกิดตามโครงการฯ นักเรียน เกิดการคิดวิเคราะห์ พัฒนาทักษะการใช้ภาษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดทักษะชีวิต ประยุกต์ใช้ความรู้สู่ชีวิตประจำวัน มีทัศนคติเชิงบวก ต่อการเรียน ครู พัฒนาเทคนิคในการปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน สามารถบูรณาการรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการเรียนการสอนได้จริง เกิดแรงบันดาลใจในการพัฒนาคุณภาพการสอน โรงเรียน เกิดโรงเรียนต้นแบบและเครือข่ายเพื่อการปฏิรูป การเรียนการสอน ตามนโยบายของภาครัฐ จัดการศึกษาได้ตรงตามความต้องการของชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้และฐานภูมิปัญญาที่ยั่งยืนให้กับชุมชนท้องถิ่น ชุมชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนในพื้นที่ มีโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ สมาชิกชุมชนมีศักยภาพและร่วมอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ผลที่เกิดตามโครงการฯ สรุปผลการดำเนินโครงการฯ (U-School Mentoring) ปี 2559 ผลที่เกิดตามโครงการฯ คณาจารย์ มีโอกาสเชื่อมโยงงานวิจัย ในเชิงพื้นที่โดยมีชุมชนเป็นฐาน เพื่อการศึกษาและพัฒนา ปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษาเกี่ยวกับ การบริการวิชาการสู่ชุมชน เกิดแรงบันดาลใจในการ ร่วมพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในชุมชมท้องถิ่น นักศึกษา ได้ประสบการณ์ตรงจากการทำงานเชิงพื้นที่มากขึ้น มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับผู้แทนจากภาคส่วนต่าง ๆ ในระดับพื้นที่ นำประสบการณ์การเรียนรู้ มาปรับใช้ในอนาคต สถาบัน อุดมศึกษา ได้พื้นที่เรียนรู้เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะการรับทราบปัญหาการศึกษาชาติที่แท้จริงเพื่อสะท้อนไปสู่ระดับนโยบายเพื่อแก้ปัญหาได้ตรงจุด เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างเครือข่าย การทำงานเชิงบูรณาการร่วมกัน ในระดับพื้นที่ ได้ทำหน้าที่งานบริการวิชาการสู่ชุมชนและเกิดผลงานวิจัย/คู่มือนวัตกรรมต่าง ๆ เพิ่มขึ้น

บทบาทพี่เลี้ยง บทบาทของโครงการฯ (U-School Mentoring) ที่ภาครัฐต้องการ “มหาวิทยาลัยพี่เลี้ยงกับการปฏิรูปการศึกษาและการพัฒนาโครงการสร้างพื้นฐานของประเทศ” (โดย พลเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว) บทบาทพี่เลี้ยง U & Sch มีเป้าหมายร่วมกันในการสร้างผลสัมฤทธิ์ ที่ชัดเจน เป็นไปตามความต้องการโรงเรียน / ไม่เป็นการสร้างภาระเพิ่ม บูรณาการงานกับทุกภาคส่วนได้จริง ใช้ความเชี่ยวชาญของ U ในการเป็น พี่เลี้ยง

ภายในห้าปีส่งเสริมให้ครูใช้ศักยภาพในการสอนอย่างเต็มที่ ทิศทางการดำเนินโครงการฯ (U-School Mentoring) ในอนาคต ภายในสองปีจะทำให้เด็กเรียนท่องจำในสิ่งที่ควรจำและนำสิ่งที่จำไปคิดวิเคราะห์แก้ปัญหา และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ครบทุกโรงเรียน ภายในห้าปีส่งเสริมให้ครูใช้ศักยภาพในการสอนอย่างเต็มที่ ปี2561 ปี2565

แนวทางการดำเนินโครงการฯ (U-School Mentoring) ปีต่อไป ประเด็นมอบหมาย สกอ. ขอให้กำหนดแผนและแนวทาง ที่ชัดเจนไม่ซ้ำซ้อนผลลัพธ์กับเป้าหมายโครงการอื่น ๆ เช่น โรงเรียนประชารัฐ เป็นต้น แผนและแนวทางเพื่อดำเนินการในระดับพื้นที่ สร้างความร่วมมือและกำหนดบทบาทการเป็น พี่เลี้ยงได้ชัด ให้เพิ่มรายละเอียดของรูปแบบและเป้าหมายของโครงการฯ ให้ครอบคลุมความเป็นพี่เลี้ยงที่ภาครัฐต้องการ การถ่ายทอดการสอนให้ครู การถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการแก่ครู/นักเรียน การร่วมพัฒนา ICT เพื่อการเรียนการสอน การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ การสร้างการคิดวิเคราะห์ให้กับประชาชน สร้างระบบการพัฒนาที่ยั่งยืนให้ครูและนักเรียน

การสร้างความหมายและความสุขร่วมกันจาก Lesson Study & Listen Approach เทคนิคในการดำเนินโครงการฯ (U-School Mentoring) เรื่องราวประทับใจ (โรงเรียนได้อะไร จากสถาบันอุดมศึกษา พี่เลี้ยง) เทคนิคการเข้าถึงโรงเรียนเพื่อเปิดใจในการสร้างแรงบันดาลใจในการทำงานร่วมกัน การสร้างความหมายและความสุขร่วมกันจาก Lesson Study & Listen Approach ครูมั่นใจ เด็กเข้าถึงทักษะการคิดวิเคราะห์และศักยภาพที่สอดคล้องกับศตวรรษที่ 21 ปัญหาและอุปสรรคหลัก คือ ความไม่พร้อมในการสร้าง Participation & Collaboration

เพื่อการบริหารจัดการโครงการให้เกิดความยั่งยืนและการนำเสนอผลสะท้อนกลับ แนวคิดตามโครงการฯ (U-School Mentoring) จากปัจจุบันสู่อนาคต เพื่อการบริหารจัดการโครงการให้เกิดความยั่งยืนและการนำเสนอผลสะท้อนกลับ เข้าถึงโรงเรียน ด้วยการชี้คุณค่าของโครงการฯ กับ การช่วยแก้ปัญหาหรือเสริมจุดเด่น ใช้กลไกความร่วมมือกับศึกษานิเทศก์และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อวางแผนบริหารจัดการ โรงเรียนยอมรับปัญหา เดินหน้าแก้ไขและพัฒนา โดยมุ่งตอบโจทย์คุณภาพที่ยั่งยืน สร้างฐานข้อมูลและระบบเครือข่ายในการทำงานที่ชัดเจนโดยมี ICT มาเป็นตัวช่วย สร้างสายสัมพันธ์กับโรงเรียนเพื่อสำรวจและแก้ปัญหาให้ ตรงจุด

เพื่อการบริหารจัดการโครงการให้เกิดความยั่งยืนและการนำเสนอผลสะท้อนกลับ แนวคิดตามโครงการฯ (U-School Mentoring) จากปัจจุบันสู่อนาคต เพื่อการบริหารจัดการโครงการให้เกิดความยั่งยืนและการนำเสนอผลสะท้อนกลับ ปัจจัยความยั่งยืนของโครงการฯ คัดเลือก คน/ศาสตร์ ให้เหมาะกับการทำงาน เป็นทีม แผนงานต้องชัดต่อกรอบระยะเวลาและเป้าหมาย/ผลลัพธ์ “กระบวนการมีส่วนร่วม” คือ พื้นฐานที่สำคัญ ติดตาม ติดต่อ ก่อผลงานตามแผนอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ ให้โรงเรียนรู้สึก เป็นส่วนหนึ่งของความสำเร็จตามโครงการฯ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ

เพื่อการบริหารจัดการโครงการให้เกิดความยั่งยืนและการนำเสนอผลสะท้อนกลับ แนวคิดตามโครงการฯ (U-School Mentoring) จากปัจจุบันสู่อนาคต เพื่อการบริหารจัดการโครงการให้เกิดความยั่งยืนและการนำเสนอผลสะท้อนกลับ อะไร? กำหนดเป้าหมายหลักเพื่อการพัฒนาศักยภาพครู สู่โรงเรียน แบบไหน? กระบวนการมีส่วนร่วมระหว่าง U & School แบบ “Give and Grow – Together” อย่างไร? เกิดโรงเรียนพี่เลี้ยง (ต้นแบบ) และเครือข่ายเพื่อการยกระดับคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เหมาะสมตามบริบทเชิงพื้นที่

โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (U-School Mentoring)