งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
การระดมความคิดเห็น ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล กลุ่ม ๓ ภาคใต้

2 ๑. ทำไมต้องเป็นโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
เพื่อพัฒนาคุณภาพวิชาการ มีบุคลากรครบชั้น/ครบวิชา มีอาคารเรียนเพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน ส่งเสริมการศึกษาเพื่อการมีอาชีพ มีการร่วมมือกันทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชน มีความพร้อมในการให้บริการทางการศึกษาแก่ชุมชน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ครบทุกทักษะ ผู้ปกครอง ชุมชน มีความเชื่อมั่น

3 ๒.เป้าหมายหลักการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
พัฒนาผู้เรียนด้านการใช้ภาษาอังกฤษ 100% ภาษาจีน สื่อสารได้ พัฒนาการใช้ ICT เพื่อการศึกษา มีหลักสูตรสถานศึกษา/ท้องถิ่น โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชนและโรงเรียนใกล้เคียง โรงเรียนเป็นแหล่งสืบสานวัฒนธรรมประเพณี ผู้เรียนปลอดยาเสพติด ผู้เรียนไม่ทะเลาะวิวาทและใช้ความรุนแรง ผู้เรียนสามารถแข่งขันในเวทีระดับ ต่างๆ

4 ๓. โจทย์การพัฒนาคุณภาพนักเรียน
๑. โจทย์ระดับโลก ๑.๑ นักเรียนมีความสามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้ตามมาตรฐาน ๑.๒ นักเรียนสามารถใช้ ICT ในการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี ๑.๓ นักเรียนสามารถแข่งขันเวที นานาชาติ ๒. โจทย์ระดับประเทศ ๒.๑ นักเรียนมีผลการสอบ O-NET สูงกว่าระดับประเทศ/มากกว่าร้อยละ 50 ๒.๒ นักเรียนมีจิตอาสา ๒.๓ นักเรียนสามารถแข่งขันวิชาการ ศิลปะ กีฬา และเทคโนโลยี

5 ๓. โจทย์ระดับภาคของประเทศ
๓.๑ โรงเรียนเป็นโรงเรียนรางวัลพระราชทาน ๓.๒ นักเรียนเป็นนักเรียนรางวัลพระราชทาน ๓.๓ โรงเรียนได้รับการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาในระดับดีเยี่ยม ๔. โจทย์ระดับกลุ่มจังหวัดและจังหวัด ๔.๑ นักเรียนร้อยละ ๕๐ มีผลการสอบ O-NET สูงกว่าระดับประเทศ ๔.๒ นักเรียนมีความสามารถในการเป็นมัคคุเทศก์น้อย ๔.๓ นักเรียนเป็นตัวแทนในการแข่งขันเวทีระดับชาติ ๔.๔ นักเรียนสามารถสอบแข่งขันเข้าโรงเรียนยอดนิยมได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

6 ๕. โจทย์การพัฒนาตามบริบทอำเภอ/ตำบล/ท้องถิ่น
๕.๑ โรงเรียนมีอาคารเรียน อาคารประกอบ เพียงพอต่อการจัดการศึกษาและบริการชุมชน ๕.๒ โรงเรียน เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ๕.๓ โรงเรียนเป็นศูนย์บริการด้าน ICT ๖. โจทย์การพัฒนานักเรียนตามความแตกต่างและศักยภาพของนักเรียนรายบุคคล 6.๑ นักเรียนได้รับการพัฒนาเป็นรายบุคคลและส่งเสริมให้สามารถแข่งขันในเวทีระดับต่างๆ 6.๒ นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะด้านอาชีพเพื่อเตรียมความพร้อมในการศึกษาต่อหรือสร้างรายได้ระหว่างเรียน

7 ๗. โจทย์การพัฒนาที่ประชาชน/ผู้ปกครองต้องการ
๗.๑ นักเรียนสามารถสอบแข่งขันเพื่อศึกษาต่อโรงเรียนยอดนิยม ๗.๒ โรงเรียนสามารถพัฒนาและส่งต่อผู้เรียนเพื่อพัฒนาอาชีพแบบทวิภาคี ๗.๓ นักเรียนได้รับการพัฒนาด้านจิตอาสาและภูมิคุ้มกันด้านยาเสพติด

8 ๔. คุณภาพโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลควรเป็นอย่างไร
Outcome ครูมีวิทยฐานะสูงขึ้นจากการพัฒนากระบวนการเรียนการสอน นักเรียนมีพัฒนาการด้านการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา นักเรียนสามารถแข่งขันในเวทีการแข่งขันวิชาการ ศิลปะ กีฬา และเทคโนโลยี Output จำนวนนักเรียนเพิ่มขึ้น โรงเรียนมีความพร้อมด้านห้องเรียนและอาคารประกอบ โรงเรียนมีครูครบชั้น / ตรงสาขาวิชา มีหลักสูตรสถานศึกษา / ท้องถิ่น ชุมชนมีส่วนร่วม

9 ๕. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของแต่ละโรงเรียน
๕.๑ ทักษะวิชาการ – ความรู้พื้นฐาน มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องและหลากหลาย มีชมรมด้านวิชาการให้นักเรียนได้เลือกเรียนตามความสนใจ มีการพัฒนาด้านภาษาต่างประเทศตามบริบทของโรงเรียน ๕.๒ ทักษะชีวิต – ทักษะงาน นักเรียนสามารถว่ายน้ำได้ 100% นักเรียนปลอดจากยาเสพติด นักเรียนไม่มีการทะเลาะวิวาทและใช้ความรุนแรง นักเรียนปฏิบัติตนตามหลักศาสนา นักเรียนน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำรงชีวิต

10 ๕. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของแต่ละโรงเรียน (ต่อ)
๕.๑ ทักษะวิชาชีพ – ความรู้เฉพาะทาง มีหลักสูตรส่งเสริมทักษะอาชีพที่หลากหลายและสอดคล้องกับสภาพของชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน และความสนใจของนักเรียน

11 ๖. กระบวนในการดำเนินการควรเป็นอย่างไร
กำหนด Outcome ตัวชี้วัด ๑.โรงเรียนเป็นที่ยอมรับของชุมชน นักเรียนเพิ่มขึ้น ความพึงพอใจของชุมชน ความร่วมมือของภาคีเครือข่าย

12 ๖. กระบวนในการดำเนินการควรเป็นอย่างไร
กำหนด Output ตัวชี้วัด ๑.นักเรียนสื่อสารได้หลายภาษา ๒.ผลสอบโอเน็ตสูงกว่าระดับประเทศ/ร้อยละ ๕๐ นักเรียนร้อยละ๘๕ สื่อสารได้ ๒ภาษาขึ้นไป ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการทดสอบระดับโรงเรียน เครือข่าย อำเภอ และระดับจังหวัด สูงขึ้น

13 ๖. กระบวนในการดำเนินการควรเป็นอย่างไร
กำหนด Process ตัวชี้วัด ๑.ใช้กระบวนการ PDCA ๒.การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา / ท้องถิ่น การบริหารจัดการสารสนเทศของโรงเรียน การวิเคราะห์และประเมินหลักสูตร ความพึงพอใจของนักเรียน

14 ๖. กระบวนในการดำเนินการควรเป็นอย่างไร
กำหนด Input ตัวชี้วัด ห้องเรียน อาคารประกอบ ภูมิทัศน์ สื่อเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวกเพียงพอต่อความต้องการ มีความพร้อมตามองค์ประกอบในระดับดีเยี่ยม

15 ๗. การขับเคลื่อนเพื่อตอบโจทย์ ระยะสั้นและระยะยาว
การสื่อสาร และรับรู้ร่วมกันของ ครู นักเรียน และชุมชน การจัดทำแผนปฏิบัติการ กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จ การกำหนดโครงการ

16 ๗. การขับเคลื่อนเพื่อตอบโจทย์ ระยะสั้นและระยะยาว
พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรท้องถิ่น วางแผนอัตรากำลัง วางระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เกณฑ์ความสำเร็จของโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล การนิเทศ ติดตาม และรายงานผลการดำเนินงาน งานวิจัย รูปแบบ R & D

17 ๘. เครื่องมือทางการบริหารที่นำมาใช้
แผนพัฒนา = แผนพัฒนาคุณภาพ/แผนปฏิบัติการประจำปี หลักสูตรสถานศึกษา = แผนพัฒนาหลักสูตร/จัดทำหลักสูตรท้องถิ่น บุคลากร = แผนอัตรากำลัง ๓ ปี/แผนพัฒนาบุคลากร ๓ ปี แผนพัฒนาการมีส่วนร่วม = การ MOU กับ ภาคีเครือข่าย แผนปฏิบัติการ = โครงการมุ่งเน้นการพัฒนา ส่งเสริม และยกระดับ

18 ๙. การประเมินความก้าวหน้าความสำเร็จและการรายงานต่อสาธารณะ
การนิเทศติดตามความก้าวหน้า โอกาส และความสำเร็จ โดยแบ่งการประเมินเป็น ๓ ระดับ ประกอบด้วย การประเมินตนเอง การประเมินจากต้นสังกัด การประเมินจากหน่วยงานหรือองค์กร

19 ๑๐. การกำหนด Timeline เขตพื้นที่ ธ.ค. ๖๑ – ม.ค. ๖๒ โรงเรียน
ก.พ. ๖๒ – มี.ค. ๖๒ ชั้นเรียน ก.พ. ๖๒ – มี.ค. ๖๒ นักเรียน ก.พ. ๖๒ – พ.ค. ๖๒ ขับเคลื่อน (โครงการ) สื่อสาร (ชุมชน) เข้าใจ (กระบวนการ) พัฒนา (ตามเป้าหมาย)


ดาวน์โหลด ppt โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google