สอนอย่างมืออาชีพ หยุดยั้งพฤติกรรมเสี่ยง การพัฒนาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) จักรกฤษณ์ พลราชม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
การพัฒนาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) แนวทางปฏิบัติเพื่อการดำเนินการพัฒนาพฤติกรรมฯ การจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้ สาธิตการจัดกิจกรรมตามรายละเอียดของแผนการจัดการเรียนรู้ตาม CD Rom. ประสบการณ์ในการดำเนินการที่ผ่านมา กรอบการนำเสนอ
รูปแบบการพัฒนาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียน ในโรงเรียน อย.น้อย เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) องค์ประกอบของรูปแบบการพัฒนาพฤติกรรมการบริโภคอาหาร องค์ประกอบที่ 1 : ลักษณะของรูปแบบ องค์ประกอบที่ 2 : จุดมุ่งหมายของรูปแบบ องค์ประกอบที่ 3 : เนื้อหาสาระของรูปแบบ องค์ประกอบที่ 4 : กิจกรรมที่ใช้ในรูปแบบ องค์ประกอบที่ 5 : แนวทางการประเมินประสิทธิผล 3
4 1 : ลักษณะของรูปแบบ 2 : จุดมุ่งหมายของรูปแบบ ประกอบด้วย 2 รูปแบบคือ (1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จำนวน 4 แผน (2) แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 2 แผน แผนละ 50 นาที 2 : จุดมุ่งหมายของรูปแบบ (1) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการอ่านฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ประโยชน์จากข้อมูลบนฉลาก และ (3) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพ 3 : เนื้อหาสาระของรูปแบบ ฉลากอาหาร ฉลากโภชนาการ ฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) สัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” พิษภัยที่เกิดจากการบริโภคขนมกรุบกรอบ อาหารใส่สี และอาหารที่ไม่ปลอดภัย 4 : กิจกรรมที่ใช้ในรูปแบบ กิจกรรมที่หลากหลาย อาทิเช่น เกมทางการศึกษา การบรรยายประกอบสื่อ การอภิปราย สถานการณ์ จำลอง การแสดงบทบาทสมมติ กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การระดมสมอง เป็นต้น 5 : แนวทางการประเมินประสิทธิผล (1) ประเมินผลลัพธ์เชิงกระบวนการ ประเมินจากกิจกรรม และผลงาน (2) ประเมินผลลัพธ์สุดท้าย โดยการประเมินจากการสำรวจจากนักเรียน 4
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การพัฒนาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) แผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย แผนที่ 1 สุขภาพในอนาคต แผนที่ 2 อ่านฉลากสักนิด พิชิตสุขภาพดี แผนที่ 3 ฉลาดบริโภค โรคไม่ถามหา แผนที่ 4 บริโภคอย่างนี้สิ ดีต่อสุขภาพ แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ประกอบด้วย ฐานกิจกรรมที่ 1 ลูกเต๋าแสนกล ฐานกิจกรรมที่ 2 ช็อปปิ้ง ฉลาดคิด 5
โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้ เวลา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 สุขภาพในอนาคต เวลา 50 นาที แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อ่านฉลากสักนิด พิชิตสุขภาพดี แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ฉลาดบริโภค โรคไม่ถามหา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 บริโภคอย่างนี้สิ ดีต่อสุขภาพ 6
ขอบเขตของสาระการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ รายละเอียดสาระการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 “สุขภาพในอนาคต” 1. ความหมายและความสำคัญของการมีสุขภาพดี 2. ปัจจัยกำหนดสุขภาพ 3. ผลเสียและผลกระทบของการมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม 7
ขอบเขตของสาระการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ รายละเอียดสาระการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 “อ่านฉลากสักนิด พิชิตสุขภาพดี” 1. ลักษณะของฉลากอาหาร ฉลากโภชนาการ ฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) และสัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” 2. ส่วนประกอบและความหมายของข้อมูลบนฉลากอาหาร ฉลากโภชนาการ ฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) และสัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” 3. ประโยชน์ของการอ่านฉลากอาหาร ฉลากโภชนาการ ฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) และสัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” 8
ขอบเขตของสาระการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ รายละเอียดสาระการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 “ฉลาดบริโภค โรคไม่ถามหา” 1. ประเภท/ลักษณะของขนมกรุบกรอบ อาหารใส่สี อาหารทอด และน้ำอัดลม 2. พิษภัยที่เกิดจากการบริโภคขนมกรุบกรอบ อาหารใส่สี อาหารทอด และน้ำอัดลม 3. การบริโภคขนมกรุบกรอบ อาหารใส่สี อาหารทอด และน้ำอัดลมอย่างปลอดภัย 4. การปฏิบัติตนเพื่อหลีกเลี่ยงจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย 9
ขอบเขตของสาระการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ รายละเอียดสาระการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 “บริโภคอย่างนี้สิ ดีต่อสุขภาพ” 1. สรุปสาระสำคัญของฉลากอาหาร ฉลากโภชนาการ ฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) และสัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” 2. การใช้ประโยชน์จากการอ่านฉลากอาหาร ฉลากโภชนาการ ฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) และสัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” 3. ประโยชน์ และการปฏิบัติตนเพื่อหลีกเลี่ยง หรือลดการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย 10
แนวทางการปฏิบัติเพื่อการดำเนินการ 1. ขั้นเตรียมการ 2. ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นประเมินผล 11
ขั้นที่ 1 : ขั้นเตรียมการ ศึกษาคู่มือครูในการดำเนินการฯ ศึกษารายละเอียดของแผนการจัดการเรียนรู้ จัดเตรียมสื่อ-วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือในการประเมินผล จัดเตรียมโสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียนสำหรับการจัดการเรียนรู้ 12
เตรียมการโดยการศึกษา จากแผนการจัดการเรียนรู้ 13
ขั้นที่ 2 : ขั้นดำเนินการ ดำเนินการตามกระบวนการจัดการเรียนรู้ (ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ขั้นกิจกรรมการเรียนการสอน และขั้นสรุป) แนวทางที่ 1 แนวทางที่ 2 14 โปรแกรมสำเร็จรูป (โปรแกรม Flash) อธิบายด้วยตนเองโดยใช้สื่อประกอบ
ขั้นที่ 2 : ขั้นดำเนินการ (ต่อ) 2. แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า (หากไม่ได้เป็นไปตามที่วางแผนเอาไว้ อยู่ในดุลพินิจของครู) 15
ขั้นที่ 3 : ขั้นประเมินผล ครูดำเนินการประเมินผลตามเครื่องมือของแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละแผน (รายละเอียดตาม การวัดและการประเมินผลในแผนการจัดการเรียนรู้) 16
การจัดกิจกรรม ตามรายละเอียดของแผนการจัดการเรียนรู้ 17
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในกรณีที่ครูต้องการศึกษาเปรียบเทียบผลการพัฒนาพฤติกรรมนักเรียน ครูต้องให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) ก่อนเริ่มกิจกรรม โดยใช้เวลาอื่นนอกคาบเรียน (ใช้เวลาประมาณ 20 นาที) แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ทดสอบก่อนเรียน Pre-test ทดสอบหลังเรียน Post-test 18
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง “สุขภาพในอนาคต” แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง “สุขภาพในอนาคต” จุดประสงค์การเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน 1. รับรู้โอกาสเสี่ยงในการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หากมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม 2. รับรู้ความรุนแรงของโรค เมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หากมีพฤติกรรมการบริโภค ที่ไม่เหมาะสม 3. เชื่อมั่นในความสามารถของตนเองในการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 4. มีสิ่งชักนำสู่การปฏิบัติเพื่อนำไปสู่การมีพฤติกรรมบริโภคเพื่อป้องกันไม่โรคติดต่อเรื้อรัง 19
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ดู VDO ชุด “เมื่อสุขภาพเสียไป” 2. เชื่อมโยง VDO เข้าสู่บทเรียน 20
ขั้นกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ดู VDO ชุด “ความสำคัญของการมีสุขภาพดี 2. สนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ VDO 3. ทำใบงาน “สุขภาพในอนาคต” 4. ทำใบงาน “มาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกันเถอะ” 21
ขั้นสรุป 1. สรุปบทเรียน 2. นำใบงานไปทำเป็นการบ้าน 22 - ความสำคัญของสุขภาพ - ปัจจัยกำหนดสุขภาพ - พฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม 2. นำใบงานไปทำเป็นการบ้าน 22
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง “อ่านฉลากสักนิด พิชิตสุขภาพดี” แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง “อ่านฉลากสักนิด พิชิตสุขภาพดี” จุดประสงค์การเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน 1. มีความรู้เกี่ยวกับการอ่านฉลากอาหาร ฉลากโภชนาการ ฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) และสัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” 2. สามารถใช้ประโยชน์จากส่วนประกอบต่าง ๆ ของฉลากอาหาร ฉลาก โภชนาการ ฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) และสัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” 23
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. สุ่มใบงานเพื่อสนทนา 2. นำฉลากประเภทต่างๆในผลิตภัณฑ์ให้ นักเรียนดู 3. สนทนาและเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน 24
ขั้นกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ใช้สื่อชุด “อ่านฉลากสักนิด พิชิตสุขภาพดี” 2. สนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับฉลากประเภท ต่างๆ และประโยชน์ในชีวิตประจำวัน 3. เล่นเกม “Lab กริ๊งฉลากอาหาร” 25
ขั้นสรุป 1. สรุปบทเรียน - ฉลากประเภทต่างๆ - เหตุผล ความจำเป็น ประโยชน์จากฉลาก 2. ให้การบ้านสร้างสื่อชุด “อ่านฉลากสักนิด พิชิตสุขภาพดี” และเผยแพร่ให้เพื่อนๆ ทราบในช่องทางที่นักเรียนสื่อสารกับเพื่อน 26
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง “ฉลาดบริโภค โรคไม่ถามหา” แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง “ฉลาดบริโภค โรคไม่ถามหา” จุดประสงค์การเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน 1. รับรู้โอกาสเสี่ยงของการบริโภคขนมกรุบกรอบ อาหารใส่สี อาหารทอด และน้ำอัดลม 2. รับรู้ความรุนแรงของการบริโภคขนมกรุบกรอบ อาหารใส่สี อาหารทอด และน้ำอัดลม 3. ลดการรับรู้อุปสรรคจากการบริโภคขนมกรุบกรอบ อาหารใส่สี อาหารทอด และ น้ำอัดลม 4. เชื่อมั่นในความสามารถของตนเองในการลดการบริโภคขนมกรุบกรอบ อาหารใส่สี อาหารทอด และน้ำอัดลม 27
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. สนทนาเรื่องสื่อที่นักเรียนพัฒนาขึ้น 2. ดู VDO ชุด “มันมากับอาหาร” 28
ขั้นกิจกรรมการเรียนการสอน 1. สนทนาและอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับ VDO 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอธิบายเกี่ยวกับวิธีการหลักเลี่ยง ปฏิเสธ การบริโรคอาหารไม่ปลอดภัย 3. ครูเน้นย้ำเรื่องพิษภัยเกี่ยวกับการบริโภค อาหารที่ไม่ปลอดภัย 29
ขั้นสรุป 1. สรุปบทเรียน - พิษภัยจากจากการบริโภคอาหารไม่ปลอดภัย 2. กระตุ้นและให้กำลังใจเรื่องการปฏิบัติตัวในการลด/หลีกเลี่ยงการบริโภค 3. มอบหมายในการจัดทำ “สุสานอาหารไม่ปลอดภัย” 30
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง “บริโภคอย่างนี้สิ ดีต่อสุขภาพ” แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง “บริโภคอย่างนี้สิ ดีต่อสุขภาพ” จุดประสงค์การเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน 1. มีพฤติกรรมการอ่านฉลากอาหาร ฉลากโภชนาการ ฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) และสัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” 2. มีพฤติกรรมการใช้ประโยชน์จากข้อมูลบนฉลากอาหาร ฉลากโภชนาการ ฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) และสัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” 3. มีพฤติกรรมการหลีกเลี่ยง หรือลดการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย 31
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสนทนากับนักเรียนเรื่องการเตรียมการ นำเสนอและข้อตกลงต่างๆ ในการทำกิจกรรม “สุสาน อาหารไม่ปลอดภัย” 32
ขั้นกิจกรรมการเรียนการสอน 1. นักเรียนนำเสนอ “สุสาน อาหารไม่ปลอดภัย” 2. ครูใช้สื่อชุด “บริโภคอย่างนี้สิ ดีต่อสุขภาพ” 3. สนทนาเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมในสื่อที่นักเรียนดู 4. ครูสรุปแนวคิดเพื่อให้นักเรียนนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 33
ขั้นสรุป 1. ใช้สื่อ “อ่าน งด ลด ทำ” 2. ทำใบงานความประทับใจ และสุ่มนักเรียนเพื่อให้ออกมาเล่าประโยชน์และความประทับใจที่ได้รับ 3. ชมเชยและให้กำลังใจนักเรียน 34
สาธิตการจัดกิจกรรม ตามรายละเอียดของแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป (โปรแกรม Flash) 35
วัสดุอุปกรณ์ที่โรงเรียน อย.น้อย จะได้รับ 1. คู่มือครูในการดำเนินการการพัฒนาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) 2. โปรแกรมสำเร็จรูปในการจัดการเรียนรู้ (โปรแกรม Flash) 36
ส่วนประกอบของ Folder ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ โปรแกรมสำเร็จรูป ในการจัดการเรียนรู้ 37
ส่วนประกอบของ Folder ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ครูเปิดใช้โปรแกรม Flash เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละครั้ง โปรแกรมสำเร็จรูป ในการจัดการเรียนรู้ Folder อื่นๆ เพื่อใช้ในการเตรียมการและประกอบ การจัดการเรียนรู้ 38
ขั้นตอนการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการจัดการเรียนรู้ (ต่อ) click ที่ ไฟล์ main 39
ขั้นตอนการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการจัดการเรียนรู้ (ต่อ) จะพบหน้าต่างเล็ก ๆ ปรากฏบนหน้าจอ ให้ click Run เพื่อเข้าสู่หน้าจอหลักของโปรแกรมสำเร็จรูปในการจัดการเรียนรู้ 40
ตัวอย่างหน้าจอหลักในแผนการจัดการเรียนรู้ 41
ตัวอย่างหน้าจอในส่วนกิจกรรมการเรียนการสอน 42
ตัวอย่างหน้าจอในส่วนเคล็ดลับสำหรับครู 43
ตัวอย่างหน้าจอในส่วนของแบบฝึกหัด 44
ประสบการณ์ในการดำเนินการที่ผ่านมา 45
จุดแข็ง กิจกรรมการเรียนการสอนมีความหลากหลาย เปลี่ยนแปลงไปแต่ละสัปดาห์ มีกิจกรรมเสริมการเรียนการสอน (การพัฒนาสื่อ สิ่งประดิษฐ์) ซึ่งนักเรียนจะได้ พัฒนากระบวนการคิด และสัมพันธภาพระหว่างบุคคล มีกิจกรรมการเสริมแรงโดยการใช้เทคนิคต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ครูผู้จัดกระบวนการเรียนรู้ มีความกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเอง (ทั้งที่มาจากตนเอง และมาจากการสนับสนุนจากทีมวิจัย อย.) 46
จุดที่ควรพึงระวัง ระยะเวลาในการจัดการเรียนรู้สั้น (50 นาที) จึงต้องมีการบริหาร จัดการเวลาเป็นอย่างดี (การเปลี่ยนคาบเรียน, กิจกรรมเยอะ) การทำชิ้นงานของนักเรียน ยังเป็นตามตัวอย่างที่ครูนำเสนอหรือ ยกตัวอย่าง (ทั้งชิ้นงานในใบงาน การพัฒนาสื่อ และ ชิ้นงานสุสาน อาหารไม่ปลอดภัย) 47
ผู้จัดการเรียนการสอน บุคลิกลักษณะของ ผู้จัดการเรียนการสอน 48
บุคลิกลักษณะของผู้จัดการเรียนการสอน เป็นบุคคลที่มีความเป็นกันเองต่อนักเรียน (Friendly) เป็นบุคคลที่สร้างความผ่อนคลายแก่นักเรียน (Relax) เป็นบุคคลที่ช่วยเสริมสร้างความเชื่อมั่นในความสามารถของ ตนเองให้แก่นักเรียน (Self-Efficacy) 49
บุคลิกลักษณะของผู้จัดการเรียนการสอน (ต่อ) เป็นบุคคลที่นักเรียนมั่นใจที่จะปลอดภัยในความลับ (Secure) เป็นบุคคลที่สร้างท้าทายให้แก่นักเรียน (Challenge) เป็นบุคคลที่สร้างความสนุกและความสุขใจให้แก่นักเรียน (Enjoy) 50