โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
ณ 31 พฤษภาคม
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
ตรวจการสหกรณ์ ปกติ เจ้าภาพ กจส./ กลุ่มส่งเสริม ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ผู้ตรวจการ 1 ติดตามประเมินผล รวบรวมรายงาน.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
สร้างชุมชน เข้มแข็ง ด้วยเครื่องมือแผน ชุมชน นายอาจณรงค์ สัตยพานิช ผู้อำนวยการสำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน แบบบูรณาการ จังหวัดราชบุรี ประจำปีงบประมาณ 2559.
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี. สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี ลำ ดับ หลักสูตร คน : รุ่น ว / ด / ป ที่ ดำเนินการ 1.ข้าราชการใหม่40.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ทำงานให้สำเร็จและมีความสุข
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
ตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปี 2560
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ผลการปฏิบัติงาน กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2561
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
โครงการประจำปีงบประมาณ 2559
แนวทางการดำเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดบุรีรัมย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมการดำเนินงานศูนย์จัดการ กองทุนชุมชน กิจกรรมย่อยที่ 1 พัฒนากลไกการขับเคลื่อน ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน กิจกรรมย่อยที่ 2 ส่งเสริมการบริหารจัดการหนี้และ หนุนเสริมสัมมาชีพ

ประกอบด้วย 4 โครงการ ดังนี้ กิจกรรมย่อยที่ 1 พัฒนากลไกการขับเคลื่อน ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ประกอบด้วย 4 โครงการ ดังนี้ ประชุมเชิงปฏิบัติการตรวจสุขภาพทางการเงินกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 1.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความรู้ ความเข้าใจการตรวจสุขภาพ ทางการเงินกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต วัตถุประสงค์ : เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตให้มีการบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาลโปร่งใส ตรวจสอบได้ วิธีการ แต่งตั้งทีมตรวจสุขภาพจังหวัดทีมละ 3 คน (เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนจังหวัด/อำเภอ และคณะกรรมการเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต)

กลุ่มเป้าหมาย : ทีมตรวจสุขภาพทางการเงิน จำนวน 40 คน หน่วยดำเนินการ : สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พื้นที่ดำเนินการ : สถานที่เอกชนในเขตพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์ ระยะเวลาดำเนินการ : ไตรมาส 1 (พฤศจิกายน 2561) จำนวน 1 วัน ข้อปฏิบัติสำหรับอำเภอ - ทบทวน ตรวจสอบ คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตระดับอำเภอ ว่าหมดอายุแล้วหรือไม่ หากหมดอายุแล้ว ให้ดำเนินการแต่งตั้งขึ้นใหม่ แล้วส่งสำเนาคำสั่งให้จังหวัด

กิจกรรมย่อยที่ 1 พัฒนากลไกการขับเคลื่อน ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ประชุมเชิงปฏิบัติการตรวจสุขภาพทางการเงินกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 1.2 เวทีส่งเสริมการตรวจสุขภาพทางการเงินกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต วิธีการ 1. ทีมตรวจสุขภาพระดับจังหวัด (ทีมละ 3 คน) ดำเนินการจัดเวทีการตรวจสุขภาพทางการเงินกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตตามเกณฑ์ที่กรมฯ กำหนด 2. ทีมตรวจสุขภาพฯ สรุปผลตามแบบรายงานที่กรมฯ กำหนด (ภายใน 1 สัปดาห์หลังจากดำเนินกิจกรรมเสร็จสิ้น)

กลุ่มเป้าหมาย : คณะกรรมการและสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จำนวน 694 กลุ่มๆละ 10 คน หน่วยดำเนินการ : สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พื้นที่ดำเนินการ : พื้นที่ตั้งที่ทำการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระยะเวลาดำเนินการ : ไตรมาส 1 (ธันวาคม 2561) จำนวน 1 วัน

ประกอบด้วย โครงการ ดังนี้ กิจกรรมย่อยที่ 1 พัฒนากลไกการขับเคลื่อน ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ประกอบด้วย โครงการ ดังนี้ 2. รักษามาตรฐานการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต วัตถุประสงค์ : เพื่อรักษามาตรฐานการบริหารจัดการการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตตามหลักธรรมาภิบาล วิธีการ 1.ทบทวนแผนการพัฒนากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ที่ได้รับงบประมาณตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560-2561 (กิจกรรมการพัฒนากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตสู่ระดับมาตรฐาน SMART Saving Group) *** บุรีรัมย์มีเป้าหมาย 65 กลุ่ม 2. จัดทำแผนการจัดเวทีประเมินผลการพัฒนากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

กลุ่มเป้าหมาย : คณะกรรมการและสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 3. จัดเวทีประเมินผลการพัฒนากลุ่มฯ กลุ่มละ 12 คน โดยใช้หลักเกณฑ์การแยกประเภทเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 10 ข้อเป็นเครื่องมือในการประเมินผลฯ 4. จากข้อ 3 กลุ่มฯ ที่ยังไม่ผ่านการประเมินฯ ให้จัดทำแผนและดำเนินการพัฒนาในข้อที่ยังไม่ผ่าน กลุ่มเป้าหมาย : คณะกรรมการและสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จำนวน 65 กลุ่มๆละ 12 คน หน่วยดำเนินการ : สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พื้นที่ดำเนินการ : พื้นที่ตั้งที่ทำการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระยะเวลาดำเนินการ : ไตรมาส 1 (ธันวาคม 2561) จำนวน 1 วัน

กิจกรรมย่อยที่ 1 พัฒนากลไกการขับเคลื่อน ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน 3. เพิ่มศักยภาพคณะกรรมการโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) วัตถุประสงค์ : เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทบทวนการดำเนินงานโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) ให้เป็นไปตามแนวทางที่กรมฯ ส่งเสริมสนับสนุน และสามารถปฏิบัติตามระเบียบฯ ที่กำหนดไว้ วิธีการ คัดเลือกคณะกรรมการ กข.คจ. หมู่บ้าน ที่มีการประเมินผลการพัฒนากิจกรรมหมู่บ้าน กข.คจ. ในระดับที่ 3 (ปี 2561) * บุรีรัมย์มีฐานข้อมูล 623 หมู่บ้าน โดยให้คัดเลือกครอบคลุมในพื้นที่หลายๆหมู่บ้านๆละ 1-3 คน

กลุ่มเป้าหมาย : คณะกรรมการ กข.คจ. อำเภอๆละ 13 คน หน่วยดำเนินการ : สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ พื้นที่ดำเนินการ : พื้นที่ตั้งที่ทำการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระยะเวลาดำเนินการ : ไตรมาส 1 (ธันวาคม 2561) จำนวน 1 วัน

กิจกรรมย่อยที่ 1 พัฒนากลไกการขับเคลื่อน ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน 4. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตสู่ระดับมาตรฐาน SMART Saving Group วัตถุประสงค์ เพื่อให้กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตได้รับการพัฒนาสู่ระดับมาตรฐานและมีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล วิธีการ จังหวัดและอำเภอร่วมกันพิจารณาคัดเลือกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มีผลการประเมินการจัดระดับการพัฒนาอยู่ในระดับ 2-3 ที่ยังไม่ดำเนินการเข้าสู่กระบวนการฯ และพร้อมจะเข้าสู่กระบวนการพัฒนา

กลุ่มเป้าหมาย : คณะกรรมการและสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตกลุ่มละ 12 คน (จำนวน 45 กลุ่ม) หน่วยดำเนินการ : สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ พื้นที่ดำเนินการ : พื้นที่ตั้งที่ทำการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระยะเวลาดำเนินการ : ไตรมาส 2 (มกราคม 2562) จำนวน 1 วัน

ประกอบด้วย 4 โครงการ ดังนี้ กิจกรรมย่อยที่ 2 ส่งเสริมการบริหารจัดการหนี้และ หนุนเสริมสัมมาชีพ ประกอบด้วย 4 โครงการ ดังนี้ 2.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนการบริหารจัดการหนี้ วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจแนวทางการดำเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชนแก่ผู้ขับเคลื่อนการดำเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ให้สามารถขับเคลื่อนการบริหารจัดการหนี้ไปสู่ 1 ครัวเรือน 1 สัญญา 2. เพื่อพัฒนาและสร้างกระบวนการเรียนรู้แก่ผู้ขับเคลื่อนการดำเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชนในเรื่อง การบริหารจัดการหนี้ไปสู่ 1 ครัวเรือน 1 สัญญา

กิจกรรมย่อยที่ 2 ส่งเสริมการบริหารจัดการหนี้และ หนุนเสริมสัมมาชีพ กลุ่มเป้าหมาย : 184 คน ประกอบด้วย 1. เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนอำเภอ ๆละ 1 คน = 23 คน 2. คณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชน อำเภอละ 3 คน = 69 คน 3. คณะทำงานกองทุนชุมชน อำเภอละ 2 คน = 46 คน 4. คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต อำเภอละ 1 คน = 23 คน 5. คณะกรรมการโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) อำเภอละ 1 คน = 23 คน หน่วยดำเนินการ : สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พื้นที่ดำเนินการ : สถานที่เอกชนในเขตพื้นที่จังหวัด ระยะเวลาดำเนินการ : ไตรมาส 1 (พฤศจิกายน 2561) จำนวน 1 วัน

กิจกรรมย่อยที่ 2 ส่งเสริมการบริหารจัดการหนี้และ หนุนเสริมสัมมาชีพ 2.2 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบริหารจัดการหนี้ “สำนึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ด้านการเงินในการบริหารจัดการหนี้และ สร้างวินัยทางการเงินให้แก่ประชาชน 2. เพื่อส่งเสริมการบริหารจัดการหนี้ไปสู่ 1 ครัวเรือน 1 สัญญา

กิจกรรมย่อยที่ 2 ส่งเสริมการบริหารจัดการหนี้และ หนุนเสริมสัมมาชีพ กลุ่มเป้าหมาย : ครัวเรือนเป้าหมายที่เป็นหนี้ที่ได้รับการคัดเลือกและ ลงทะเบียนครัวเรือนกับคณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุน ชุมชนแห่งละ 30 คน หน่วยดำเนินการ : สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ พื้นที่ดำเนินการ : พื้นที่ตั้งของศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ระยะเวลาดำเนินการ : ไตรมาส 2 (กุมภาพันธ์ 2562) จำนวน 3 วัน ประกอบด้วย อำเภอเมืองบุรีรัมย์(2) อำเภอกระสัง อำเภอชำนิ อำเภอนาโพธิ์ อำเภอนางรอง(2) อำเภอโนนสุวรรณ อำเภอพลับพลาชัย (2) อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ อำเภอประโคนชัย อำเภอปะคำ อำเภอพุทไธสง(2) อำเภอละหานทราย อำเภอลำปลายมาศ (2) อำเภอสตึก อำเภอหนองกี่ อำเภอห้วยราช และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ รวม 22 แห่ง

ข้อสังเกต : ฐานข้อมูลลูกหนี้อำเภอไม่เป็นปัจจุบัน กิจกรรมย่อยที่ 2 ส่งเสริมการบริหารจัดการหนี้และ หนุนเสริมสัมมาชีพ ระยะเวลาดำเนินการ : ไตรมาส 3 (เมษายน 2562) จำนวน 3 วัน ได้แก่อำเภอหนองหงส์ อำเภอบ้านด่าน อำเภอแคนดง อำเภอคูเมือง อำเภอบ้านกรวด และอำเภอโนนดินแดง รวม 6 แห่ง ข้อสังเกต : ฐานข้อมูลลูกหนี้อำเภอไม่เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมย่อยที่ 2 ส่งเสริมการบริหารจัดการหนี้และ หนุนเสริมสัมมาชีพ 2.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการบริหารจัดการทุนชุมชนและการพัฒนาอาชีพหมู่บ้านทุนชุมชนขยายผลตามแนวพระราชดำริ วัตถุประสงค์ : เพื่อส่งเสริมให้หมู่บ้านทุนชุมชนได้น้อมนำแนวพระราชดำริมาปรับใช้ในการพัฒนาทุนชุมชนของหมู่บ้านและการพัฒนาอาชีพ สามารถบริหารจัดการทุนชุมชน บูรณาการทุนชุมชนให้เหมาะสมเกิดประโยชน์กับพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรมย่อยที่ 2 ส่งเสริมการบริหารจัดการหนี้และ หนุนเสริมสัมมาชีพ วิธีการ จังหวัดคัดเลือกพื้นที่เป้าหมายในหมู่บ้านโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จำนวน 1 หมู่บ้าน - ส่งเสริมการบริหารจัดการทุนชุมชนและการพัฒนาอาชีพหมู่บ้านทุนชุมชนโดยการวิเคราะห์ทุนชุมชน เพื่อคัดเลือกกิจกรรมแก้ปัญหาของชุมชน เพื่อส่งเสริมพัฒนากลุ่มอาชีพภายใต้โครงการอันเนื่องมากจากพระราชดำริ 8 ด้าน มาปรับใช้ กลุ่มเป้าหมาย : ผู้นำหมู่บ้าน กลุ่ม/องค์กร เครือข่ายในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จำนวน 30 คน หน่วยดำเนินการ : สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ พื้นที่ดำเนินการ : พื้นที่ตั้งโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ระยะเวลาดำเนินการ : ไตรมาส 1 (ตุลาคม 2561-ธันวาคม 2561) จำนวน 2 วัน

กิจกรรมย่อยที่ 2 ส่งเสริมการบริหารจัดการหนี้และ หนุนเสริมสัมมาชีพ 2.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการดำเนินงานธุรกิจชุมชน วัตถุประสงค์ : เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต สามารถหนุนเสริมธุรกิจชุมชน

กิจกรรมย่อยที่ 2 ส่งเสริมการบริหารจัดการหนี้และ หนุนเสริมสัมมาชีพ วิธีการ จังหวัดคัดเลือกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่ดำเนินงานตามแนวทางของกรมฯ ที่เข้มแข็ง ดำเนินการครบตามหลักเกณฑ์ 10 ข้อ และมีแผนในการดำเนินกิจกรมเครือข่ายธุรกิจชุมชน จำนวน 1 กลุ่ม - ดำเนินการจัดเวทีค้นหาศักยภาพ และจัดทำโครงการขอรับการสนับสนุนการดำเนินงานเสนอจังหวัด เพื่ออนุมัติ กลุ่มเป้าหมาย : คณะกรรมการและสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จำนวน 40 คน หน่วยดำเนินการ : สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พื้นที่ดำเนินการ : พื้นที่ตั้งที่ทำการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระยะเวลาดำเนินการ : ไตรมาส 1 (ธันวาคม 2561) จำนวน 1 วัน