สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PMQA Organization 2 รหัสแนวทางการดำเนินการ การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ IT1 ส่วนราชการต้องมีระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ.
Advertisements

1 การดำเนินการ โครงการยกระดับคุณภาพการ ให้บริการประชาชน.
แผนงานโครงการ หน่วยศึกษานิเทศก์ ผล ปีงบประมาณ 2558 แผน ปีงบประมาณ 2559.
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
สรุปผลการนำเสนอแผนงานโครงการ ของ คปสอ. ปีงบประมาณ 2557.
การจัดการการดูแล (Care Management) นางอุไลวรรณ์ ไขสังเกต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
โครงการสำคัญ ปี 2556 สำนักส่งเสริมสุขภาพ
  การสนับสนุนการดำเนินงาน LTC ผ่าน "ศูนย์" ตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ.
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ.
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
เป้าหมาย SP สุขภาพจิต # ดูแลตนเองได้ # ครอบครัว/ชุมชน #ลดความรุนแรง
การดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ตำบลจัดการสุขภาพ.
สรุปตรวจราชการรอบ 2 วันที่ 3 ส.ค.2561 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน สคร.5 เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2558
การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน กลุ่มวัยเรียน
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ นโยบาย พรบ 08/04/62
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
Promoter - Supporter -Coordinator-Regulator
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
ผลการดำเนินงาน สิ่งที่ค้นพบ
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
การบริหารและขับเคลื่อน
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
แผนงานปี 2561 กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
การใช้โปรแกรม Care Manager เพื่อช่วย Care manager ในการบริหารจัดการ
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
ข้อมูลการระดมความคิดเห็นต่อ การเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท แผน ข
PA Mother & Child Health
แผนงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ภายหลังปี 2558 ( )
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
สรุปผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
รายงานผลการจัดการความรู้ ปี ……… ระดับส่วนงาน ระดับบุคคล ชื่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ ๑/๒๕๖๐ เขตสุขภาพที่ ๗ ร้อยแก่นสารสินธุ์ วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๖๐ คณะที่ ๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ

KPI 1 : อัตราส่วนการตายมารดา (0) นวัตกรรม จ.ร้อยเอ็ด : อ.พนมไพร ใช้สมุนไพรประคบเต้านมมารดาหลังคลอด จ.กาฬสินธุ์ : อ.ยางตลาด กระเป๋ามหัศจรรย์ ใช้เยี่ยมบ้าน ใช้ถุงตวงเลือดทุกแห่ง ระบบกลุ่มไลน์ดูแลหญิงตั้งครรภ์เสี่ยงสูงเฉพาะราย จ.ขอนแก่น : รูปแบบแก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ รูปแบบคัดกรองกลุ่มอาการดาวน์ OFI What next 1.พัฒนาศักยภาพ รพ.แม่ข่ายและการส่งต่อ 2.นวตกรรมประเมินการเสียเลือดให้ถูกต้อง 3.บางแห่งขาดยาจำเป็น สารทดแทนเลือด ระบบสำรองเลือด 4. ระบบดูแลหญิงตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในชุมชน, early warning sign 5.พัฒนาการรายงานข้อมูล 1.พัฒนาศักยภาพแม่ข่าย 2.พัฒนาการประเมินการเสียเลือดหรือใช้ถุงตวงเลือดให้ครอบคลุม 3. บริหารจัดการยาจำเป็น สารทดแทนเลือด ระบบสำรองเลือด 4.สื่อสารกับชุมชนด้วยสื่อที่หลากหลาย เรื่องการดูแลหญิงตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในชุมชน, early warning sign 5.พัฒนาศักยภาพบุคลากร/ความเข้าใจในการลงข้อมูล ข้อมูลถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2560 มารดาตาย 1 ราย MMR 6.62

KPI 2 : เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (91.8%) นวัตกรรม จ.มหาสารคาม : รูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการโดยชุมชนมีส่วนร่วม อ.แกดำ OFI What next 1.โรงพยาบาลทุกแห่งพัฒนามาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก 2. โรงเรียนพ่อแม่ยังไม่เป็นรูปธรรมครอบคลุมทุกพื้นที่ 3.การลงข้อมูลในโปรแกรม ไม่ทันเวลา ส่งออกไม่ทัน ทำให้ผลงานในระบบต่ำกว่าความจริง 1. บูรณาการขับเคลื่อนกับแผนงานปกติให้ได้มาตรฐานทั้งการบริการและเครื่องมืออุปกรณ์ 2. เสริมพลังและ coaching การทำงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กในพื้นที่ต่อเนื่อง 3.พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการบันทึกข้อมูล ทำความเข้าใจให้ตรงกันทุกสถานบริการ 4.ติดตามเด็กสงสัยพัฒนาการล่าช้าและล่าช้าให้ครอบคลุมและต่อเนื่อง ทารกแรกเกิดน้าหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมร้อยละ 8.5 อัตราการขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด 29.3 : 1,000 การเกิดมีชีพพบทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ากว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียวร้อยละ 69.44 เป็นระบบรายงานผู้รับบริการที่ walk in จึงมีความแตกต่างจากผลสารวจมาก

KPI 3 : เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดี สมส่วน (54.46 %) นวัตกรรม กาฬสินธุ์ : อ.ยางตลาด กระเป๋ามหัศจรรย์ ใช้เยี่ยมบ้าน ไม้ทีชี้ความยาว ถุงผ้าขาวม้าห่อตัวเด็กชั่งน้ำหนัก OFI What next 1.โรงพยาบาลทุกแห่งพัฒนามาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก 2. ความครอบคลุมของชุดสิทธิประโยชน์ เน้น ยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก 3. การลงข้อมูลในโปรแกรม 1. บูรณาการขับเคลื่อนกับแผนงานปกติให้ได้มาตรฐานทั้งการบริการและเครื่องมืออุปกรณ์ ส่งเสริมให้ทุกโรงพยาบาลพัฒนามาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก 2.ทำแผนรองรับ พรบ. Code นม 3.รณรงค์ ไข่ โดด นม นอน สอนเด็กแปรงฟัน 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากร/ความเข้าใจในการลงข้อมูล ข้อมูลถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2560 มารดาตาย 1 ราย MMR 6.62

KPI 4 : เด็กวัยเรียน สูงดี สมส่วน (66%) ร้อยละเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วนเขตสุขภาพที่ 7 นวัตกรรม จ.มหาสารคาม: 1. buddy คู่หูอำเภอ ร.ร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 2.เครือข่ายร.ร.ส่งเสริมสุขภาพระดับ เพชร อ.วาปีปทุม/โกสุมพิสัย/นาเชือก จ.ร้อยเอ็ด : ชมรมร.ร.ส่งเสริม สุขภาพระดับเพชร อ.เสลภูมิ จ.กาฬสินธุ์ : ร.ร.3 ดี “เด็กดี สุขภาพดี ปัญญาดี” ขอนแก่น : การควบคุมป้องกันโรค โลหิตจางจากขาดธาตุเหล็ก OFI What next 1.ระบบการคัดกรองเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง/ ส่งต่อเข้าคลินิก DPAC ไม่ชัดเจน ไม่มี ระบบรายงานการคัดกรองส่งต่อ 2.เจ้าหน้าที่คลินิก DPAC ยังขาดทักษะการให้บริการแก้ไขปัญหาเด็กอ้วน 3. จ.กาฬสินธุ์/ขอนแก่น พบเด็กเตี้ยมากในบางอำเภอ 1.จัดระบบคัดกรองส่งต่อเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง จากร.ร.ไปสู่สถานบริการ/มีระบบติดตามประเมินผลและเสริมพลังอย่างต่อเนื่อง /ประสานผู้ปกครองเพื่อร่วมมือแก้ไขปัญหา 2.พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่คลินิก DPAC เพื่อให้บริการเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง 3. ค้นหาสาเหตุและวางแผนแก้ไขเป็นรายอำเภอ เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วนภาพรวมเขตอยู่ที่ร้อยละ 68.99 ซึ่งบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ร้อยละ 66 ทุกจังหวัดดำเนินการได้เกินเป้าหมายยกเว้น จังหวัดกาฬสินธุ์ สิ่งที่พบจากการตรวจเยี่ยม 1. ระบบการคัดกรองเด็กอ้วน การส่งต่อเข้าคลินิก DPAC ไม่ชัดเจนไม่มีระบบรายงาน และเจ้าหน้าที่คลินิก DPAC ขาดทักษะการให้บริการแก้ไขเด็กอ้วน ที่ต้องดำเนินการต่อคือ จัดระบบคัดกรอง มีการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง ประสานผู้ปกครองขอความร่วมมือช่วยแก้ไขปัญหาและจัดอบรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่คลินิก DPAC นอกจากนี้ยังพบว่าจังหวัดกาฬสินธุ์และขอนแก่น มีบางอำเภอมีเด็กเตี้ยค่อนข้างมาก จึงควรค้นหาสาเหตุและวางแผนการแก้ไขปัญรายอำเภอ นวัตกรรมเด่นจ.มหาสารคามได้แก่ buddy คู่หูร.ร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร จ.ร้อยเอ็ดและสารคามมีเครือข่าย/ชมรมอำเภอร.ร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร จ.กาฬสินธื มีร.ร. 3 ดี และขอนแก่น มีการจัดระบบการป้องกันโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก

KPI 5 : เด็กอายุ 0-12 ปี ฟันดี ไม่มีผุ ≥ 52% ผลงาน 3 เดือน ขอขอบคุณงบประมาณ Service plan เขตสุขภาพที่ 7 ศูนย์อนามัยที่ 7 และ สสจ.ขอนแก่น ในการจัดประชุมแก้ปัญหาปัญหาฟันผุในเด็กเล็กและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 7 ปีงบประมาณ 2560 ในปี 2560 (3 เดือน) พบว่า เด็ก 12 ปีฟันดีไม่มีผุ ร้อยละ 72.61 เด็ก 12 ปี และเด็ก 6-12 ปี ได้รับบริการทันตกรรมร้อยละ 32.52 มีการให้บริการสูงในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น และกาฬสินธุ์ ซึ่งข้อมูลการให้บริการทันตกรรมยังไม่สูงมากเพราะจะมีการให้บริการในช่วงเปิดเทอมเดือนพฤษภาคม 2560 โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม ลูกอม ขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของน้ำตาลเกิน 5% ร้อยละ 74.42 เกิดเครือข่ายการแปรงฟันคุณภาพในเด็กเล็ก เขตสุขภาพที่ 7

Best Practices Problem Suggestion มีเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี ระดับประเทศ ปี 2559 อ.โพนทอง อ.น้ำพอง อ.ห้วยเม็ก มีผู้สูงวัยฟันดีวัย 80 ปี 90 ปี ระดับประเทศ ปี 2559 จ.ขอนแก่น จ.กาฬสินธุ์ และ จ.ร้อยเอ็ด ขอนแก่น จัดทำแนวทางการปฏิบัติงานบริการทันตกรรมของเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข กาฬสินธุ์ จัดทำมาตรฐานแนวทางการดูแลรักษาทันตกรรมในเด็กและการส่งต่อของจังหวัด มหาสารคามมีหนังสือเล่มเล็ก “ลดหวาน ลดฟันผุ” ในระดับประถมและมัธยมศึกษา ร้อยเอ็ด สนับสนุนงบประมาณจ้างผู้ช่วยข้างเก้าอี้ใน รพ.สต.ที่มีทันตาภิบาลทุกแห่ง Problem ขาดแคลนทันตาภิบาล และทพ.เฉพาะทาง และไม่มีทันตแพทย์ประจำ สสจ. กาฬสินธุ์ ขาดผู้ช่วยทันตกรรมใน รพ.สต. ที่มีทันตาภิบาล Suggestion ควรจัดงบจ้างผู้ช่วยทันตกรรมใน รพ.สต. ที่มีทันตาภิบาลและสนับสนุนครุภัณฑ์ ควรรสนับสนุนทันตาภิบาลที่จบปริญญาตรี ให้ได้รับค่าตอบแทนตามเกณฑ์ที่เหมาะสม และมีนโยบายให้ทันตาภิบาลที่เปลี่ยนสายงานเป็น นวก.สาธารณสุขรับผิดชอบงานทันตสาธารณสุขด้วย

KPI 6 : อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี (≤42/พันประชากร) ตด. -ธค ผลงานเด่น ร้อยเอ็ด : To Be No 1, หลักสูตร วัยรุ่นวัยใสไม่เสพไม่ท้อง, รร.เครือข่ายต้นแบบ กาฬสินธุ์ : ยุทธศาสตร์จังหวัดกาฬสินธุ์ 3 ดี , รร. 3 ดี , DHS ขอนแก่น และ มหาสารคาม : โครงการแก้ปัญหาวัยรุ่น (9 ภารกิจ) OFI What next 1.แผนขับเคลื่อน พรบ.ของ Stakeholder 2.การเข้าถึงบริการด้านองค์ความรู้ การให้การปรึกษา 1.จัดประชุมอนุกรรมการ ตามพรบ. 4 จังหวัด ภายใน เมย.นี้ 2.ประเมินรับรองใหม่/ซ้ำ : อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ และYFHS แบบบูรณาการ 3.จัดเวที ถอดบทเรียน Best Practice จากพื้นที่ต้นแบบ เพื่อเรียนรู้และขยายผล

นวัตกรรม/พื้นที่ต้นแบบLTC KPI 7 : ตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว LTC ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ (50%) นวัตกรรม/พื้นที่ต้นแบบLTC - ทม.เมืองพล จ.ขอนแก่น - ทต.ท่าคันโท จ.กาฬสินธุ์ - ทต.ท่าขอนยาง จ.มหาสารคาม - อบต.หนองตาไก้ จ.ร้อยเอ็ด OFI What next 1.เร่งรัดการจัดทำ Care plan ให้ครอบคลุมผู้สูงอายุ กลุ่มพึ่งพิงพื้นที่LTC 2.บูรณการงานร่วมกับทีมหมอครอบครัวและ 4 กระทรวง สร้างทีมพี่เลียงเพื่อให้คำปรึกษา ในระดับจังหวัด/อำเภอ จัดเวที ลปรร.ในพื้นที่ต้นแบบ . อบรม CM รุ่นที่ 3 จำนวน 106 คน (งบกรมอนามัย 766,000 บาท)

ข คุ บ อ ณ