การสอนควบคู่กับการเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
แนวทางการบริหารงบประมาณ
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
วัตถุประสงค์การจัด นิทรรศการ พุทธพิสัย ความรู้ ความจำ ความเข้าใจ วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินคุณค่า เจตพิสัย ความรู้สึก ความสนใจ อารมณ์ ทัศนคติ ค่านิยม.
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
“ การพัฒนาระบบการวัดและ ประเมินผล เพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ” การอบรมเชิงปฏิบัติการ.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การบริหารหลักสูตร.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
จัดทำโดย นางสาวอริษา ตู้ประทุม ช้นปีที่3
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
การนำเสนอผลงานการวิจัย
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสอนควบคู่กับการเรียน การอ่านคิด วิเคราะห์ เขียนสื่อความหมาย คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน กลุ่มสาระ การเรียนรู้ 8 สาระ กำหนด ผลการเรียนรู้ รายข้อ/รายปีหรือภาค ศักยภาพในการอ่าน คิด สรุป สังเคราะห์ สร้างสรรค์ ถ่ายทอด ด้วยการเรียน กำหนด สถานศึกษากำหนด คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ กำหนดเกณฑ์ กิจกรรม/เวลา ขั้นตอน 1.กำหนดมาตรฐาน/ตัวชี้วัด 2.ลักษณะแนวทาง วิธีการประเมิน - การศึกษาค้นคว้ารายงานค่า - ผลงานเชิงประจักษ์ เกี่ยวการอ่าน การคิด วิเคราะห์ การเขียน และการนำเสนอในรูป - การทดสอบ 3.เกณฑ์การตัดสิน 4.แนวทางตัดสิน ประเมิน ผ่าน/ไม่ผ่าน ดีเยี่ยม/ดี/ผ่านเกณฑ์การประเมิน ประเมิน ระหว่างเรียน/รายปี/ ภาคช่วงชั้น ให้ความสำคัญระหว่าง เรียนมากกว่ารายปี ประเมินตาม ความสามารถ สังเกตพัฒนาการและ ความประพฤติ พฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม การสอนควบคู่กับการเรียน แต่งตั้งคณะกรรมการ ครู-ผู้ปกครอง/ชุมชน ประเมิน ผ่าน/ไม่ผ่าน กำหนดกิจกรรม ระหว่างเรียน นอกห้องเรียน ประเมิน ผ่าน/ไม่ผ่าน ประเมิน ดีเยี่ยม/ดี/ควรปรับปรุง/ ผ่านเกณฑ์การประเมิน

การสอนควบคู่กับการเรียน กลุ่มสาระ การเรียนรู้ 8 สาระ กำหนด ผลการเรียนรู้ รายข้อ/รายปีหรือภาค ประเมิน ระหว่างเรียน/รายปี/ ภาคช่วงชั้น ให้ความสำคัญระหว่าง เรียนมากกว่ารายปี ประเมินตาม ความสามารถ สังเกตพัฒนาการและ ความประพฤติ พฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม การสอนควบคู่กับการเรียน

การอ่านคิด วิเคราะห์ เขียนสื่อความหมาย ศักยภาพในการอ่าน คิด สรุป สังเคราะห์ สร้างสรรค์ ถ่ายทอด ด้วยการเรียน ขั้นตอน 1.กำหนดมาตรฐาน/ตัวชี้วัด 2.ลักษณะแนวทาง วิธีการประเมิน - การศึกษาค้นคว้ารายงานค่า - ผลงานเชิงประจักษ์ เกี่ยวการอ่าน การคิด วิเคราะห์ การเขียน และการนำเสนอในรูป - การทดสอบ 3.เกณฑ์การตัดสิน 4.แนวทางตัดสิน ประเมิน ผ่าน/ไม่ผ่าน ดีเยี่ยม/ดี/ผ่านเกณฑ์การประเมิน

คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ กำหนด สถานศึกษากำหนด คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ แต่งตั้งคณะกรรมการ ครู-ผู้ปกครอง/ชุมชน กำหนดกิจกรรม ระหว่างเรียน นอกห้องเรียน ประเมิน ดีเยี่ยม/ดี/ควรปรับปรุง/ ผ่านเกณฑ์การประเมิน

กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน กำหนดเกณฑ์ กิจกรรม/เวลา ประเมิน ผ่าน/ไม่ผ่าน

การ ตัดสิน ผล เรียน ผ่าน ช่วงชั้น ผ่านทุกวิชา 8 กลุ่มสาระ การ ตัดสิน ผล เรียน ผ่าน ช่วงชั้น อ่าน คิด วิเคราะห์ เขียนสื่อความ ผ่าน ผ่าน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ผ่านทุกกิจกรรม

1.การประเมินผลการเรียนตามกลุ่มสาระ การเรียนรู้ 8 กลุ่ม การประเมินผลก่อนการเรียน การประเมินผลระหว่างเรียน การประเมินเพื่อสรุปผลการเรียน

2.การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ลักษณะกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ - กิจกรรมแนะแนว - กิจกรรมนักเรียน แนวทางการดำเนินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนพัฒนาผู้เรียน ผ่านช่วงชั้น

3.การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและประเมิน กำหนดคุณลักษณะของสถานศึกษา - กำหนดแนวทางการพัฒนา - ดำเนินการประเมินรายภาคแต่ละภาค - ประมวลผลการประเมินรายภาค - การแจ้งผลและซ่อมเสริม - การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านช่วงชั้น

4.การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ ขั้นตอนดำเนินการประเมิน แนวทางการประเมินความสามารถทางการอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียนความ ปลายปี แนวทางการประเมินตัดสินการอ่านคิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ ผ่านช่วงชั้น

5.การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ ป.3,ป.6,ม.3,ม.6

การวัดและการประเมินผล หมายถึง กระบวนการต่อเนื่องกัน โดยเริ่มด้วยการวัด แล้วนำผลการวัดไปทำการประเมินตัดสินเกณฑ์และดุลยพินิจต่อไป มีบทบาท และหน้าที่สำคัญ ดังนี้ 1. การวัดและการประเมินผล เป็นองค์ประกอบหนึ่งของระบบการศึกษา 2. การวัดและการประเมินผล เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอน 3. การวัดและการประเมินผล เป็นเครื่องมือประกันคุณภาพทางวิชาการ 4. การวัดและการประเมินผล ทำหน้าที่ตรวจสอบผลการเรียนรู้

1. วัดและประเมินผลสอดคล้องความเป็นจริง (Relevance) 2. วัดและประเมินผลอย่างเป็นระบบ 3. วัดและประเมินผลด้วยเครื่องมือที่ดีมีคุณภาพ

การวัดและประเมินผลเป็นกระบวนการที่เป็นระบบ ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้ ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้ 1. กำหนดวัตถุประสงค์ 6. จัดทำเครื่องมือ 2. กำหนดคุณลักษณะที่จะวัด 7. ดำเนินการวัด 3. กำหนดเครื่องมือหรือวิธีการวัด 8. ตรวจให้คะแนน 4. สร้างเครื่องมือ 9. ประเมินผล 5. ตรวจคุณภาพเครื่องมือ 10. ใช้ผลการวัดและประเมิน

1. ประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ 2. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4. การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน 5. การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (National Test)

1. การประเมินผลก่อนเรียน 2. การประเมินผลระหว่างเรียน 3. การประเมินผลเพื่อสรุปผลการเรียน

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. กิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมนักเรียน

การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีแนวทาง ในการดำเนินงาน ดังนี้ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีแนวทาง ในการดำเนินงาน ดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของสถานศึกษา 2. กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา

เป็นการประเมินศักยภาพของผู้เรียนในการอ่านหนังสือ เอกสารและสื่อต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง คล่องแคล่ว และนำมาคิดสรุปเป็นความรู้ความเข้าใจของตน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์เนื้อหาสาระของเรื่องที่อ่าน ซึ่งนำไปสู่การสังเคราะห์ สร้างสรรค์ และแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ และความสามารถในการถ่ายทอดความคิดเหล่านั้นด้วยการเขียนสื่อความ

การประเมินผลการเรียนระดับชาติ มีลักษณะที่เป็นคุณประโยชน์ดังนี้ 1. ทำให้สามารถเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพระหว่างระดับชั้นเรียนระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับชาติ ตลอดจนการประเมินภายนอก 2. สามารถประเมินได้ทั้งผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการตามหลักสูตรและความถนัดทางการเรียน (Scholastic Aptitude Test : SAT) 3. ส่งเสริมและกระตุ้นให้สถานศึกษาให้ความสนใจอย่างจริงจัง ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ 4. สามารถใช้ผลการประเมินให้เป็นประโยชน์ทั้งในระดับผู้เรียน ระดับชั้นเรียน สถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ 5. สร้างแรงจูงใจกระตุ้นและท้าทายให้ผู้เรียนทุกคนตั้งใจใฝ่หาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 6. เพื่อเป็นข้อมูลสร้างความมั่นใจเกี่ยวกับคุณภาพของผู้เรียนผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา

แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษา 1. ประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ 2. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4. การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน

ความหมายของการประเมินผลการเรียนรู้ การวัดผล หมายถึง การสังเกตหรือการประเมินพฤติกรรมของบุคคลใดบุคคลหนึ่งแล้วกำหนดตัวเลขหรือคะแนนให้กับสิ่งที่วัดตามเกณฑ์ที่กำหนดให้ การประเมินผล หมายถึง กระบวนการพิจารณาตัดสินคุณภาพคุณลักษณะของพฤติกรรม ปริมาณพฤติกรรมว่าเป็นไปตามจุดมุ่งหมายของการสอนหรือไม่

1. ศึกษาพัฒนาการ ความเปลี่ยนแปลงและความพร้อม ในการเรียนของเด็ก 2. วัดพัฒนาการและลักษณะพิเศษของเด็กปฐมวัยในทุกด้าน 3. นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินมาเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมให้กับเด็ก 4. ช่วยให้ทราบถึงความต้องการและลักษณะพิเศษของเด็ก 5. เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเด็กเพื่อรายงานผลให้ผู้ปกครองทราบ

1. ประเมินพัฒนาการทุกด้าน 2. ประเมินอย่างต่อเนื่อง 3. ประเมินหลายๆ ครั้งก่อนสรุปผล 4. ผลการประเมินควรเก็บเป็นความลับ 5. เลือกวิธีการประเมินที่เหมาะสมกับเรื่องที่ประเมิน 6. ควรใช้เครื่องมือที่มีความยาก - ง่ายในระดับเดียวกับพัฒนาการเด็ก 7. เลือกพฤติกรรมที่จะประเมินให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการประเมิน 8. การสรุปผลประเมินต้องมีความเป็นปรนัยไม่ใส่ความรู้สึกเข้าไป 9. การประเมินมิได้มุ่งนำผลการประเมินมาตัดสินการเลื่อนชั้นของเด็ก 10. ปลายปีสุดท้ายของการศึกษาระดับปฐมวัย ครูควรนำผลการประเมินมาพิจารณาตัดสิน ความพร้อมที่จะเลื่อนชั้นไปเรียนในระดับประถมศึกษา

1. ศึกษาและทำความเข้าใจพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงอายุ 2. วางแผนเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือการประเมินให้เหมาะสม กับสิ่งที่ต้องการวัด 3. ดำเนินการประเมินผลและบันทึกพัฒนาการ 4. การประเมินควรประเมินหลายๆ ครั้ง แล้วจึงสรุปผลการประเมิน 5. รายงานผลการประเมินให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ 6. ครูควรยกย่องผู้ปกครองที่พยายามมีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็ก

1. การสังเกต 2. การสัมภาษณ์ 3. แฟ้มสะสมผลงาน 4. แบบประเมินพัฒนาการ 5. แบบทดสอบ 6. การประเมินตามสภาพจริง