กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

1 สำนักงานสหกรณ์จังหวัด อ่างทอง ผลการปฏิบัติงาน ประจำปี งบประมาณ พ. ศ.2555 ข้อมูล ณ เมษายน 2555 ริเริ่มสร้างสรรค์ มุ่งมั่นฟันฝ่า พัฒนาสหกรณ์ Creative Thinking.
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “การปฏิบัติงานด้านการเงิน” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี ๒๕๕๔
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ณ 31 พฤษภาคม
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลป่าสัก อำเภอ เมือง จังหวัดลำพูน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย สุนทร วิเลิศสัก เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Seminar 1-3.
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
บทที่ 4 การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
โครงการประจำปีงบประมาณ 2559
กลุ่มเกษตรกร.
แนวทางการดำเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การประชุมคณะกรรมการความร่วมมือด้านการลงทุนของอาเซียน (CCI) ครั้งที่ ๖๔
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
(สนง. ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ)
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การส่งเสริมและพัฒนาเครือข่าย ศส.ปชต. สู่ความยั่งยืน การส่งเสริมและพัฒนาเครือข่าย ศส.ปชต. สู่ความยั่งยืน ทิศทางการขับเคลื่อน ศส.ปชต. ให้มีความยั่งยืน.
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การขึ้นทะเบียนเกษตรกร คือ
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร หมายถึง การรวมกลุ่มของเกษตรกร เพื่อร่วมกันพัฒนาความรู้ความสามารถทางการเกษตรที่ก่อให้เกิดการพัฒนาอาชีพการเกษตร เหมาะสมสอดคล้องกับสถานการณ์ที่จะส่งผลให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น มีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ พึ่งพาตนเองได้ และ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในการประกอบกิจกรรมด้านการเกษตร 1.2 เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรร่วมกันแก้ไขปัญหาการผลิต การแปรรูป และการตลาด 1.3 เพื่อเป็นศูนย์กลางรับความรู้ในการถ่ายทอดวิชาการไปสู่เกษตรกร 1.4 เพื่อใช้กระบวนการกลุ่มในการพัฒนาเกษตรกรให้มีความมั่นคง ในการประกอบอาชีพ สามารถพึ่งพาตนเองได้

ชื่อของกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร ให้ขึ้นต้นด้วยคำว่า “กลุ่ม” ตามด้วยชื่อกิจกรรมหรือวัตถุประสงค์ของกลุ่ม เช่น - กลุ่มปลูกผัก - กลุ่มฟื้นฟูอาชีพ

โครงสร้างกลุ่ม 1. สมาชิกของกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร คุณสมบัติสมาชิก 1) ประกอบกิจกรรมการเกษตรในตำบลเดียวกันหรือใกล้เคียง 2) มีปัญหา หรือความต้องการคล้ายคลึงกัน 3) มีความสนใจ และเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มด้วยความสมัครใจ

2. คณะกรรมการกลุ่ม ประกอบด้วยอย่างน้อย 3 คน คือ ประธาน เลขานุการ เหรัญญิก หรือตำแหน่งอื่นๆ ตามมติที่ประชุม บทบาทหน้าที่คณะกรรมการ 1) ร่างระเบียบ กฎ ข้อบังคับกลุ่ม โดยความเห็นชอบของสมาชิก 2) จัดให้สมาชิกมาประชุม แสดงความคิดเห็นและวางแผนร่วมกัน 3) ให้บริการแก่สมาชิกด้านต่างๆ เช่น ข้อมูล ข่าวสาร ปัจจัยการผลิต 4) ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

แนวทางการดำเนินงานของกลุ่ม. 1 แนวทางการดำเนินงานของกลุ่ม 1. มีแผนกิจกรรมการแก้ไขปัญหาด้านการเกษตร สนับสนุนเวทีการดำเนินงานร่วมกัน และจัดทำแผนการดำเนินงาน 2. มีการสะสมทุนของกลุ่ม เช่น การรวมหุ้น จัดหาแหล่งทุน 3. พัฒนาความสามารถของสมาชิก เช่น อบรม ศึกษาดูงาน 4. การประชุมกลุ่ม

ข้อบังคับกลุ่ม เป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างสมาชิกและคณะกรรมการ ในการกำหนดวิธีการบริหารจัดการและการดำเนินกิจกรรมกลุ่ม ได้แก่ การระดมหุ้น การดำเนินกิจกรรม การจัดการเงิน ทุน การรับสมาชิกและการลาออก การเลือกตั้งคณะกรรมการ วาระการอยู่ในตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น

การจัดตั้งและการขอใบรับรองการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ 1. การจัดตั้งกลุ่ม อาจเกิดขึ้นภายหลังการจัดเวทีเรียนรู้ หรือปัญหา 2. รวมตัวกัน 10 คนขึ้นไป ยื่นคำร้องต่อเกษตรอำเภอ เอกสารดังนี้ - หนังสือคำขอใบรับรองการจัดตั้งกลุ่มตามแบบฟอร์มกรมฯ - ข้อบังคับหรือข้อตกลง ของกลุ่ม - รายชื่อคณะกรรมการ - บัญชีรายชื่อสมาชิก - แผนงาน/กิจกรรม 3. นสว.ประจำตำบล ตรวจสอบเอกสาร เสนอเกษตรอำเภอ 4. เกษตรอำเภอออกใบรับรองการจัดตั้งกลุ่ม การรายงานการจัดตั้งกลุ่ม อำเภอรายงานจังหวัดตามระบบสารสนเทศ