1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลยางพารา
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
วิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
โครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
วิชาโครงการ รหัส & ระดับ ปวช. และ ปวส.
กระบวนการของการอธิบาย
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
ACCOUNTING FOR INVENTORY
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
ระดับความเสี่ยง (QQR)
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด ผู้จัดทำ Guy Metcalfe.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
แผ่นดินไหว.
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
ความดัน (Pressure).
รูปหลายเหลี่ยมสองรูปที่คล้ายกันมีลักษณะอย่างไรข้อใด มีความยาวของเส้นรอบรูป และมีพื้นที่เท่ากัน มีรูปร่างเหมือนกัน.
ประเภทรายการและรูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
บทที่ 10 วงจรรายได้.
Supply Chain Management
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark Shattuck b นางสาวกอบกาญจน์ เกี๋ยงมะนา

2 บทคัดย่อ การผสมผงมีบทบาทสำคัญหลายด้านในวงการอุตสาหกรรมตั้งแต่ อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมเซรามิกส์และการเหมือง ในที่นี้พวกเราใช้การแยกกันของวัตถุโดยใช้แม่เหล็ก และติดตามการผสมกันอย่างช้าๆในหลอดและเมื่อเราเทียบกับการทดลองในจานหมุน 2 มิติที่มีอนุภาคสีอยู่ ผลที่ได้คือรูปแบบการผสมกันในหลอดมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด ไหลตามแนวแกนไม่แน่นอน จากหลักการทางกายภาพ พวกเราได้ผลว่าขนาดและความหนาแน่นส่งผลที่แตกต่างกันต่อการผสมกันของอนุภาคสี โดยการทดลองเราจะแยกวัตถุที่ใส่ตามแนวแกนในหลอดหมุนช้า

3 บทนำ การผสมและการไหลของวัสดุเม็ดเป็นรูปแบบการผสมที่ไม่แน่นอน แตกต่างจากของเหลว แม้จะมีการแยกและการผสมของของแข็งที่มีบทบาทสำคัญในหลาย ๆ ด้านจากอุตสาหกรรมอาหาร ยา อาหาร เซรามิกส์แต่เราก็ไม่สามารถรู้แน่ชัดได้ว่าการผสมเป็นรูปแบบอย่างไรกันแน่

การทดลองและผลการทดลอง 4 การทดลองและผลการทดลอง วัสดุเม็ดที่เราใช้เป็นสีน้ำตาลหรือสีเหลืองมัสตาร์ด เมล็ดลูกปัดแก้วหรือลูกบอลสีน้ำตาล แก้วและน้ำตาลเป็นทรงกลมเรียบ เมล็ดมัสตาร์ดราบรื่นและเป็นทรงกลม ตารางที่ 1 แสดงขนาดอนุภาคและความหนาแน่น วัสดุจะมีขนาดและความหนาแน่นหลายอัตราส่วน ในส่วนของหลอด เป็นแผ่นกระจกทนความร้อน มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 5 ซม. และยาว 15 ซม.

5 เมล็ดมัสตาร์ดให้สัญญาณ MRI ที่ดี –( เมล็ดเป็นสีขาวในภาพ )- ในขณะที่แก้วและน้ำตาลไม่มีสัญญาณ ในรูปที่ 1a เป็นสภาวะเริ่มต้นในการทดลอง แสดงให้เห็นว่ามีลักษณะตั้งฉากกับแกนยาว ซึ่งมีปริมาณเมล็ดมัสตาร์ตกับลูกบอลที่น้ำตาลเท่ากัน และภาพที่ปรากฏในรูป 1b เมล็ดมัสตาร์ดเป็นสีขาวแต่ลูกบอลสีน้ำตาลไม่ปรากฏในภาพ MRI

6 ภาพการทดลองที่ 2 แสดงรัศมีการแผ่กระจายของวัตถุกับชุดวัตถุที่แตกต่างกันคือ S และ D จากรูปแสดงให้เห็นภาพสไลด์บางๆ ในแนวทแยงมุมที่อยู่ตรงกลางจากเม็ด128 ชิ้นที่ตั้งฉากกับแกนหลอด

7 ภาพการทดลองที่ 2(a) แสดงให้เห็นการผสมกันแบบไม่มีการแยกในหลอด ซึ่งมีมัสตาร์ดสีน้ำตาลและผลึกน้ำตาลอยู่ในปริมาณที่เท่ากัน : S = 1.1± 0.2 , d = 0.8 ± 0.2 หลังจากนั้นหมุนหลอด 8 รอบ เม็ดจะผสมกันเป็นอย่างดีในหลอด

8 ภาพการทดลองที่ 2(b) แสดงให้เห็นถึงการแยกของวัตถุที่มีขนาดใกล้เคียงกันแต่ความหนาแน่นต่างกันโดยใช้ลูกปัดแก้วและมัสตาร์ดสีน้ำตาล : s = 1.1 ± 0.2 , d = 1.4 ± 0.2 โดยที่ลูกปัดแก้วจะไปอยู่ที่ศูนย์กลางของภาชนะ

9 ภาพการทดลองที่ 2 (C) แสดงให้เห็นถึงอัตราส่วนความหนาแน่นและขนาดที่แตกต่างกันเป็นที่น่าแปลกใจที่มันผสมกันและไม่เกิดการแยก แต่ในทางกลับกัน ภาพการทดลองที่ 2 (D) แสดงให้เห็นถึงอัตราส่วนความหนาแน่นเดียวกัน แต่ขนาดแตกต่างกัน คือมัสตาร์ดสีเหลืองขนาดใหญ่และลูกปัดแก้วขนาดเล็ก: s = 0.8 ± 0.1 เกิดการแยกย้ายมัสตาร์ดขนาดใหญ่จะออกด้านนอกและลูกปัดแก้วขนาดเล็กกว่าจะเกิดการแยกจากกันไปอยู่ภายใน

10 สรุป ขนาดของวัตถุและความหนาแน่นนั้นส่งผลต่อการผสมและการแยกกันของวัตถุ โดยการแยกนั้นจะเกิดจากการที่ขนาดและความหนาแน่นต่างกันอย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้าความหนาแน่นใกล้เคียงกันและขนาดของเม็ดต่างกัน อนุภาคและความหนาแน่นที่มีขนาดมากกว่าจะแยกออกมาอยู่ด้านขอบนอกของภาชนะ และการผสมนั้นจะเกิดจากการที่วัตถุมีขนาดและความหนาแน่นต่างกันหรือเหมือนกันทั้งคู่