ตาม ม.40 แห่งประมวลรัษฎากร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
The Vest-Pocket CPA Joel G, Siegel Jae K, Shim Nicky A, Dauber Present by pongsakron hongkrai.
Advertisements

Notes on Macroeconomic Management Bhanupong Thammasat University.
Lecture 6: ทางเลือกแบบมีโครงสร้างซ้อนใน
บทสรุปมาตรฐานการบัญชี สำหรับกรรมการผู้จัดการ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบริษัท.
MK315 Marketing Information System Ch 5 Marketing Research system
จัดในวันที่ 3 ของการอบรม Professional Auditors
TOXICOLOGY - สัตว์ทดลอง (experiment) ๏ acute ๏ sub-acute (sub-chronic)
การบริการการจัดเก็บภาษีสรรพากร
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
L/O/G/O นิพจน์และตัว ดำเนินการ. วัตถุประสงค์ สามารถสร้างนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ได้อย่าง ถูกต้อง อธิบายรายละเอียดของชนิดตัวดำเนินการต่าง.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากรและการบัญชีเกี่ยวกับภาษี
e – Government in Bangkok
บทที่ 7 คอมพิวเตอร์กับงานด้านการเงิน
กิจกรรมที่ 3 คำถาม สเตฟาน เป็น ครูสอนคอมพิวเตอร์ ทำงานใน โรงเรียนบัวแก้ววิทยาลัย สเตฟาน ได้รับคำสั่ง จากผู้บริหาร ให้นำระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยใน การทำงานด้านต่างๆ.
ระบบยื่นชำระภาษีออนไลน์ (น้ำมัน โรงแรม ยาสูบ). ประเภทรายได้ภาษีท้องถิ่นจัดเก็บเอง ประเภท รายได้ อบจ. เทศ บาล อบต. เมือง พัทยา กทม. 1.1 ภาษี โรงเรือนที่ดิน.
L o g o Chapter 10. L o g o Planni ng Organ izing Staffi ng Leadi ng Contr olling.
เสนอต่อ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
- ค่าธรรมเนียมต่างจากภาษี
Organization Behavior
ทิศทางการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2561
เศรษฐกิจพอเพียงยุคเอทีเอ็ม โดย ดร
การจัดการทรัพยากรมนุษย์
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
Bond and Fixed Income Highlight
สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว The Lao People’s Democratic Republic
รศ.ชูศรี เที้ยศิริเพชร คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ใบคำขอเอาประกัน (ใหม่)
ความยืดหยุ่น ( Elasticity )
ผู้ตอบแบบสอบถาม ไตรมาส 2 ปี 2555
กลยุทธ์สร้างความแข็งแกร่งทางการเงินหลังเกษียณ สำหรับข้าราชการไทย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
ภาษีเกี่ยวกับการค้าทองคำ
การรายงานแผนและผลการปฏิบัติงานผ่านระบบสารสนเทศ CAD_CA
บทที่ 7 การคลังสาธารณะ.
ระบบงานสืบค้นสารสนเทศออนไลน์
เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน (Economics for Everyday Life)
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม EC 261 3(3-0-6)
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น (ชำนาญการ)
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ TMBAM M Choice เฉพาะส่วน มหาวิทยาลัยมหิดล
4.1.1 งานพัฒนาสถาบันเกษตรกร (ต่อ)
Techniques Administration
การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน.
การบริหารการเปลี่ยนแปลงและการปิดโครงการ
โดย ดร.เตือนใจ ดลประสิทธิ์
มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลด้านคุณธรรมและความโปร่งใส
แนวทางและนโยบาย การบริหารความเสี่ยง
Note เรียน คณะกรรมการทีมระบบ
ผลการเข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติและเสวนาวิชาการ
การคิดราคาขาย การลดต้นทุน และการวางแผนจัดนำเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์
ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (Withholding Tax-W/T)
การเดินทางไปปฏิบัติงาน ในประเทศ
Taxation อาจารย์ ดร. หุดา วงษ์ยิ้ม ACC2101 การภาษีอากร1
โดย งานบริหารบุคลากรและค่าตอบแทน
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต.
โครงการปรับปรุง และสร้างฐานข้อมูลหลักมาตรฐานสากล
CASE STUDY : MYANMAR CHANGE OPPORTUNITY
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
โดย ดร.เตือนใจ ดลประสิทธิ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
มาตรการภาษีเพื่อดูแลสังคมสูงอายุ
นโยบายการคลัง รายวิชา : Week 06.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
Introduction to Public Administration Research Method
การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ HR Planning
Lecture 7: ทางเลือกแบบมีโครงสร้างซ้อนใน
สังคมและการเมือง : Social and Politics
สังคมและการเมือง : Social and Politics
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตาม ม.40 แห่งประมวลรัษฎากร ภาษีหัก ณ ที่จ่าย กรณี ตาม ม.40 แห่งประมวลรัษฎากร

เจตนารมณ์ของกฎหมายภาษีอากร หัก ณ ที่จ่าย เป็นมาตรการป้องกัน การหลบ (Tax Evasion) และ/หรือ การเลี่ยงภาษี (Tax Avoidance) เพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ (Auditing) และ การบริหารจัดเก็บ (Administration) ผลทางจิตวิทยาเป็นการบรรเทาภาระในการคำนวณและเสียภาษีสิ้นรอบ บัญชี

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย คือ วิธีการเสียภาษีวิธีหนึ่งที่ กม. กำหนดให้ผู้จ่ายเงินได้ ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายก่อนจ่ายเงินได้ให้กับผู้มีเงินได้ หักจากเงิน ทรัพย์สินประโยชน์ที่คำนวณเป็นเงินได้ ผู้จ่ายเป็นผู้หักส่งรัฐบาล ถือเป็นเครดิตในการเสียภาษีของผู้รับ มีเฉพาะบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล

ข้อกฎหมาย และ แนวปฏิบัติ การหักภาษี ณ ที่จ่ายจากการจ้างแรงงาน ข้อกฎหมาย และ แนวปฏิบัติ การหักภาษี ณ ที่จ่ายจากการจ้างแรงงาน ม.50 (ประกอบกับม.40, 42ทวิ,47และม.48) ม. 3 เตรส คำสั่งกรมสรรพากรที่ ทป. 4/2528

ม. 3 เตรส ให้อำนาจอธิบดีวางหลักเกณฑ์ในการ หักภาษี ณ ที่จ่าย (บททั่วไป) ม. 3 เตรส ให้อำนาจอธิบดีวางหลักเกณฑ์ในการ หักภาษี ณ ที่จ่าย บุคคลธรรมดา และ นิติบุคคล (บทเฉพาะ) ม.50 (บทเสริม) ทป. 4/2528 กรณีมิได้มีบัญญัติไว้ที่อื่นใด

กฎหมายที่ใช้บังคับในการหัก ณ ที่จ่าย ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 1. ม.50 แยกตามประเภทเงินได้ 2. ม.3 เตรส ให้อำนาจออก ท.ป.4/2528 ให้บางรายมีสิทธิหักบางรายการได้

ใครเป็นผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ( ผู้จ่ายเงิน ) บุคคลที่อยู่ภายใต้บังคับของภาษีหัก ณ ที่จ่ายตามประมวล รัษฎากร ใครเป็นผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ( ผู้จ่ายเงิน ) ใครเป็นผู้มีหน้าที่ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย (ผู้มีเงินได้) ความรับผิดตามกฎหมายกำหนดไว้ ตาม ม. 54 และ ม. 27

เงินได้ตาม. 40 แห่งประมวลรัษฎากร เงินอะไรที่จ่ายแล้วต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายบ้าง เงินได้ตาม. 40 แห่งประมวลรัษฎากร ได้บัญญัติไว้ (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) และ (8)

เงินได้พึงประเมิน มาตรา 40 แห่งประมวลรัษฎากร มาตรา 40 (1) คือเงินได้ที่เกิดจากการจ้างแรงงาน ไม่มุ่งต่อผลสำเร็จของงานที่ทำ เช่น เงินเดือน โบนัส ค่า ล่วงเวลา

เงินได้พึงประเมิน มาตรา 40 แห่งประมวลรัษฎากร มาตรา 40 (2) คือเงินได้ที่เกิดการรับทำงานให้ หรือจาก ตำแหน่งหน้าที่งานที่ทำ มุ่งต่อผลสำเร็จของงานที่ทำ เช่น ค่านายหน้า เป็นคณะกรรมการในหน่วย ต่างๆ นอกจากงานที่ทำ

เงินได้พึงประเมิน มาตรา 40 แห่งประมวลรัษฎากร มาตรา 40 (3) คือเงินได้ที่เกิดจากขายลิขสิทธิ์ สิทธิต่างที่กฎหมายกำหนดไว้

เงินได้พึงประเมิน มาตรา 40 แห่งประมวลรัษฎากร มาตรา 40 (4) คือการนำทรัพย์สินไปลงทุนแล้วเกิด เงินได้ เช่นการนำเงินไปฝากธนาคารแล้วได้ ดอกเบี้ย การนำเงินไปลงทุนแล้วได้ เงินปันผล เป็นต้น

เงินได้พึงประเมิน มาตรา 40 แห่งประมวลรัษฎากร มาตรา 40 (5) คือผลประโยชน์หรือเงินได้จากการให้ เช่าทรัพย์สิน เงินได้ที่เกิดจากการผิดสัญญาเช่าซื้อ เงินได้จากการผิดสัญญาซื้อขายเงิน ผ่อน

เงินได้พึงประเมิน มาตรา 40 แห่งประมวลรัษฎากร มาตรา 40 (6) คือเงินได้ที่เกิดการประกอบ วิชาชีพอิสระ

เงินได้พึงประเมิน มาตรา 40 แห่งประมวลรัษฎากร มาตรา 40 (7) คือเงินได้ที่เกิดการรับเหมา โดยนำ สัมภาระสำคัญไปประกอบการ รับเหมาด้วย

เงินได้พึงประเมิน มาตรา 40 แห่งประมวลรัษฎากร มาตรา 40 (8) คือเงินได้ที่เกิดจากการธุรกิจ การ พาณิชย์ หรือในทางอุตสาหกรรม เช่นการขายอสังหาริมทรัพย์ การ ให้บริการของร้านเสริมสวย

ค่าแรงงานจากการจ้างงาน 40 (1) คำนวณหักตามมาตรา 50 แห่งประมวลรัษฎากร คือ อัตราก้าวหน้าของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ม.48 โดยคำนวณจาก เงินได้สุทธิ (เงินพึงประเมิน ม. 40 หัก ค่าใช้จ่าย ม.42ทวิถึงม.46และค่าลดหย่อนได้ตาม ม.47)

หลักเกณฑ์ในการหักค่าลดหย่อน ม หลักเกณฑ์ในการหักค่าลดหย่อน ม. 47 แห่งประมวลรัษฎากรรายการหักลดหย่อนกรณีต่าง ๆ มีดังนี้ ค่าลดหย่อน 1. ผู้มีเงินได้ส่วนตัว 30,000 2.คู่สมรส (สามี/ภริยาของผู้มีเงินได้) 30,000 3. บุตร (มีเงื่อนไข) คนละ 15,000

หลักเกณฑ์ในการหักค่าลดหย่อน ม หลักเกณฑ์ในการหักค่าลดหย่อน ม. 47 แห่งประมวลรัษฎากรรายการหักลดหย่อนกรณีต่าง ๆ -ต่อ- 4. เบี้ยประกันชีวิต (มีเงื่อนไข) ตามจ่าย จริง < 100,000 5. เงินสะสมที่จ่ายเข้ากองทุนสำรองเลี้ยง ชีพ < 10,000 หักค่าลดหย่อนตามจ่าย จริงแต่ไม่เกิน10,000บาท (ส่วนที่เกิน 10,000 แต่ไม่เกิน 490,000ให้ถือเป็นเงิน ได้ที่ได้รับการยกเว้น)

หลักเกณฑ์ในการหักค่าลดหย่อน ม หลักเกณฑ์ในการหักค่าลดหย่อน ม. 47 แห่งประมวลรัษฎากรรายการหักลดหย่อนกรณีต่าง ๆ -ต่อ- 6. ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อซื้อที่อยู่อาศัย ตามจ่ายจริง < 100,000 (มีเงื่อนไข) 7. เงินสมทบเข้ากองทุน ประกันสังคม ตามจ่ายจริง

หลักเกณฑ์ในการหักค่าลดหย่อน ม หลักเกณฑ์ในการหักค่าลดหย่อน ม. 47 แห่งประมวลรัษฎากรรายการหักลดหย่อนกรณีต่าง ๆ -ต่อ- 8. เงินที่นำไปซื้อหน่วยกองทุนรวมสำรองเลี้ยงชีพ(RMF)นำมาถือเป็นค่าลดหย่อนได้ตามจ่ายจริงแต่ไม่เกิน 15% ของเงินได้พึงประเมินหรือไม่เกิน 500,000 บ. รวมถึงเงินที่นำไปซื้อหน่วยกองทุนรวมระยะยาว(LTF) นำมาถือเป็นค่าลดหย่อนได้ตามจ่ายจริงแต่ไม่เกิน 15% ของเงินได้พึงประเมินหรือไม่เกิน 500,000 บ. (ทั้ง2 กองรวมไม่เกิน1,000,000 บาท)

หลักเกณฑ์ในการหักค่าลดหย่อน ม หลักเกณฑ์ในการหักค่าลดหย่อน ม. 47 แห่งประมวลรัษฎากรรายการหักลดหย่อนกรณีต่าง ๆ -ต่อ- 9.กรณีบุพการี(พ่อ+แม่)ที่ไม่มีเงินได้หักค่าลดหย่อนคนละ 30,000แต่รวมกันไม่เกิน120,000บ. 10. คู่สมรส บุตร บิดา มารดา (ที่อยู่ในอุปการะ) ที่พิการ หักค่าลดหย่อนคนละ 60,000 บาท

หลักเกณฑ์ในการหักค่าลดหย่อน ม หลักเกณฑ์ในการหักค่าลดหย่อน ม. 47 แห่งประมวลรัษฎากร รายการหักลดหย่อนกรณีต่าง ๆ -ต่อ- 11. เงินบริจาค หักค่าลดหย่อนได้ตามจ่ายจริง (มีเงื่อนไข)

หลักเกณฑ์ในการคำนวณเงินได้สุทธิตามอัตราก้าวหน้า ม. 48 แห่งประมวลรัษฎากร ช่วงเงินได้สุทธิ อัตราภาษี (%) ภาษีสะสม 1 - 150,000 ยกเว้น - 150,001 - 500,000 10% 35,000 500,001 - 1,000,000 20% 135,000 1,000,001 - 4,000,000 30% 1,035,000 4,000,001 ขึ้นไป 37%

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50 แห่งประมวลรัษฎากรกำหนดไว้ใน คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.96/2543 1. ม40 (1) (2) เงิน / ทรัพย์สิน / ประโยชน์ ที่อาจ คำนวนเป็นเงินได้ เช่น เงินเดือนค่าจ้างโบนัส ภาษีที่นายจ้างออกให้อาหาร-บ้านพักฟรี วิธีการ คำนวน -เงินได้ x จำนวนครั้งที่จ่ายเงิน คำนวณภาษีตามปรกติ ได้ภาษีเท่าไร/ จำนวนครั้งที่จ่ายเงิน -มีเศษให้เอาไปรวมกับครั้งสุดท้าย

จำนวนครั้ง ถ้ารายวัน X 365

-ถ้าเริ่มทำงานกลางปีหรือระหว่างปี ให้ใช้หลักเดือนที่จ่ายจริงX เดือนที่จ่ายจริงหาร -ถ้ามีเงินเพิ่มพิเศษ เช่น โบนัส ให้เอาเงินโบนัสบวกกับเงินได้เสมือนทั้งปีแล้วคำนวณภาษีได้ภาษีเท่าไหร่ ให้เท่ากับ X แล้วคำนวณภาษีเฉพาะเงินเดือนตลอดปีให้เท่ากับ Y ภาษีเฉพาะโบนัสจะเท่ากับ X - Y

-ถ้าจ่ายเงินได้เป็นคราว ๆ ไม่สม่ำเสมอ เช่น กรณีค่านายหน้าขายที่ดิน ให้เอาเงินได้ครั้งที่ 1 คำนวณภาษีตามปกติ พอได้ค่านายหน้าครั้งที่ 2 ให้เอาเงินได้ทั้งสองครั้งมารวมกัน แล้วคำนวณภาษี แต่ภาษีหัก ณ ที่จ่ายครั้งที่ 2 ที่นำส่ง จะเท่ากับการคำนวณภาษีครั้งที่ 2 ลบครั้งที่ 1 -กรณีเงินได้ข้ามปี เช่น บรรจุเข้าทำงานใหม่ เงินตกเบิกข้ามปี ถูกออกจากงาน หรือมีข้อโต้แย้ง ยืดเยื้อ จ่ายเงินข้ามปี ให้ถือว่าเงินได้ของปีใดให้เสียภาษีของปีนั้น (ก่อน 31 มี.ค.ของปีถัดไป)

-ถ้าเริ่มทำงานกลางปีหรือระหว่างปี ให้ใช้หลักเดือนที่จ่ายจริงX เดือนที่จ่ายจริงหาร -ถ้ามีเงินเพิ่มพิเศษ เช่น โบนัส ให้เอาเงินโบนัสบวกกับเงินได้เสมือนทั้งปีแล้วคำนวณภาษีได้ภาษีเท่าไหร่ ให้เท่ากับ X แล้วคำนวณภาษีเฉพาะเงินเดือนตลอดปีให้เท่ากับ Y ภาษีเฉพาะโบนัสจะเท่ากับ X - Y

ตัวอย่างการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จ่าย กรณีการจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวลรัษฎากร ตามคำสั่งกรมสรรพากร ที่ ป. 96/2543

วิธีคำนวณเพื่อหัก ภาษี ณ ที่จ่าย ตัวอย่าง กรณีที่จ่ายเงินได้เป็นรายเดือน เดือนละเท่าๆ กัน ตลอดปีภาษี ปีภาษี 2552 นายสมพล ได้รับเงินเดือนๆ ละ 30,000 บาท ภรรยานายสมพลไม่มีเงิน ได้ มีบุตรกำลังศึกษา 2 คน นายสมพลจ่ายเบี้ยประกันชีวิตในเดือนกรกฎาคม จำนวน 9,600 บาท ดอกเบี้ยเงินกู้ ยืมฯ ที่จะต้องจ่ายทั้งปี จำนวน 10,000 บาท บริษัทผู้จ่ายเงินได้ จะต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายนำส่งแต่ละเดือน อย่างไร

หัก ค่าใช้จ่าย (40% ไม่เกิน 60,000 บาท) = 60,000.- บาท วิธีคำนวณ หัก ณ ที่จ่าย (นายสมพล) เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี = 30,000 × 12 = 360,000.- บาท หัก ค่าใช้จ่าย (40% ไม่เกิน 60,000 บาท) = 60,000.- บาท คงเหลือเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย = 300,000.-บาท หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว 30,000.- บาท ค่าลดหย่อนคู่สมรส 30,000.- บาท ค่าลดหย่อนบุตรศึกษา 2 คน 34,000.- บาท (คนละ 17,000 บาท) ค่าลดหย่อนเบี้ยประกันชีวิต 9,600.- บาท ค่าลดหย่อนดอกเบี้ยเงินกู้ยืมฯ 10,000.- บาท = 113,600.- บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ = 186,400.- บาท

ภาษีเงินได้ทั้งปี (186,400-150,000) × 10% = 3,640.- บาท ดังนั้น (ต่อ) ภาษีเงินได้ทั้งปี (186,400-150,000) × 10% = 3,640.- บาท ดังนั้น ภาษีหัก ณ ที่จ่ายต่อเดือน (3,640 / 12) = 303.33 บาท (จำนวนเงินที่เหลือเศษให้รวมกับเงินภาษีที่จะต้องหักไว้ครั้งสุดท้ายในเดือนธันวาคม) สรุป ผู้จ่ายเงินได้จะต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ของนายสมพล เดือนมกราคม ถึง พฤศจิกายน เดือนละ = 303.33 บาท เดือนธันวาคม = 303.37 บาท

ตัวอย่างที่ 1 กรณีจ่ายเงินได้พึงประเมินเป็นรายเดือน เดือนละเท่า ๆ กันตลอดปีภาษี ตามข้อ 1 (1) (2) (3) ปีภาษี 2542 นาย ก. ได้รับเงินเดือน ๆ ละ 30,000 บาท นาย ก. ได้แจ้งสถานะการหักลดหย่อนไว้ดังนี้ ภรรยาไม่มีเงินได้ และบุตรกำลังศึกษา 2 คน ต้องจ่ายเบี้ยประกันชีวิตในเดือนกรกฎาคม 2542 จำนวน 9,600 บาท และ ต้องจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ยืมฯ ที่จะต้องจ่าย ทั้งปี จำนวน 13,200 บาท ผู้จ่ายเงินได้ ต้องคำนวณหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายและ นำส่งแต่ละเดือน ดังนี้

วิธีคำนวณ เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี = 30,000 x 12 = 360,000.- บาท หัก ค่าใช้จ่าย (40 % ไม่เกิน 60,000 บาท) = 60,000.- บาท คงเหลือเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย = 300,000.- บาท

หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว 30,000.- บาท ค่าลดหย่อนคู่สมรส 30,000.- บาท ค่าลดหย่อนบุตรศึกษา 2 คน 34,000.- บาท ค่าลดหย่อนเบี้ยประกันชีวิต 9,600.- บาท ค่าลดหย่อนดอกเบี้ยเงินกู้ยืมฯ 13,200.- บาท = 116,800.- บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ = 183,200.- บาท

ภาษีเงินได้ทั้งปี (150,000 ได้รับยกเว้น) + (33,200 X10%) = 3,320.- บาท ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายแต่ละเดือน 3,320 หาร 12 = 276.66 บาท เหลือเศษ = 0.006 บาท จำนวนเงินที่เหลือเศษให้รวมกับเงินภาษี ที่จะต้องหักไว้ครั้งสุดท้ายในเดือนธันวาคม = 276.66 + (0.006 x 12) = 276.73บาท สรุป ผู้จ่ายเงินได้จะต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายของ นาย ก. ในกรณีนี้ ดังนี้ เดือนมกราคม ถึง พฤศจิกายน เดือนละ = 276.66 บาท เดือนธันวาคม = 276.73 บาท

ตัวอย่างที่ 2 กรณีมีการเปลี่ยนแปลงจำนวนเงินได้พึงประเมิน ที่จ่ายระหว่างปีภาษี ตามข้อ 1 (4) และการคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่าย เดือนธันวาคมตามข้อ 2 จากตัวอย่างที่ 1 ถ้านาย ก. ได้รับเงินเดือนตั้งแต่เดือนตุลาคม 2542 เป็นเดือนละ 60,000 บาท ผู้จ่ายเงินได้ต้องคำนวณหัก ภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ดังนี้

วิธีคำนวณ เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี = 60,000 x 12 = 720,000.- บาท หัก ค่าใช้จ่าย (40 % ไม่เกิน 60,000 บาท) = 60,000.- บาท คงเหลือเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย = 660,000.- บาท หัก ค่าลดหย่อน (30,000 + 30,000 + 34,000 + 9,600 + 13,200) = 116,800.- บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ = 543,200.- บาท ภาษีเงินได้ทั้งปี (150,000 ได้รับยกเว้น) + (350,000 X10%) + (43,200 X 20%) = 43,640.- บาท

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตั้งแต่เดือนตุลาคมเป็นต้นไป 43,640 หาร 12 ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตั้งแต่เดือนตุลาคมเป็นต้นไป 43,640 หาร 12 = 3,636.66 บาท สำหรับในเดือนธันวาคม ให้ปรับปรุงการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ดังนี้ : ภาษีที่ต้องเสียทั้งปีจากเงินได้ที่ได้รับจริง (คำนวณจากเงินเดือน ๆ ละ 30,000 บาท 9 เดือน และเดือนละ 60,000 บาท 3 เดือน) ............. = 12,320.- บาท ภาษีเงินได้ที่ต้องหัก ณ ที่จ่าย และนำส่งไว้แล้ว (ตั้งแต่เดือนมกราคม ถึงเดือนพฤศจิกายน) = (276.66 X 9) + (3,636.66 X 2) = 9,763.26 บาท เป็นภาษีที่ต้องหัก ณ ที่จ่าย ในเดือนธันวาคม = 12,320 - 9,763.26 = 2,556.74 บาท

สรุป ผู้จ่ายเงินได้จะต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายของ นาย ก สรุป ผู้จ่ายเงินได้จะต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายของ นาย ก. ใน กรณีนี้ ดังนี้ เดือนมกราคม ถึง กันยายน เดือนละ = 276.66 บาท เดือนตุลาคม ถึง พฤศจิกายน เดือนละ = 3,636.66 บาท เดือนธันวาคม = 2,556.74 บาท

ตัวอย่างที่ 3 กรณีมีการจ่ายเงินพิเศษเป็นครั้งคราวในระหว่าง ปีภาษี ตามข้อ 1 (5) จากตัวอย่างที่ 1 ถ้าในเดือนมีนาคม 2542 นาย ก. ได้รับเงิน โบนัสอีก จำนวนหนึ่งเป็นเงิน 90,000 บาท ผู้จ่ายเงินได้จะต้อง หักภาษี ณ ที่จ่าย เดือนมีนาคม 2542 ดังนี้

วิธีคำนวณ เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี = 30,000 x 12 = 360,000.- บาท บวก เงินโบนัส = 90,000 X 1 = 90,000.- บาท รวมเงินได้พึงประเมิน = 450,000.- บาท หัก ค่าใช้จ่าย (40 % ไม่เกิน 60,000 บาท) = 60,000.- บาท คงเหลือเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย = 390,000.- บาท หัก ค่าลดหย่อน (30,000 + 30,000 + 34,000 + 9,600 + 13,200) = 116,800.- บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ = 273,200.- บาท

ภาษีเงินได้ทั้งปีของเงินเดือนรวมเงินโบนัส ภาษีเงินได้ทั้งปี (150,000 ได้รับยกเว้น) + (123,200 X10%) = 12,320.- บาท หัก ภาษีเงินได้ทั้งปีเฉพาะเงินเดือน (ตามตัวอย่าง 1) = 3,320.- บาท คงเหลือภาษีเงินได้ของโบนัส = 9,000.- บาท บวก ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายเงินเดือนของเดือนมีนาคม (ตามตัวอย่าง 1) = 276.66 บาท รวม ภาษีต้องหัก ณ ที่จ่าย เดือนมีนาคม = 9, 276.66 บาท

สรุป ผู้จ่ายเงินได้จะต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายของ นาย ก สรุป ผู้จ่ายเงินได้จะต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายของ นาย ก. ใน กรณีนี้ ดังนี้ เดือนมกราคม ถึง กุมภาพันธ์ เดือนละ = 276.66 บาท เดือนมีนาคม = 9, 276.66 บาท เดือนเมษายน ถึง พฤศจิกายน เดือนละ = 276.66 บาท เดือนธันวาคม = 276.73 บาท

ตัวอย่างที่ 4 กรณีจำนวนคราวที่จ่ายเงินได้พึงประเมินไม่ สม่ำเสมอตลอดปีภาษี ตามข้อ 1(6) จากตัวอย่างที่ 1 นาย ก. ได้รับเงินเดือนและได้รับเงินค่า ล่วงเวลาตาม จำนวนวันที่ทำงาน เดือนมกราคมได้รับค่าล่วงเวลา 6,500 บาท เดือนกุมภาพันธ์ได้รับค่าล่วงเวลา 5,200 บาท ผู้จ่ายเงินได้ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายดังนี้

มกราคม เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี = 30,000 x 12 = 360,000.- บาท บวก ค่าล่วงเวลาเดือนมกราคม = 6,500.- บาท รวมเงินได้พึงประเมิน = 366,500.- บาท หัก ค่าใช้จ่าย (40 % ไม่เกิน 60,000 บาท) = 60,000.- บาท คงเหลือเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย = 306,500.- บาท หัก ค่าลดหย่อน (30,000 + 30,000 + 34,000 + 9,600 + 13,200) = 116,800.- บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ = 189,700.- บาท

ภาษีเงินได้ทั้งปีของเงินเดือนรวมค่าล่วงเวลา (150,000 ได้รับยกเว้น) + (39,700 X10%) = 3,970.- บาท หัก ภาษีเงินได้ทั้งปีเฉพาะเงินเดือน (ตามตัวอย่าง 1) = 3,320.- บาท คงเหลือภาษีเงินได้ของค่าล่วงเวลาเดือนมกราคม = 650.- บาท บวก ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายเงินเดือนของเดือนมกราคม = 276.66 บาท รวมภาษีต้องหัก ณ ที่จ่ายเดือนมกราคม (650 + 276.66 ) = 926,66 บาท

กุมภาพันธ์ เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี = 30,000 x 12 = 360,000.- บาท บวก ค่าล่วงเวลาเดือนมกราคม = 6,500.- บาท บวก ค่าล่วงเวลาเดือนกุมภาพันธ์ = 5,200.- บาท รวมเงินได้พึงประเมิน = 371,700.- บาท

หัก ค่าใช้จ่าย (40 % ไม่เกิน 60,000 บาท) = 60,000.- บาท คงเหลือเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย = 311,700.- บาท หัก ค่าลดหย่อน (30,000 + 30,000 + 34,000 + 9,600 + 13,200) = 116,800.- บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ = 194,900.- บาท ภาษีเงินได้ทั้งปีของเงินเดือนรวมค่าล่วงเวลา (150,000 ได้รับยกเว้น) + (44,900 X10%) = 4,490.- บาท

หัก ภาษีเงินได้ทั้งปีเฉพาะเงินเดือน (ตามตัวอย่าง 1) = 3,320.- บาท ภาษีเงินได้ของค่าล่วงเวลา = 1,170.- บาท หัก ภาษีเงินได้ค่าล่วงเวลาเดือนมกราคม = 650.- บาท คงเหลือภาษีเงินได้ค่าล่วงเวลาเดือนกุมภาพันธ์ = 520.- บาท ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายเงินเดือนของเดือนกุมภาพันธ์ = 276.66 บาท รวมภาษีต้องหัก ณ ที่จ่ายเดือนกุมภาพันธ์ (520 + 276.66 ) = 796.66 บาท

สรุป ผู้จ่ายเงินได้จะต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายของ นาย ก สรุป ผู้จ่ายเงินได้จะต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายของ นาย ก. ใน กรณีนี้ ดังนี้ เดือนมกราคม = 926,66 บาท เดือนกุมภาพันธ์ = 796.66 บาท เดือนมีนาคม ถึง พฤศจิกายน เดือนละ = 276.66 บาท เดือนธันวาคม = 276.73 บาท

ตัวอย่างที่ 5 กรณีนายจ้างออกเงินค่าภาษีเงินได้แทนให้ ลูกจ้าง สำหรับเงินเดือนหรือค่าจ้างที่ลูกจ้างได้รับในปีภาษี โดย ลูกจ้างไม่ต้องรับภาระในการเสียภาษีเงินได้ด้วยตนเองเลย (ออกภาษีให้ตลอดไป) ตามข้อ 1 (7) นายลิขิตมีเงินเดือน ๆ ละ 25,000 บาท มีภรรยาชอบด้วย กฎหมาย และบุตร กำลังศึกษา 1 คน บริษัทออกเงินภาษีให้ ตลอดไป ผู้จ่ายเงินได้ ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ดังนี้

วิธีคำนวณ ครั้งที่ 1 เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี = 25,000 x 12 = 300,000.- บาท หัก ค่าใช้จ่าย (40 % ไม่เกิน 60,000 บาท) = 60,000.- บาท คงเหลือเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย = 240,000.- บาท หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว 30,000.- บาท ค่าลดหย่อนคู่สมรส 30,000.- บาท ค่าลดหย่อนบุตรศึกษา 1 คน 17,000.- บาท = 77,000.- บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ = 186,400.- บาท ภาษีที่คำนวณได้ครั้งที่ 1 (150,000 ยกเว้น) + (36,400 X10%) = 3,640.- บาท

ครั้งที่ 2 เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี = 25,000 x 12 = 300,000.- บาท บวก ภาษีที่คำนวณได้ครั้งที่ 1 = 3,640.- บาท รวมเงินได้พึงประเมิน = 303,640.- บาท หัก ค่าใช้จ่าย (40 % ไม่เกิน 60,000 บาท) = 60,000.- บาท คงเหลือเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย = 243,640.- บาท หัก ค่าลดหย่อน (30,000 + 30,000 + 17,000) = 77,000.- บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ = 166,640.- บาท ภาษีที่คำนวณได้ครั้งที่ 2 (150,000 ยกเว้น) + (16,640 X10%) = 1,664.- บาท

ครั้งที่ 3 เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี = 25,000 x 12 = 300,000.- บาท บวก ภาษีที่คำนวณได้ครั้งที่ 2 = 1,664.- บาท รวมเงินได้พึงประเมิน = 301,664.- บาท หัก ค่าใช้จ่าย (40 % ไม่เกิน 60,000 บาท) = 60,000.- บาท คงเหลือเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย = 241,664.- บาท หัก ค่าลดหย่อน (30,000 + 30,000 + 17,000) = 77,000.- บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ = 164,664.- บาท ภาษีที่คำนวณได้ครั้งที่ 3 (150,000 ยกเว้น) + (14,644 X10%) = 1,466.40 บาท

ครั้งที่ 4 เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี = 25,000 x 12 = 300,000.- บาท บวก ภาษีที่คำนวณได้ครั้งที่ 3 = 1,466.40 บาท รวมเงินได้พึงประเมิน = 301,466.40 บาท หัก ค่าใช้จ่าย (40 % ไม่เกิน 60,000 บาท) = 60,000.- บาท คงเหลือเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย = 241,466.40 บาท หัก ค่าลดหย่อน (30,000 + 30,000 + 17,000) = 77,000.- บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ = 164,466.40 บาท ภาษีที่คำนวณได้ครั้งที่ 4 (150,000 ยกเว้น) + (14,466.40 X10%) = 1,446.64 บาท

ครั้งที่ 5 เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี = 25,000 x 12 = 300,000.- บาท บวก ภาษีที่คำนวณได้ครั้งที่ 4 = 1,446.64 บาท รวมเงินได้พึงประเมิน = 301,446.64 บาท หัก ค่าใช้จ่าย (40 % ไม่เกิน 60,000 บาท) = 60,000.- บาท คงเหลือเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย = 241,446.64 บาท หัก ค่าลดหย่อน (30,000 + 30,000 + 17,000) = 77,000.- บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ = 164,446.64 บาท ภาษีที่คำนวณได้ครั้งที่ 5 (150,000 ยกเว้น) + (14,446.64 X10%) = 1,444.66 บาท

ครั้งที่ 6 เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี = 25,000 x 12 = 300,000.- บาท บวก ภาษีที่คำนวณได้ครั้งที่ 5 = 1,444.66 บาท รวมเงินได้พึงประเมิน = 301,444.66 บาท หัก ค่าใช้จ่าย (40 % ไม่เกิน 60,000 บาท) = 60,000.- บาท คงเหลือเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย = 24 1,444.66 บาท หัก ค่าลดหย่อน (30,000 + 30,000 + 17,000) = 77,000.- บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ = 164,444.66 บาท ภาษีที่คำนวณได้ครั้งที่ 6 (150,000 ยกเว้น) + (14,444.66 X10%) = 1,444.47 บาท

ครั้งที่ 7 เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี = 25,000 x 12 = 300,000.- บาท บวก ภาษีที่คำนวณได้ครั้งที่ 6 = 1,444.47 บาท รวมเงินได้พึงประเมิน = 301,444.47 บาท หัก ค่าใช้จ่าย (40 % ไม่เกิน 60,000 บาท) = 60,000.- บาท คงเหลือเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย = 241,444.47 บาท หัก ค่าลดหย่อน (30,000 + 30,000 + 17,000) = 77,000.- บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ = 164,444.47 บาท ภาษีที่คำนวณได้ครั้งที่ 7 (150,000 ยกเว้น) + (14,446.47 X10%) = 1,444.45 บาท

ครั้งที่ 8 เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี = 25,000 x 12 = 300,000.- บาท บวก ภาษีที่คำนวณได้ครั้งที่ 7 = 1,444.45 บาท รวมเงินได้พึงประเมิน = 301,444.45 บาท หัก ค่าใช้จ่าย (40 % ไม่เกิน 60,000 บาท) = 60,000.- บาท คงเหลือเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย = 241,444.45 บาท หัก ค่าลดหย่อน (30,000 + 30,000 + 17,000) = 77,000.- บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ = 164,444.45 บาท ภาษีที่คำนวณได้ครั้งที่ 8 (150,000 ยกเว้น) + (14,444.45 X10%) = 1,444.45 บาท

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายแต่ละเดือน 1,444.45 หาร 12 = 120.37 บาท เหลือเศษ = .008 บาท จำนวนเงินเหลือเศษให้รวมกับเงินภาษี ที่จะต้องหักไว้ครั้งสุดท้ายในเดือนธันวาคม = 120.37 + (0.008 X 12 ) = 120.47 บาท สรุป ผู้จ่ายเงินได้จะต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายของ นายลิขิต ในกรณีนี้ ดังนี้ เดือนมกราคม ถึง พฤศจิกายน เดือนละ = 120.37 บาท เดือนธันวาคม = 120.47 บาท

ตัวอย่างที่ 6 กรณีนายจ้างออกเงินค่าภาษีเงินได้แทนให้ ลูกจ้าง สำหรับเงินเดือนหรือค่าจ้างเป็นจำนวนที่ แน่นอน (ออก ภาษีให้ครั้งเดียว) ตามข้อ 1 (8) เช่น เท่ากับจำนวนภาษีเงินได้ที่ จะต้องชำระ จากตัวอย่างที่ 5 นายจ้างออกเงินค่าภาษีให้ครั้งเดียวเป็น จำนวนที่แน่นอน ผู้จ่ายเงินได้ ต้องคำนวณหักภาษีเงินได้ ณ ที่ จ่าย ดังนี้

วิธีคำนวณ ครั้งที่ 1 เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี = 25,000 x 12 = 300,000.- บาท หัก ค่าใช้จ่าย (40 % ไม่เกิน 60,000 บาท) = 60,000.- บาท คงเหลือเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย = 240,000.- บาท หัก ค่าลดหย่อน (30,000 + 30,000 + 17,000) = 77,000.- บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ = 163,000.- บาท ภาษีที่คำนวณได้ครั้งที่ 1 (150,000 ยกเว้น) + (13,000 X10%) = 1,300.- บาท

ครั้งที่ 2 เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี = 25,000 x 12 = 300,000.- บาท บวก ภาษีที่คำนวณได้ครั้งที่ 1 = 1,300.- บาท รวมเงินได้พึงประเมิน = 301,300.- บาท หัก ค่าใช้จ่าย (40 % ไม่เกิน 60,000 บาท) = 60,000.- บาท คงเหลือเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย = 241,300.- บาท หัก ค่าลดหย่อน (30,000 + 30,000 + 17,000) = 77,000.- บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ = 164,300.- บาท

ภาษีที่คำนวณได้ครั้งที่ 2 (150,000 ยกเว้น) + (14,300 X10%). = 1,430 ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายแต่ละเดือน 1,430 หาร 12 = 119.16 บาท เหลือเศษ = .006 บาท จำนวนเงินเหลือเศษให้รวมกับเงินภาษี ที่จะต้องหักไว้ครั้งสุดท้ายในเดือนธันวาคม = 119.16 + (0.006 X 12 ) = 119.23 บาท สรุป ผู้จ่ายเงินได้จะต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายของ นายลิขิต ในกรณีนี้ ดังนี้ เดือนมกราคม ถึง พฤศจิกายน เดือนละ = 119.16 บาท เดือนธันวาคม = 119.23 บาท

ตัวอย่างที่ 7 การคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่าย ให้ถูกต้องครบถ้วนตามหลักฐานการ หักค่าลดหย่อนที่แท้จริงที่ผู้มีเงินได้นำมาแสดง กรณีผู้มีเงินได้ออกจากงานใน ระหว่างปีภาษี ตามข้อ 3 จากตัวอย่างที่ 1 นาย ก. ได้ลาออกจากงานวันที่ 30 มิถุนายน 2542 และไม่สามารถ นำหลักฐานการจ่ายเบี้ยประกันชีวิตจำนวน 9,600 บาท ที่แจ้งรายการขอหัก ลดหย่อนไว้ต่อผู้จ่ายเงินได้มาแสดงได้ แต่ได้นำใบเสร็จรับเงิน ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่จ่าย ในแต่ละเดือนมาแสดงจำนวน 12,000 บาท ผู้จ่ายเงินได้ต้อง คำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายเดือนมิถุนายน 2542 ดังนี้

วิธีคำนวณ เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี = 30,000 x 12 = 360,000.- บาท หัก ค่าใช้จ่าย (40 % ไม่เกิน 60,000 บาท) = 60,000.- บาท คงเหลือเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย = 300,000.- บาท

หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว 30,000.- บาท ค่าลดหย่อนคู่สมรส 30,000.- บาท ค่าลดหย่อนบุตรศึกษา 2 คน 34,000.- บาท ค่าลดหย่อนดอกเบี้ยเงินกู้ยืมฯ 12,000.- บาท = 106,000.- บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ = 194,000.- บาท ภาษีเงินได้ทั้งปี (150,000 ยกเว้น) + (44,000 X10%) = 4,400.- บาท ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายแต่ละเดือน 4,400 หาร 12 = 366.66 บาท ภาษีที่นำส่งไว้ขาดแต่ละเดือน (366.66 - 276.66 ) = 90.- บาท

จำนวนเดือนที่ส่งไว้ขาด คือ 5 เดือน (มกราคม - พฤษภาคม) ภาษีที่ต้องนำส่งเดือนมิถุนายน 366.66 + (90.00 X 5) = 816.66 บาท *** สรุป ผู้จ่ายเงินได้จะต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายของ นาย ก. ในกรณีนี้ ดังนี้ เดือนมกราคม ถึง พฤศจิกายน เดือนละ = 366.66 บาท เดือนธันวาคม = 276.73 บาท