งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

- ค่าธรรมเนียมต่างจากภาษี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "- ค่าธรรมเนียมต่างจากภาษี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 - ค่าธรรมเนียมต่างจากภาษี
ความหมายของภาษีอากร - ภาษีอากร คือ สิ่งที่รัฐบาลบังคับจัดเก็บจากราษฎรและนำไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนรวม โดยมิได้มีสิ่งตอบแทนโดยตรงแก่ผู้เสียภาษีอากร - ภาษีอากร คือ เงินได้หรือทรัพยากรที่เคลื่อนย้ายจากภาคเอกชนไปสู่ภาครัฐบาล แต่ไม่รวมถึงการกู้ยืมเงินหรือการขายสินค้า - ค่าธรรมเนียม คือ เงินที่ราชการเรียกเก็บจากประชาชนซึ่งได้ประโยชน์จากรัฐเฉพาะอย่าง เช่น ใบทะเบียนสมรส ค่าธรรมเนียมค่าปรับศาล - ค่าธรรมเนียมต่างจากภาษี อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

2 สรุป ลักษณะของภาษีอากรที่ดี 1. มีความเป็นธรรม 2. มีความแน่นอน ชัดเจน
1. มีความเป็นธรรม 2. มีความแน่นอน ชัดเจน 3. มีความสะดวก 4. มีประสิทธิภาพและประหยัด 5. มีความเป็นกลางทางเศรษฐกิจ 6. อำนวยรายได้ 7. มีความยืดหยุ่น (แต่อย่างไรก็ตามผู้มีหน้าที่เสียภาษีต้องมีจริยธรรม) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

3 สรุป วัตถุประสงค์ในการเก็บภาษีอากร
1. เป็นรายได้ของรัฐบาลเพื่อให้พอกับค่าใช้จ่ายของรัฐบาล 2.เป็นเครื่องมือสำคัญของรัฐบาลในการกระจ่ายรายได้ 3.ส่งเสริมความเจริญเติบโตธุรกิจการค้า 4.รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 5.ช่วยควบคุมการบริโภคของประชาชน อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

4 .แบบถดถอยหรือแบบถอยหลัง
อัตราภาษีอากร แบ่งเป็น 3 แบบใหญ่ ๆ คือ .แบบคงที่ .แบบก้าวหน้า .แบบถดถอยหรือแบบถอยหลัง อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

5 สรุป การแบ่งลักษณะภาษี
1. ภาษีทางตรง เช่น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล 2. ภาษีทางอ้อม ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสรรพสามิต ภาษีศุลกากร ความหมายของภาษีทางตรงต่างจากภาษีทางอ้อมอย่างไร อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

6 การประเมินจัดเก็บภาษีอากร 1. การหักภาษี ณ ที่จ่าย
คือกรณีที่กฎหมายกำหนดให้ผู้จ่ายเงินเป็นผู้ดำเนินการหักภาษีจากจำนวนเงินที่จ่ายก่อนจ่ายเงินได้ให้ผู้มีเงินได้ แล้วนำส่งต่อเจ้าพนักงานภายในเวลาที่กำหนด ภาษีที่ถูกหักไว้นี้ให้ถือเป็นเครดิตของผู้มีหน้าที่เสียภาษี ซึ่งสามารถนำไปหักออกจากจำนวนภาษี ที่ต้องเสีย เมื่อถึงกำหนดเวลาหรืออาจได้รับคืนถ้าถูกหักไว้เกินจำนวนที่ต้องเสีย เช่น อาจารย์จักรภัทร มีเงินได้ เดือนละ 32,000 บาท ถูกหักภาษีไว้เดือนละ 1,700 บาท อ.จักรภัทรสอนพิเศษที่ ม.เกษมบัณฑิต ก่อนที่ม.เกษมบัณฑิตจะจ่ายเงินต้องหักภาษีณ ที่จ่ายก่อนจ่ายเงินให้ อ.จักรภัทร อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

7 2. การประเมินภาษีด้วยตนเอง
คือกรณีที่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเป็นผู้ดำเนินการประเมินตนเองโดยประเมินหรือคำนวณตามวิธีการและภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม ยื่นแบบ ภ.พ. 30 ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดายื่นแบบ ภ.ง.ด.90,91 ภายในวันที่ 31 มีนาคม ของปีถัดไป เช่น อาจารย์จิรพันธ์ มีเงินได้เงินเดือนจากกรมสรรพากร เงินค่าสอนพิเศษวิชาภาษี ม.กรุงเทพ ม.พายัพ ม.วลัยลักษณ์ เงินจากค่าเช่าบ้านที่ดอนเมือง เงินค่าดอกเบี้ย ต้องเอาเงินได้ทั้งหมดมารวมกันแล้วคำนวณและยื่นแบบ ภ.ง.ด.90 ด้วยตัวเองภายในวันที่ 31 มีนาคม ของปีถัดไป ประเทศไทยใช้วิธีนี้ทุกประเภทภาษี อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

8 3. การประเมินภาษีด้วยพนักงาน
ประเทศอังกฤษใช้วิธีนี้ คือผู้เสียภาษีต้องแจ้งรายการเงินได้ที่ตัวเองได้รับทั้งหมดในปีภาษีต่อเจ้าพนักงานแล้วเจ้าพนักงานจะคำนวณภาษีให้ แล้วแจ้งยอดภาษีให้ทราบภายหลังว่าต้องเสียภาษีเท่าใด แล้วผู้เสียภาษีจึงไปชำระภาษีต่อไปโดยไม่ต้องคำนวณกรอกแบบภาษีด้วยตนเอง อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

9 4. ถูกเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ
กรณีนี้ คือ ผู้เสียภาษีส่วนใหญ่จะเสียภาษีวิธีที่ 1 คือถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย และวิธีที่ 2 คือประเมินภาษีด้วยตนเอง ต่อมาภายหลังเจ้าหน้าที่ตรวจสอบพบว่าไม่มีการยื่นเสียภาษี หรือยื่นแบบเสียภาษีแต่แจ้งเงินได้น้อยกว่าความเป็นจริง เจ้าหน้าที่จึงประเมินภาษีเพิ่มพร้อมทั้งทำโทษ คือมีเบี้ยปรับและเงินเพิ่ม พวกดารา นักร้อง นางแบบ ส่วนใหญ่จะถูกกรณีนี้คือ มีเงินได้แสดงหนัง ร้องเพลงถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายแล้ว นึกว่าเป็นคนดีแล้วเสียภาษีแล้วไม่ยื่นแบบ ภ.ง.ด.90 ด้วยตัวเองตามกรณี 2 สรรพากรตรวจสอบพบจึงดำเนินการประเมินภาษีพร้อมเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

10 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี (ม.56,57) 2. เงินได้พึงประเมินคืออะไร (ม.39) 3. แหล่งเงินได้พึงประเมิน(ม.41) 4. การยกเว้นภาษี(ม.42) 5. ประเภทเงินได้พึงประเมิน 40(1) – 40(8) 6. ค่าใช้จ่าย ม ทวิ) 7. ค่าลดหย่อนและบริจาค(ม.47) 8. อัตราภาษีและการคำนวณภาษี(ม.48) 8.1 คำนวณภาษีสิ้นปี คำนวณภาษีครึ่งปี 8.3 คำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ที่แยกคำนวณได้ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

11 ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
1. บุคคลธรรมดา หรือ บุคคลตามธรรมชาติ 2. ผู้ที่แก่ความตายระหว่างปีภาษี (ม.57 ทวิ) 3. กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง (ม.57 ทวิ วรรค2 ) 4. ห้างหุ้นส่วนสามัญที่ไม่ใช่นิติบุคคล 5. คณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคล (ม.56 วรรค 2) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

12 1. บุคคลธรรมดาหรือบุคคลตามธรรมชาติ
หมายถึง บุคคลที่มีชีวิต โดยสภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก และสิ้นสุดลงเมื่อถึงแก่ความตาย (ม.15 ป.พ.พ.) หากบุคคลดังกล่าวมีเงินได้ถึงเกณฑ์ต้องเสียภาษี โดยไม่คำนึงถึงเพศ วัย อายุ ชนชั้น ศาสนา(ม.56, 57, 57ทวิ) กรณีเงินได้ของสามีภรรยา ให้ถือว่าเงินได้ของภรรยาเป็นเงินได้ของสามี สามี มีหน้าที่ยื่นแบบเสียภาษี(ม.57ตรี,เบญจ)กรณีเงินได้ของบุตร ให้ถือเป็นของบุตรเอง เว้นแต่เงินได้ประเภทดอกเบี้ยเงินปันผล ให้ถือเป็นเงินได้ของบิดามารดา อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

13 2. ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี
คือก่อนตายมีเงินได้พึงประเมินถึงเกณฑ์ต้องเสียภาษี ผู้จัดการมรดก หรือทายาท เป็นผู้มีหน้าที่ยื่นแบบเสียภาษีแทน เช่น กรณี ล้อต๊อก ตาย ตุลาคม 2545 เงินได้ตั้งแต่ มกราคม – กันยายน 2545 ถึงเกณฑ์ต้องเสียภาษี ภรรยาชื่อน้องอั๋น ต้องยื่นแบบชำระภาษีแทน มค. มีค กย ธค. เล่นตลก xxxx ลิขสิทธิ์ตลก xxxx ลิขสิทธิ์แดรกคูล่าต็อก xxxx ดอกเบี้ย xxxx ค่าเช่า xxxx รวม xxxxxxx อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

14 3. กองมรดกยังไม่ได้แบ่ง
ในปีภาษีถัดจากปีที่เจ้าของมรดกถึงแก่ความตาย และกองมรดกนั้นยังไม่ได้แบ่งให้กับทายาทคนใดคนหนึ่งโดยเด็ดขาด และกองมรดกก่อให้เกิดเงินได้พึงประเมินเกิดขึ้นถึงเกณฑ์ขั้นต่ำ กองมรดกถือเป็นหน่วยหนึ่งที่ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วย โดย ผู้จัดการมรดกเป็นผู้ยื่นแบบเสียภาษีในนามกองมรดกยังไม่ได้แบ่ง อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

15 4.ห้างหุ้นส่วนสามัญที่มิใช่นิติบุคคล
หมายถึงการที่บุคคลธรรมดาตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ตกลงเข้าทุนกันไม่ว่าจะเป็น ลงเงิน แรงงาน ลงสินทรัพย์ ลงมันสมองความคิด เพื่อกระทำกิจกรรมร่วมกันโดยมี วัตถุประสงค์เพื่อจะแบ่งปันผลกำไรที่พึงได้จากกิจการที่ทำร่วมกัน เช่น นักศึกษา 4 คนรวมตัวกันลงเงินลงเเรงลงความคิดตั้ง ร้านคาร์แคร์รับจ้างล้างรถ มีวัตถุประสงค์แบ่งกำไร โดยผู้จัดการห้างหุ้นส่วนเป็นผู้ยื่นแบบเสียภาษี(ม.56 วรรค2) ส่วนคณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคล ก็มีลักษณะเหมือนกันแต่วัตถุประสงค์ไม่มุ่งค้าหากำไรเช่น ม.กรุงเทพฯ จัดแสดงละครแล้วนำรายได้ไปบริจาคน้ำท่วม หรือพวกวงดนตรีต่าง ๆ เช่น Impossible เบิรด์กะฮารต์ U4 F4 ฯลฯ โดยผู้จัดการคณะบุคคลเป็นผู้ยื่นแบบเสียภาษี อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

16 5.คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
มีลักษณะเหมือนกับห้างหุ้นส่วนสามัญ ต่างกันแต่เพียงในด้านวัตถุประสงค์ คือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคลไม่จำเป็นต้องมีวัตถุประสงค์ที่จะแบ่งปันผลกำไรที่จะพึงได้แต่กิจการที่ทำร่วมกัน ตังอย่าง เช่น นักศึกษา ม.เกษมบัณฑิตจัดการแสดงเพื่อหารายได้นำไปบริจาคให้แก่ครูทีอยู่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ คณะผู้จัดการแสดงอยู่ในข่ายต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในชื่อคณะบุคคล อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

17 1. เงิน เช่น เงินตรา เหรียญ การโอนเงินเข้าบัญชี
เงินได้พึงประเมิน (ม.39) คือ เงินได้อันพึงเข้าลักษณะต้องเสียภาษีตาม มาตรา 39 1. เงิน เช่น เงินตรา เหรียญ การโอนเงินเข้าบัญชี 2. ทรัพย์สิน ที่คำนวณเป็นเงินได้ เกณฑ์เงินสด 3. ประโยชน์ ที่คำนวณเป็นเงินได้ เกณฑ์เงินสด 4. ภาษีที่ออกให้ เครดิตเงินปันผล (ตามม.47ทวิ) และอื่น ๆ ตามที่กม.กำหนด อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

18 ประโยชน์ที่อาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน
โดยคำนวณประโยชน์เพิ่มของลูกจ้างเป็นเงินได้พึงประเมินในอัตราร้อยละ 20 ของเงินเดือนหรือค่าจ้างรวมทั้งเงินเพิ่มตลอดปี(ถ้ามี)แต่ไม่รวมโบนัส ตัวอย่าง นายวิโรจน์เป็นพนักงานประจำของธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) สาขาเชียงราย มีเงินเดือนๆ ละ 5,000 บาท และได้รับเงินเพิ่มเนื่องจากปฏิบัติงานอยู่ในท้องถิ่น กันดารอีกเดือนละ 500 บาท ปลายปีได้โบบัส 8,000 บาท และนายวิโรจน์ได้พัก อยู่ชั้นบนของอาคารธนาคารที่จัดไว้เป็นที่พักพนักงานโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย จงคำนวณ มูลค่าประโยชน์เพิ่มที่นายวิโรจน์ได้รับจากการพักอาศัยในบ้านพักของนายจ้าง อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

19 วิธีทำ เงินเดือนของนายวิโรจน์ตลอดปี =12x5,000 = 60,000 บาท
รวมเงินได้ตลอดปี =60,000+6,000 =66,000 บาท มูลค่าประโยชน์เพิ่ม (20%) =66,000X20=13,200 บาท 100 หมายเหตุ การคำนวณมูลค่าประโยชน์เพิ่มนี้ไม่รวมเงินโบนัสที่ได้รับเป็นรายปี อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

20 ตัวอย่าง ได้รับเงินปันผลเป็นเงิน 63,000 บาท จากกำไรสุทธิส่วนที่บริษัทฯ ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 30 ผู้มีเงินได้จะได้รับเครดิตภาษีเงินปันผลเท่ากับ 63,000x =27,000 บาท 100-30 เครดิตภาษีเงินปันผล 27,000 บาทนี้ กฎหมายให้ถือเป็นเงินได้พึงประเมินของผู้มีเงินได้ด้วย ดังนั้น เงินปันผล 63,000 บาท บวกด้วยเครดิตภาษี 27,000 บาท รวมเป็นเงินได้พึงประเมิน 90,000 บาท และเมื่อคำนวณเป็นภาษีทั้งสินเท่าใด ให้นำเครดิตภาษี 27,000 บาท หักออกจากภาษีที่ต้องเสีย อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

21 หลักในการจัดเก็บภาษี
1.หลักถิ่นที่อยู่ (Resident Rule) 2.หลักแหล่งเงินได้ (Income Source Rule) 3.หลักสัญชาติ (Nationality Rule) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

22 หลักแหล่งเงินได้ (Income Source Rule)
คือการบังคับจัดเก็บภาษีจากผู้ที่มีเงินได้เกิดขึ้นจากแหล่งในรัฐนั้น มีหน้าที่ เสียภาษีให้รัฐนั้นๆ ไม่ว่าเงินได้พึงประเมินนั้นจะจ่ายในหรือนอกประเทศและไม่ว่าผู้มี เงินได้นั้นจะอยู่ในรัฐนั้นกี่วันก็ตาม เงินได้ที่เกิดขึ้นอาจเกิดจากหน้าที่การงาน หรือกิจการ ที่ทำ หรือกิจการของนายจ้าง หรือเกิดจากทรัพย์สินที่มีอยู่ เช่น ดอกเบี้ย เงินปันผล ค่าเช่า เช่น ปี 2545 TIGER WOODS มาตีกอล์ฟเมืองไทยอยู่ไทย 9 วัน ได้เงินรางวัล 100 ล้านบาท และในรอบปี 2545 มีเงินรางวัล + สปอนเซอร์ในประเทศอังกฤษและ USA อีก 2,000 ล้านบาทจะต้องเสียภาษีให้กับไทยส่วนไหนบ้าง อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

23 หลักถิ่นที่อยู่ (Resident Rule)
คือการบังคับจัดเก็บภาษีเงินได้จากผู้ที่อาศัยอยู่ในรัฐใดรัฐหนึ่งและนำเงินได้จากแหล่งอื่นเข้ามาในรัฐนั้น โดยคำว่า “ผู้อาศัยอยู่ในรัฐ” หมายความถึง “เป็นบุคคลที่อยู่ในรัฐนั้นชั่วระยะเวลาหนึ่งหรือหลายระยะเวลารวมทั้งหมดถึง 180 วันในปีภาษี” เช่น ปี 2545 TIGER WOODS มาตีกอล์ฟเมืองไทย อยู่ไทย 9 วัน ได้เงินรางวัล 100 ล้านบาท และในรอบปี 2549 มีเงินรางวัล + สปอนเซอร์ในประเทศอังกฤษและ USA อีก 2,000 ล้านบาทจะต้องเสียภาษีให้กับไทยส่วนไหนบ้าง อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

24 หลักสัญชาติ (Nationlity Rule)
หลักในการจัดเก็บภาษีแบบนี้มีบางประเทศเท่านั้น จะบังคับจัดเก็บ เช่น USA คือใครก็ตามถือสัญชาติ USA จะไปทำงานมีเงินได้ที่ใดก็ตามในโลกนี้ เมื่อมีเงินได้เกิดขึ้นต้องเสียภาษีเงินได้ให้ USA ด้วย ซึ่ง USA คนที่เคยเสียภาษีแล้วต่อมาไม่มีเงินได้ รัฐจะมีสวัสดิการช่วยเหลืออีกด้วย อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

25 แหล่งเงินได้ (ม.41) ภายในประเทศ Income Source Rule ภายนอกประเทศ
Resident Rule อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

26 เงินได้ภายในประเทศ (Income Source Rule)
เงินได้ที่เกิดจาก 1. หน้าที่งานที่ทำในประเทศ 2. กิจการที่ทำในประเทศ 3. กิจการของนายจ้างในประเทศ 4. ทรัพย์สินที่อยู่ในประเทศ (เช่น ดอกเบี้ย เงินปันผล ค่าเช่า) ไม่ว่าจะอยู่ในไทยกี่วันก็ตาม และไม่ว่าจะได้รับเงินในหรือนอกประเทศไทยก็ตาม อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

27 เงินได้ภายนอกประเทศ (Resident Rule)
เงื่อนไข 1. เงินได้ที่เกิดจาก 1.1 หน้าที่งานที่ทำในต่างประเทศ 1.2 กิจการที่ทำในต่างประเทศ 1.3 ทรัพย์สินที่อยู่ในต่างประเทศ และ 2. ต้องนำเงินได้เข้ามาในไทย และ 3. เป็นผู้อยู่ในประเทศ ( อาศัยอยู่ในประเทศไทย ครั้งหนึ่ง หรือหลายครั้งในปีภาษีเกิน 180 วัน) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

28 กรณีมีหน้าที่การงานทีทำในประเทศไทย
ตัวอย่าง กรณีมีหน้าที่การงานทีทำในประเทศไทย นายเดชเป็นลูกจ้างบริษัทแห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพฯนายเดชทำงานประจำอยู่ทีบริษัทเงินเดือนหรือผลประโยชน์ใดๆที่นายเดชได้จากบริษัทต้องเสียภาษีไม่ว่าบริษัทจะจ่ายให้แก่นายเดชในหรือนอกประเทศ เพราะเดชมีเงินได้จากหน้าที่การงานที่ทำอยู่ในประเทศไทย อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

29 กรณีมีกิจการที่ทำในประเทศไทย
ตัวอย่าง กรณีมีกิจการที่ทำในประเทศไทย นายโอชิอยู่ประเทศญี่ปุ่นได้มาเปิดกิจการร้านอาหารประเทศไทยเงินได้จากการจำหน่ายสินค้าในประเทศไทยนี้นายโอชิจะต้องเสียภาษีเงินได้ ไม่ว่านายโอชิจะเข้ามาอยู่ในประเทศไทยหรือไม่ก็ตามเพราะเขามีเงินได้จากการมีกิจการในประเทศไทย อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

30 กรณีกิจการของนายจ้างในประเทศไทย
ตัวอย่าง กรณีกิจการของนายจ้างในประเทศไทย นายณรงค์เป็นลูกจ้างพนักงานประจำทำงานอยู่ในบริษัทแห่งหนึ่งในประเทศไทยแล้วบริษัทส่งไปประจำทำงานอยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา นายณรงค์ จะต้องเสียภาษีเงินได้เพราะมีเงินได้จากกิจการของนายจ้างในประเทศไทย อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

31 กรณีมีทรัพย์สินในประเทศไทย
ตัวอย่าง กรณีมีทรัพย์สินในประเทศไทย นายบิลเกตส์อยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา มีบ้านอยู่ที่ภูเก็ตโดยมอบให้นายดำดูแลผลประโยชน์เก็บค่าเช่าส่งไปที่สหรัฐอเมริกา นายบิลเกตส์ต้องเสียภาษีในประเทศไทยเพราะมีเงินได้จากทรัพย์สินในประเทศไทย อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

32 กรณีแหล่งเงินได้นอกประเทศไทย
ตัวอย่าง กรณีแหล่งเงินได้นอกประเทศไทย นายบอลไปทำงานในประเทศตะวันออกกลางแล้วส่งเงินมาให้ครอบครัวในประเทศไทยทุกๆ เดือนละ 20,000 บาท นายบอลไม่ต้องเสียภาษีในประเทศไทย เพราะไม่ได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทยแม้นำเงินได้เข้ามาก็ตาม อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

33 กรณีแหล่งเงินได้นอกประเทศไทย
ตัวอย่าง กรณีแหล่งเงินได้นอกประเทศไทย ในปี 2550 นางสาวปนัดดาเดินทางไปประกวดมิสยูนิเวิร์สที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ใช้เวลาฝึกซ้อมและประกวดเป็นเวลา 2 เดือน เมื่อได้รับตำแห่งแล้วเดินทางกลับประเทศไทย อยู่ในประเทศไทย 20 วัน แล้วต้องเดินทางไปประกอบภารกิจในประเทศต่างๆเป็นเวลา 6 เดือน จึงเดินทางกลับประเทศไทยพร้อมเงินรางวัล 5,000,000 บาท ดังนี้ นางปนัดดาต้องเสียภาษีในประเทศไทยหรือไม่ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

34 บุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
1. ตามข้อผูกพันที่รัฐบาลไทยมีอยู่ตามสัญญาความร่วมมือทางเศรษฐกิจ หรือทางเทคนิคกับรัฐบาลต่างประเทศ ( พรฎ.9/2499) 2. องค์การและทบวงการชำนัญพิเศษสหประชาชาติ, เจ้าหน้าที่, ผู้เชี่ยวชาญขององค์การหรือทบวงการดังกล่าว ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในไทยตามข้อผูกพันในอนุสัญญาหรือความตกลง (พรฎ.10/2500) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

35 4. บุคคลที่ได้รับการยกเว้นภาษีตามอนุสัญญาภาษีซ้อน
3. สถานเอกอัครราชทูต สถานทูต สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล บุคคลในคณะทูตในคณะกงสุล ตามข้อตกลงตามหลักถ้อยที่ถ้อยปฏิบัติต่อกัน ( พ.ร.ฎ.10/2500) 4. บุคคลที่ได้รับการยกเว้นภาษีตามอนุสัญญาภาษีซ้อน 5. บุคคลตามความตกลงกับองค์การรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ผอ.ซีเบส, พนักงานระหว่างประเทศ ตามความเห็นชอบจากเจ้าหน้าที่ไทย, ผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษาซีเบส (ประกาศคณะปฏิวัติ 17/2515) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

36 6. เงินได้ที่ผู้ว่าการ ผู้ว่าการสำรอง กรรมการ กรรมการสำรอง พนักงาน ลูกจ้าง ผู้เชี่ยวชาญของธนาคารพัฒนาเอเชีย (พ.ร.บ.ให้อำนาจปฏิบัติการเกี่ยวกับธนาคารพัฒนา เอเซีย 2509) 7. บุคคลธรรมดาสัญชาติอเมริกันของบริษัทฯ นิติบุคคลของสหรัฐฯ ตามโครงการเงื่อนไขที่รัฐบาลไทยเห็นชอบ (คำสั่งหัวหน้าคณะปฏิวัติ 79/2515) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

37 เงินได้พึงประเมินที่ได้รับการยกเว้น
1. ตามประมวลฯ มาตรา 42 2. กฎกระทรวง 126 3. พระราชกฤษฎีกา 4. กฎหมายอื่น ๆ เช่น พระราชบัญญัติส่งเสริม 5. ประกาศ คำสั่ง คณะปฏิวัติ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

38 เงินได้ที่รับการยกเว้น(มาตรา 42)
1. ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะ ที่เอกชนจ่ายให้ตามความจำเป็นในการปฏิบัติงานและจ่ายหมดไปเพื่องานนั้น 2. ค่าพาหนะ เบี้ยเลี้ยง ที่รัฐบาลจ่ายให้ข้าราชการ เพื่อการไปปฏิบัติราชการนอกท้องที่เช่น ค่าเบี้ยเลี้ยง C1 – C3 – C9 ขึ้นไป 200 ค่าที่พัก (ในประเทศ) C1 – C3 – C9 ขึ้นไป 2,400 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

39 3. ค่าเดินทางของลูกจ้างที่มารับงานครั้งแรก และกลับเมื่องานสิ้นสุดลง
3. ค่าเดินทางของลูกจ้างที่มารับงานครั้งแรก และกลับเมื่องานสิ้นสุดลง 4. ยกเลิก 5. เงินเพิ่มพิเศษประจำตำแหน่ง ค่าเช่าบ้านของทูตไทยที่อยู่ต่างประเทศ 6. ขายแสตมป์ 7. เบี้ยประชุม ค่าสอน ค่าสอบ ที่ทางราชการจ่าย เงื่อนไข ต้องเป็นรายครั้ง 40(2) ไม่ประชุม ไม่สอน ไม่สอบไม่จ่าย เช่น สอนราม สอนจุฬา อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

40 12. บำนาญพิเศษ บำเหน็จตกทอด 13. ค่าสินไหมจากการละเมิด
8. ดอกเบี้ยออมทรัพย์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 20,000 บาท ขายสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดก เงินได้จากการอุปการะหน้าที่ธรรมจรรยา เงินได้จากมรดกโดยเสน่หา ขนบธรรมเนียมประเพณี 11. รางวัลเพื่อการศึกษา ค้นคว้า ประกวด แข่งขัน รางวัลจากสลากกินแบ่งรัฐบาล รางวัลจากสลากออมสินรัฐบาล 12. บำนาญพิเศษ บำเหน็จตกทอด 13. ค่าสินไหมจากการละเมิด (ละเมิด คือ ประมาทเลินเล่อให้ผู้อื่นเสียหายซึ่งต้องชดใช้ค่าเสียหายทดแทนให้คงสภาพเดิม) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

41 14. เงินส่วนแบ่งกำไร ห้างหุ้นส่วนสามัญ คณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคล
14. เงินส่วนแบ่งกำไร ห้างหุ้นส่วนสามัญ คณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคล 15. การขายข้าวของชาวนา 16. เงินได้จากกองมรดก ( ที่เคยเสียภาษีแล้ว) 17. กฎกระทรวง 126 18. รางวัลสลากกาชาดไทย 19. ดอกเบี้ยตาม ม. 4 ทศ 20. – 21. – 22. ยกเลิก เงินได้จากการขายหน่วยลงทุนในกองทุนรวม เงินได้ของกองทุนรวม ประโยชน์ทดแทนจากกองทุนประกันสังคม อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

42 การยกเว้นภาษีเงินได้ จากรายรับตามกฎกระทรวง 126
1.โรงเรียนราษฎร์ 2.การจำหน่ายสลากกินแบ่งรัฐบาล 3.ค่าจ้างทำงานระหว่างปิดภาคการศึกษาของนักศึกษาต่างด้าวในไทย 4.ค่ารักษาพยาบาลที่นายจ้างให้ลูกจ้าง คู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

43 6.เงินค่าเช่าบ้าน ค่าศึกษาบุตรที่ราชการจ่าย 7.ยกเลิก
5.ยกเลิก 6.เงินค่าเช่าบ้าน ค่าศึกษาบุตรที่ราชการจ่าย 7.ยกเลิก 8.เงินค่าเช่าบ้านที่รัฐวิสาหกิจจ่าย 9.เงินช่วยเหลือบุตร ค่าการศึกษาบุตร ที่รัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจจ่ายให้ 10.รางวัลเพื่อการป้องกันมิให้กระทำผิดทางภาษีอากรที่ราชการจ่าย 11.– 13. อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

44 (14) เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดกหรือได้มาโดยเสน่หา อยู่นอกเขตเทศบาลและสุขาภิบาล เฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 200,000 บาท (15) เงินได้จากการโอนกรรมสิทธิอสังหาริมทรัพย์ ให้แก่บุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย (ไม่รวมบุตรบุญธรรม) โดยไม่มี ค่าตอบแทน (24) เงินได้จากมูลค่าของเครื่องแบบที่ลูกจ้างได้รับจากนายจ้าง ในจำนวนคนละไม่เกิน 2 ชุดต่อปี (ถ้าเป็นเสื้อนอกไม่เกิน 1 ตัวต่อปี) (25) เงินได้เท่าที่ลูกจ้างจ่ายเป็นเงินสะสมเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพตามกฎหมายว่าด้วย กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ในอัตราไม่เกิน 15 % ของค่าจ้างเฉพาะส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 290,000 บาท อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

45 (28) เงินได้เท่าที่สมาชิกกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการจ่ายเป็นเงินสะสมเข้ากองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการเฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 300,000 บาท (33) เงินได้เท่าที่จ่ายเป็นดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อซื้อ เช่าซื้อ หรือสร้างอาคารที่อยู่อาศัย จากธนาคาร สถาบันการเงิน บริษัท สหกรณ์ ฯลฯ เฉพาะส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่ เกิน 100,000 บาท (40) เงินได้เท่าที่จ่ายเป็นเบี้ยประกันสำหรับการประกันชีวิตของผู้มีเงินได้ตามจ่ายจริงเฉพาะส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 40,000 บาท ตามหลักเกณฑ์ของกรมสรรพากร อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

46 การแบ่งประเภทของเงินได้ ตามมาตรา 40
มาตรา 40 (1) เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 เงินได้จากการจ้างแรงงาน ไม่ว่าจะเป็น เงินเดือน ค่าจ้าง เบี้ยเลี้ยง โบนัส เบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญ, เงินค่าเช่าบ้านที่ได้รับจากนายจ้าง หรือ นายจ้างให้อยู่บ้านพักฟรี, เงินที่นายจ้างชำระหนี้ใด ๆ ซึ่งลูกจ้างมีหน้าที่ต้องชำระ เช่น ภาษีที่บริษัทออกให้, เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์ใด ๆ บรรดาที่ได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน เช่น กินอาหารฟรี ชุดทำงานฟรี รถประจำตำแหน่งฯ เช่น ทำงานในบริษัทXYZแล้วได้เงินเดือน 50,000บาท ค่าที่พักเดือนละ10,000บาท โบนัสปีละ 200,000บาท อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

47 มาตรา 40(2)เงินได้พึงประเมินประเภทที่2
เงินได้เนื่องจากหน้าที่หรือตำแหน่งงานที่ทำ หรือจากการรับทำงานให้ไม่ว่าจะเป็นค่าธรรมเนียม ค่านายหน้า ค่าส่วนลด เงินอุดหนุนในงานที่ทำ เบี้ยประชุม บำเหน็จ โบนัส, เงินค่าเช่าบ้านที่ได้รับจากนายจ้าง หรือนายจ้างให้อยู่บ้านพักฟรี, เงินที่นายจ้างชำระหนี้ใด ๆ ซึ่งลูกจ้างมีหน้าที่ต้องชำระ เช่น ภาษีที่นายจ้างออกแทนให้, เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์ใด ๆ บรรดาที่ได้เนื่องจากหน้าที่งาน ตำแหน่งงานที่ทำ หรือการรับจ้างทำงานให้ เช่นขายประกัน AIA, ขาย มิสทีน ขาย แอมเวย์ หรือ อ. จักรภัทรเป็น อาจารย์พิเศษที่ม.กรุงเทพฯ ม.ABAC ม.เกษมบัณฑิตย์ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

48 มาตรา 40 (3) เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 3
เงินได้ที่เกิดขึ้นเนื่องจากเป็นเงินค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิ์ หรือสิทธิอย่างอื่น เงินปี เงินได้ที่มีลักษณะเป็นเงินรายปีอันได้มาจากพินัยกรรม นิติกรรมอย่างอื่น หรือคำพิพากษาของศาล มาตรา 40 (4) เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 4 เงินได้ที่เกิดขึ้นเนื่องจาก ดอกเบี้ยต่าง ๆ ดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยหุ้นกู้ ดอกเบี้ยตั๋วเงิน ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม, เงินปันผล ส่วนแบ่งกำไร ฯ, เงินโบนัสที่จ่ายแก่ผู้ถือหุ้น, เงินลดทุน เพิ่มทุน ของบริษัทหรือนิติบุคคล, ผลประโยชน์จากการโอนหุ้น หุ้นกู้ พันธบัตร อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

49 การประกอบโรคศิลป หมอ, หมอฟัน
มาตรา40(5) เงินได้พึงประเมินประเภทที่ เงินหรือประโยชน์อย่างอื่น ที่เกิดขึ้นเนื่องจาก การให้เช่าทรัพย์สิน (บ้านเรือน สิ่งปลูกสร้าง ตึกแถว หอพักฯ) ที่ดิน ที่ดินที่ใช้ในการเกษตร ที่ดินที่ไม่ใช้ในการเกษตร, ยานพาหนะ, ทรัพย์สินอย่างอื่น, การผิดสัญญาเช่าซื้อทรัพย์สิน, การผิดสัญญาซื้อขายเงินผ่อน มาตรา 40(6) เงินได้พึงประเมินประเภทที่ เงินได้ที่เกิดขึ้นจากวิชาชีพอิสระ ได้แก่ การประกอบโรคศิลป หมอ, หมอฟัน วิชากฎหมาย (ทนายความ) วิศวกรรม, สถาปัตยกรรม, การบัญชี (ผู้สอบบัญชี), การประณีตศิลปกรรม อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

50 มาตรา 40(7) เงินได้พึงประเมินประเภทที่ เงินได้ที่เกิดขึ้นเนื่องจาก การรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องลงทุนด้วย การจัดหาสัมภาระให้ส่วนสำคัญนอกจากเครื่องมือ เช่น รับเหมา สร้างตึก สร้างถนน สาธารณูปโภค ฯลฯ มาตรา 40(8) เงินได้พึงประเมินประเภทที่ เงินได้ที่เกิดขึ้นที่ไม่ใช่ 40(1) – 40(7) เป็นเงินได้จากธุรกิจการพาณิชย์, การเกษตร, การอุตสาหกรรม, การขนส่ง ฯลฯ เช่น ขายก๋วยเตี๋ยว, โอเลี้ยง, โรงแรม, ภัตตาคาร, โรงพิมพ์, โรงกลึง, สีข้าว, ฆ่าสัตว์, โรงโม่, ตัดเย็บเสื้อผ้า, ตัดผมเสริมสวย รวมไปถึง นักร้องนักแสดง ฯลฯ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

51 ประโยชน์ของการแบ่งเงินได้เป็น 8 ประเภท
1.คำนวณหักค่าใช้จ่าย แยกตามแต่ละประเภทของเงินไค้ 2.กำหนดวิธีคำนวณ ถ้า 40 (2) – (8) ตั้งแต่ 6 หมื่นบาทขึ้นไป ต้องคำนวณ 1,000 ละ 5 ด้วย (ภาษีขั้นต่ำ) (ม.48(2)) 3.กำหนดหน้าที่เสียภาษีครึ่งปี สำหรับเงินได้ 40(5)- 40(8) 4.เพื่อการคำนวณและกำหนดหน้าที่ เงินได้ประเภท 40 (1) ของสามี – ภริยา มีสิทธิ์เลือกยื่นรวมหรือแยกยื่นก็ได้ 5.กำหนดแบบฯ ที่ยื่น ภงด.90, ภงด.91 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

52 กฎหมายกำหนดให้มีค่าใช้จ่ายแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
ค่าใช้จ่าย (ม.42ทวิ-ม.46) ค่าใช้จ่ายในระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คือ ต้นทุนในการได้มาซึ่งเงินได้ มีความสัมพันธ์กับประเภทของเงินได้ แปรเปลี่ยนไปตามแต่ละประเภทของเงินได้ กฎหมายกำหนดให้มีค่าใช้จ่ายแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1.ค่าใช้จ่ายเป็นการเหมา เช่น 20% 30% 40% 50% 70% ของเงินได้ใช้กับทุกประเภทของเงินได้ 40 (1) – 40 (8) 2.ค่าใช้จ่ายตามจ่ายจริงและตามสมควร (โดยมีเอกสารรับ – จ่ายเงินแสดงด้วย) โดยให้หักค่าใช้จ่ายได้ตามที่มีการจ่ายจริงในการหารายได้ใช้กับเงินได้พึงประเมิน 40 (5) – 40 (8) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

53 กฎหมายกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายเหมาแบ่งตามประเภทเงินได้ดังนี้
40 (1) หักค่าใช้จ่ายได้ 40% แต่ไม่เกิน 60,000 (ม.42ทวิ) 40 (2) หักค่าใช้จ่ายได้ 40% แต่ไม่เกิน 60,000 (ม.42ทวิ) ถ้าเป็น 40(1) + (2) หักค่าใช้จ่ายได้รวม 40% แต่ไม่เกิน 60,000 40 (3) หักค่าใช้จ่ายไม่ได้ เว้นแต่ค่าแห่งลิขสิทธิ์หักค่าลดหย่อนได้ 40% แต่ไม่เกิน 60,000 บาท(ม.42ตรี) 40 (4) หักค่าใช้จ่ายไม่ได้ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

54 การผิดสัญญาเช่าซื้อทรัพย์สิน 20% การผิดสัญญาซื้อขายเงินผ่อน 20%
40 (5) ค่าเช่าบ้าน โรงเรือนฯ หักค่าใช้จ่ายได้ 30% ค่าเช่าที่ดิน เพื่อการเกษตร 20% ไม่ใช่การเกษตร 15% ยานพาหนะ 30% ทรัพย์สินอย่างอื่น 10% (ตาม ม.43) การผิดสัญญาเช่าซื้อทรัพย์สิน % การผิดสัญญาซื้อขายเงินผ่อน 20% 40 (6) เงินได้จากการประกอบโรคศิลป์ 60% (ม.44) - วิศวะ สถาปัตย์ การบัญชี ฯ 30% 40 (7) หักค่าใช้จ่ายได้ % (ม.45) 40 (8) ตามที่กฎหมายกำหนด(ม.46 , พฏก.ฉบับ 11) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

55 ค่าลดหย่อน(ม.47) ค่าลดหย่อน คือ เงินจำนวนหนึ่งที่กฎหมายกำหนดให้นำไปหักออกจากเงินได้หลังหักค่าใช้จ่ายไม่มีความสัมพันธ์กับเงินได้แต่มีความสัมพันธุ์กับสถานะของบุคคล เช่นโสดหรือมีครอบครัวและให้ความสำคัญกับธุรกรรมบางอย่างที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมเช่น ประกันชีวิตหรือการบริจาค อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

56 วัตถุประสงค์ของการหักค่าลดหย่อน
- ช่วยครองชีพขั้นต่ำ - แสดงความสามารถในการเสียภาษี - ส่งเสริมธุรกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม เช่นการบริจาค ประกันชีวิต กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

57 รายการหักลดหย่อนกรณีต่าง ๆ มีดังนี้
ค่าลดหย่อน 1. ผู้มีเงินได้ส่วนตัว ,000 2.คู่สมรส (สามี/ภริยาของผู้มีเงินได้) ,000 3. บุตร (มีเงื่อนไข) คนละ ,000 4. เบี้ยประกันชีวิต (มีเงื่อนไข) ตามจ่ายจริง < 50,000 5. เงินสะสมที่จ่ายเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ < 10,000 หักค่าลดหย่อนตามจ่ายจริงแต่ไม่เกิน10,000บาท (ส่วนที่เกิน 10,000 แต่ไม่เกิน 290,000ให้ถือเป็นเงินได้ที่ได้รับการยกเว้น) ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อที่อยู่อาศัย ตามจ่ายจริง < 50,000 (มีเงื่อนไข) 7. เงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม ตามจ่ายจริง อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

58 9. กรณีผู้ถึงแก่ความตาย 30,000 บาท 10. กองมรดกยังไม่ได้แบ่ง 30,000 บาท
8. เงินที่นำไปซื้อหน่วยกองทุนรวมสำรองเลี้ยงชีพนำมาถือเป็นค่าลดหย่อนได้ตามจ่ายจริงแต่ไม่เกิน 15% ของเงินได้พึงประเมินหรือไม่เกิน 300,000 บ. 9. กรณีผู้ถึงแก่ความตาย 30,000 บาท 10. กองมรดกยังไม่ได้แบ่ง 30,000 บาท 11. ห้างหุ้นส่วนสามัญและคณะบุคคล คนละ 30,000 บาท แต่รวมกันต้องไม่เกิน 60,000 บาท 12. กรณีสามี-ภริยา ต่างฝ่ายต่างมีเงินได้ถ้ายื่นภาษีรวมหักได้ 60,000 ถ้าแยกยื่นภาษีคนละ 30,000 และลดหย่อนอื่นต่างหักได้คนละหนึ่งตามเกณฑ์ 13. กรณีผู้มีเงินได้ไม่ได้อยู่ในไทยหักได้เฉพาะสามีหรือภริยาหรือบุตรที่อยู่ในไทยเท่านั้น 14. เงินบริจาค หักค่าลดหย่อนได้ตามจ่ายจริง (มีเงื่อนไข) กรณีบุพการีที่ไม่มีเงินได้หักค่าลดหย่อนคนละ 30,000แต่ไม่เกิน120,000บ กรณี ผู้มีเงินได้มีอายุ65ปีได้สิทธิหักค่าลดหย่อนคนละ 30,000 บาท อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

59 เงื่อนไขการหักค่าลดหย่อนบุตร
1. ต้องเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย หรือบุตรบุญธรรม ของผู้มีเงินได้ รวมทั้งบุตรของสามีหรือภริยาของผู้มีเงินได้และยังมีชีวิตอยู่ 2. ต้องไม่มีเงินได้ถึง 15,000 บาท ในปีภาษี 3. ต้องเป็นผู้เยาว์อายุไม่ถึง 20 หากอายุ 20 แต่ไม่เกิน 25 ต้องศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยหรือขั้นอุดมศึกษา รวมถึงบุตรที่เสมือนไร้ความสามารถที่อุปการะเลี้ยงดู 4. บุตรถ้าศึกษาอยู่ในไทยหักเพิ่มได้อีก 2,000 บาท 5. บุตรที่เกิดก่อนหรือใน พ.ศ ถ้าอยู่ในเงื่อนไข 1-4 หักค่าลดหย่อนได้ทุกคน บุตรเกิดหลังปี พ.ศ หักค่าลดหย่อนได้ไม่เกิน 3 คน เรียงตามลำดับอายุสูงสุดของบุตร อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

60 เงื่อนไขการหักค่าลดหย่อนเบี้ยประกันชีวิต
1. ต้องประกันชีวิตกับบริษัทประกันชีวิตที่จดทะเบียนในไทย 2. กรมธรรม์ชีวิตต้อง 10 ปีขึ้นไป 3. หักค่าลดหย่อนได้ตามจ่ายจริงแต่ไม่เกิน 50,000 บาท 4. คู่สมรสหากอยู่ในเงื่อนไข 1-3 ก็หักค่าลดหย่อนได้ คู่สมรสถ้ามีเงินได้หักค่าลดหย่อนได้รวมไม่เกิน 50,000บาท แต่ถ้าคู่สมรสไม่มีเงินได้หักค่าลดหย่อนได้ไม่เกิน 10,000บาท อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

61 เงื่อนไขการหักค่าลดหย่อนเงินกู้ยืมเพื่อที่อยู่อาศัย
1. ต้องกู้และจ่ายดอกเบี้ยให้กับสถาบันทางการเงิน ไทย บริษัทประกันชีวิตหรือบริษัทที่ทำงานอยู่ รวมถึงสหกรณ์ 2. ต้องกู้มาเพื่อซื้อ - เช่าซื้อ อาคาร+ที่ดิน ห้องชุด หรือสร้างอาคารที่อยู่อาศัยในที่ของตัวเอง 3. ถ้ากู้เงินร่วมกันต้องเฉลี่ยตามส่วน สามี-ภรรยาถ้ามีเงินได้ด้วยกันทั้งคู่ต้องเฉลี่ยคนละครึ่ง 4. หักลดหย่อนได้ตามจ่ายจริงแต่ไม่เกิน 50,000 และไม่จำเป็นต้องมีชื่อในทะเบียนบ้านก็ได้ และยังรวมไปถึงบ้านหลังที่2 และการรีไฟแนนซ์ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

62 เงื่อนไขการหักค่าลดหย่อนบุพการี
1. ต้องเป็นบิดา/มารดาของผู้มีเงินได้หรือบิดา/มารดาของคู่สมรส 2. บิดา/มารดาของผู้มีเงินได้หรือบิดา/มารดาของคู่สมรส ต้องไม่มีเงินได้ถึง 30,000บาทในปีภาษี 3. หักลดหย่อนได้คนละ 30,000บาทแต่ไม่เกิน 120,000บาท 3. ถ้าบุตรคนใดใช้สิทธิแล้วคนอื่นใช้ไม่ได้ 4. ต้องเป็นคนไทย(ต้องมีเลขประจำตัวประชาชน) 5. หักลดหย่อนได้ตั้งแต่ปีภาษี2548เป็นต้นไป อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

63 เงื่อนไขการหักค่าลดหย่อนเงินบริจาค
ต้องบริจาคให้การกุศลสาธารณะเพื่อการศึกษาและการกีฬา ตามที่กฎหมายกำหนดหรือบริจาคเพื่อการศาสนาและต้อง มีหลักฐานการบริจาค อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

64 2. ต้องบริจาคเป็นเงินสด บริจาคเป็นสิ่งของ เช่น รถยนต์
ข้าวสาร ขาเทียมฯ หักค่าลดหย่อน ไม่ได้ 3. ถ้าบริจาคร่วมกันต้องเฉลี่ยตามส่วน อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

65 4. หักค่าลดหย่อนได้ตามจ่ายจริงแต่ไม่เกิน10%ของเงินได้หลัง
หักค่าลดหย่อนอื่นแล้ว การกุศลสาธารณะ เช่น มูลนิธิสายใจไทย มูลนิธิปอเต็กตึ๊ง มูลนิธิชัยพัฒนา บริจาคเพื่อการศึกษา ทั้งโรงเรียน ราษฎร์และรัฐบาล รวมถึงมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน บริจาคเพื่อ การกีฬา เช่น บริจาคเพื่อสร้างสนามกีฬาหรือเพื่อซื้ออุปกรณ์ การกีฬาให้กรมพละ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

66 อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ม.48(1) )
ช่วงเงินได้สุทธิ อัตราภาษี (%) ภาษีสะสม ,000 ยกเว้น - 100, ,000 10 40,000 500, ,000,000 20 140,000 1,000, ,000,000 30 1,040,000 4,000,001 ขึ้นไป 37 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

67 อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ม.48(1) )
(1 มกราคม 2551 เปลี่ยนแปลง) ช่วงเงินได้สุทธิ อัตราภาษี (%) ภาษีสะสม ,000 ยกเว้น - 150, ,000 10 35,000 500, ,000,000 20 135,000 1,000, ,000,000 30 1,035,000 4,000,001 ขึ้นไป 37 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

68 การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
รวมเงินได้ทุกประเภททั้งปี เงินได้ของภริยานำมารวมกับเงินได้ของสามี (ยกเว้น 40(1) แยกคำนวณได้) แยกตามประเภทเงินได้ 40(1) - 40(8) เพื่อเอาค่าใช้จ่ายมาหักออกจากเงินได้ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

69 แล้วนำค่าลดหย่อนมาหัก
หักด้วยเงินบริจาค เงินได้สุทธิที่คำนวณภาษี คำนวณภาษีตามอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คำนวณภาษีขั้นต่ำ 5/1000 ของ 40(2) - 40(8) หักภาษีที่ชำระแล้ว ชำระเพิ่มหรือได้คืน อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

70 1. เงินได้พึงประเมิน 40(1) - (8) xxxx 2. ค่าใช้จ่าย xxx
หลักในการคำนวณภาษี 1. เงินได้พึงประเมิน 40(1) - (8) xxxx 2. ค่าใช้จ่าย xxx 3. เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย xxxx 4. ค่าลดหย่อน xxxx 5. เงินได้หลังหักค่าลดหย่อน xxxx 6. เงินบริจาค xxxx 7. เงินได้สุทธิที่นำมาคำนวนภาษี xxxx 8. ภาษีที่คำนวณได้ xxxx 9. คำนวณภาษีวิธีที่ 2 xxxx ชำระโดย วิธีใด 10. หักภาษีที่ชำระแล้ว xxxx 11. ได้คืนหรือชำระเพิ่ม xxxx อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

71 ตัวอย่าง อ.จักรภัทร รับราชการประจำอยู่กรมสรรพากร
ตั้งแต่ปี 2540 ปัจจุบันปี 2550 ได้รับเงินเดือน ๆ ละ 30,000 บาท (ถูกหักภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายไว้ เดือนละ 1,000บาท) สถานภาพทางครอบครัวโสดและใจดำ ขอให้คำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตลอดปี 2550 ของ อ.จักรภัทร อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

72 1. เงินได้พึงประเมิน 40(1) 30,000 X 12
360,000 2. หักค่าใช้จ่าย 60,000 3. เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 300,000 30,000 4. หักค่าลดหย่อน - ส่วนตัว (โสด) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

73 5. เงินได้หลังหักค่าลดหย่อน
270,000 6. หัก เงินบริจาค 7. เงินได้สุทธิ (100,000 X 5% แต่ยกเว้น) (170,000 X 10%) = 17,000 270,000 12,000 ภาษีที่คำนวณได้ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

74 ไม่มี 17,000 12,000 9. ภาษีขั้นต่ำ (ภาษีวิธีที่ 2)
ต้องเสียภาษีวิธีปกติ 17,000 10. หักภาษีที่ชำระไว้แล้ว (1,000X12) 12,000 11. ต้องจ่ายเพิ่ม (12, ,000 ) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

75 ตัวอย่างที่ 2 ปี2550 นายภราดร และนางเพียงฟ้าเป็นสามีภริยาชอบด้วยกฏหมาย นายภราดรทำงานเป็นผู้จัดการธนาคารxyz ได้รับเงินเดือนเดือนละ 80,000 บาท(ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้เดือนละ 10,000 บาท) และนายภราดรยังเป็นนายหน้าขายประกันAIAอีกได้รับค่าคอมมิชชั่นทั้งปีรวม 500,000 บาท (ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้รวม 25,000 บาท) ส่วนนางเพียงฟ้าเป็นเป็นนักแสดงสาธารณะและนักร้องสังกัด R.S. มีเงินได้ ตลอดปี 1,000,000 บาท (หักค่าใช้จ่ายได้รวม 460,000 บาท ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้รวม 50,000 บาท) สถานภาพทางครอบครัวมีบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายด้วยกัน 4 คน เกิดปี 2538, 2539, 2540 และ 2542 กำลังศึกษาอยู่ทุกคนนายภราดรจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพเดือนละ 15,000 บาท รวมปีละ 60,000 บาทประกันชีวิตไว้กับบริษัท AIA กรมธรรม์มีกำหนดเวลา 15 ปี จ่ายเบี้ยประกันชีวิตปีละ 12,000 บาท อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

76 ขอให้คำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทั้งปี2550ของนายภราดรและ นางเพียงฟ้า
นายภราดรบริจาคเงินให้ม.เกษมบัณฑิต เป็นเงิน 200,000 บาท ส่วนนางเพียงฟ้าประกันชีวิตไว้กับบริษัท AIA กรมธรรม์มีกำหนดเวลา 15 ปี จ่ายเบี้ยประกันชีวิตปีละ 50,000 บาท บริจาคเงินให้แก่มูลนิธิสายใจไทยรวม 50,000 บาท นายภราดรและนางเพียงฟ้ากู้เงินเช่าซื้อบ้านพักอาศัยจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเช่าซื้อบ้านให้กับธนาคารอาคารสงเคราะห์ตลอดปีเป็นเงิน 60,000 บาท ขอให้คำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทั้งปี2550ของนายภราดรและ นางเพียงฟ้า อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

77 1. เงินได้พึงประเมิน 40(1) เงินเดือนประจำ 960,000
1. เงินได้พึงประเมิน 40(1) เงินเดือนประจำ 960,000 ยกเว้นเงินสะสมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 50,000 เหลือเงินได้พึงประเมิน 40(1) 910,000 เงินได้พึงประเมิน 40(2) นายหน้าขายประกัน 500,000 รวมเงินได้ 40(1) + 40(2) 1,410,000 หักค่าใช้จ่าย 40(1) + 40(2) 40% ไม่เกิน ,000 คงเหลือเงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 40(1) + 40(2) 1,350,000 (1) เงินได้พึงประเมินของภริยา 40(8) 1,000,000 หักค่าใช้จ่าย(300,000X60%+700,000X40%) ,000 คงเหลือเงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 40(8) ,000 (2) 2. รวมเงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย (1)+(2) 1,890,000 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

78 - กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 10,000
3. หักค่าลดหย่อน - ส่วนตัว 30,000 - ภริยา 30,000 - บุตร 17,000X3 51,000 - ประกันชีวิต ตัวเอง 12,000 - ประกันชีวิต ภริยา 50,000 - กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 10,000 - ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเช่าซื้อบ้าน 50, รวมค่าลดหย่อน ,000 4. เงินได้หลังหักค่าลดหย่อน ,657,000 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

79 5. หักเงินบริจาค (บริจาคจริง 250,000)
แต่หักลดหย่อนได้ 10% ของ 1,657, ,700 6. เงินได้สุทธิเพื่อคำนวณภาษี ,491,300 7. คำนวณภาษีวิธีปกติ ,390 8. คำนวณภาษีขั้นต่ำ(วิธีที่ 2) (1,500,000)X(5/1000) 7,500 ชำระภาษีวิธีปกติ คือ ,390 9. หักภาษีที่ชำระแล้ว 120,000+25,000+50, ,000 10. ต้องจ่ายภาษีเพิ่ม 287, , ,390 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

80 นายสมพงษ์ กับนางมาลี เป็นสามีภรรยาชอบด้วยกฎหมาย และอยู่ร่วมกันตลอดปีภาษีมีบุตรชอบด้วยกฎหมายและอยู่ในอุปการะเลี้ยงดู ดังต่อไปนี้ บุตรคนที่ 1 อายุ 20 ปี ไม่ได้ศึกษามีเงินได้จากดอกเบี้ยออมทรัพย์จากธนาคารทหารไทย 16,000 บาทและดอกเบี้ยออมทรัพย์จากสหกรณ์ออมทรัพย์ 12,000 บาท บุตรคนที่ 2 อายุ 18 ปี ไม่มีเงินได้พึงประเมิน กำลังศึกษาระดับปริญญาตรีอยู่ที่มหาวิทยาลัยเกษมบัญฑิต บุตรคนที่ 3 อายุ 15 ปี ศึกษามัธยมศึกษาปีที่ 5 มีรายได้จากเงินปันผลจากบริษัทตั้งขึ้นตามกฎหมายได้ 48,000 บาท นายสมพงษ์มีบิดาอายุ 65 ปี มีเงินได้จากดอกเบี้ยออมทรัพย์ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ 40,000 บาท ส่วนนางมาลีมีมารดาอายุ 60 ปี ไม่มีเงินได้พึงประเมินในปีภาษีนี้ นายสมพงษ์ และนางมาลี มีเงินได้พึงประเมิน ดังต่อไปนี้ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

81 ภาษีสิ้นปีของนายสมพงษ์
การคำนวณภาษีวิธีที่ 1 เงินเดือนทั้งปี 650,000.00 ยกเว้นเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 5,000.00 คงเหลือ 645,000.00 ค่านายหน้า 180,000.00 รวม 825,000.00 หักค่าใช้จ่าย 40% ไม่เกิน 60,000 60,000.00 765,000.00 (1) ค่าลิขสิทธิ์ 250,000.00 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

82 63,000 X 25 100 - 25 คงเหลือ 190,000.00 (2) เงินรับเหมาก่อสร้าง
400,000.00 หักค่าใช้จ่าย 70% 280,000.00 120,000.00 (3) ค่าเช่าบ้าน 360,000.00 หักค่าใช้จ่าย 30% 108,000.00 252,000.00 (4) เงินปันผล หจก.ช้างแก้ว 63,000 X 25 63,000.00 (5) 21,000.00 (6) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

83 รวม (1)+(2)+(3)+(4)+(5)+(6) 1,291,000.00
หักค่าลดหย่อน - ผู้มีเงินได้ 30,000.00 - บุตร คนที่ 1 = 15,000/2 7,500.00 คนที่ 2 = (17,000/2) 8,500.00 คนที่ 3 = (17,000/2) - ประกันชีวิต 50,000.00 - เงินสะสมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 10,000.00 - ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมซื้อบ้าน 21,000.00 -ลดหย่อนมารดานางมาลี อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

84 (รวม) 165,500.00 เงินได้หลังหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน (7) 1,125,000.00 หักเงินบริจาค x 1,125,000 100 30,000 เงินได้สุทธิ 100,000 บาทแรก ยกเว้น 400,000 x 10/100 40,000.00 x 20/100 100,000.00 95,500 x 30/100 28,650.00 168,650.00 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

85 รวมภาษีที่ต้องเสียตามวิธีที่ 1 168,650.00
การคำนวณภาษีวิธีที่ 2 ค่านายหน้า + ค่าลิขสิทธิ์ + ค่ารับเหมาก่อสร้าง + ค่าเช่าบ้าน + เงินปันผล + เครดิตภาษี 180, , , ,000+63,000+21,000 = 1,274,000.00 คำนวณภาษี 1,274,000 x 5/1000 = 6,370.00 สรุป ภาษีสิ้นปีที่นายภูผาต้องเสีย คือ ภาษีตามวิธีที่ 1 หักภาษี ณ ที่จ่าย 25,000+20,000+21,000 66,000.00 เหลือ ภาษีสิ้นปีที่ต้องชำระ 102,650.00 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

86 นางมาลีต้องเสียภาษีสิ้นปี
คงเหลือเงินได้สุทธิ 275,500.00 คำนวณภาษี 100,000 บาทแรก ยกเว้น 175,500 x 10/100 17,550.00 นางมาลีต้องเสียภาษีสิ้นปี หักภาษี ณ ที่จ่าย 8,000.00 เหลือภาษีสิ้นปีที่ต้องชำระ 9,550.00 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

87 เครดิตภาษีเงินปันผล(ม.47ทวิ)
ถือเป็นเงินได้พึงประเมิน ประเภทหนึ่ง คือ ประเภท 40 (4) (ข) เงินปันผลคือ เงินได้ที่เกิดขึ้นจากการนำเงินไปลงทุนในธุรกิจแล้วธุรกิจนั้น มีกำไรเกิดขึ้น กำไรหลังจากการหักภาษีเงินได้นิติบุคคล (30%,25%,20%,10%) ถ้าหาก นำมาปันผลให้กับผู้ลงทุน เรียกว่า เงินปันผลหรือ ส่วนแบ่งของเงินกำไร ถ้านำเงินปันผลนี้มาถือเป็นเงินได้เพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอีกครั้งหนึ่ง จะเห็นได้ว่าเงินปันผลก้อนเดียวกันนี้จะเสียภาษี 2 ครั้งซึ่งถือเป็นการเสียภาษีซ้ำซ้อน ไม่ใช่หลักขอภาษีที่ดี โดยทั่วไปมีวิธีขจัดความซ้ำซ้อน 2 วิธี คือ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

88 วิธีขจัดความซ้ำซ้อน กรณี เงินปันผล
1. กำหนดให้เสียภาษีใดภาษีหนึ่ง เช่น ให้เสียธรรมดา 2 ใช้วิธีเครดิตภาษีเงินปันผลโดย 2.1นำเงินปันผลมาถือเป็นเงินได้พึงประเมิน 40(4 ภาษีเงินได้นิติบุคคล เพียงอย่างเดียว แล้วไม่ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคล) (ข) 2.2.ให้นำภาษีเครดิตภาษีเงินปันผล (3/7ของเงินปันผล) มาถือเป็นเงินได้พึงประเมิน 40(4) (ข) 3/7 มาจาก ( R/ 100-R ) 2.3 คำนวณภาษีตามปรกติ 2.4 ให้ถือเสมือนว่าเครดิตภาษีเงินปันผล (3/7ของเงินปันผล) เป็นภาษีที่ชำระไว้แล้วนำไปหักจากภาษีที่คำนวณได้ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

89 ตย.7 นายสอนรามทำงานในบริษัทแกรมมี่ มีเงินได้ในปี ดังต่อไปนี้ เงินเดือน ๆ ละ 40,000 บาท ถูกหัก ณ ที่จ่ายเดือนละ 2,800 บาท โบนัสตอนสิ้นปีรวม 200,000 บาท ถูกหัก ณ ที่จ่ายรวม 20,00บาท เป็นอาจารย์สอนพิเศษเป็นครั้งคราวใน ม.จุฬาฯ มีเงินได้รวมปีละ 100,000 บาท และในม.สยาม มีเงินได้รวมปีละ 50,000 บาท (ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายรวม 5,000 บาท) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

90 -ค่าคอมมิชชั่นจากการขายประกันชีวิตให้กับ บ
-ค่าคอมมิชชั่นจากการขายประกันชีวิตให้กับ บ.เอ ไอ เอ รวมปีละ200,000 บาท (ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้10,000 บ.) เงินปันผลจาก บ.ธนายง รวม 70,000 บาท (ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 7,000 บาท) - ค่าเช่าคอนโด เดือนละ 10,000 บาท ภรรยาเปิดร้านเสริมสวยรายได้รวมปีละ 400,000 บาท (หักค่าใช้จ่ายเหมา 70%) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

91 ขอให้คำนวณภาษีเงินได้สิ้นปี2548ของนายสอนรามและภรรยา
สถานภาพทางครอบครัว นายสอนรามมีภรรยาและบุตรผู้เยาว์ 3 คน กำลังศึกษาอยู่ เกิดในปี 2526,2527 และ 2528 ประกันชีวิตไว้กับ บ.เมืองไทย กรมธรรม์ 20 ปี เบี้ยประกันของตัวเองปีละ 15,000 บาท ของภรรยาปีละ 30,000 จ่ายเงินสมทบทุนประกันสังคมเดือนละ 600 บาท จ่ายเงินค่าดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเช่าซื้อบ้านปีละ 18,000 บาท จ่ายเงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 12,000 บ. บริจาคมูลนิธิสายใจไทย รวม 150,000 บาท ขอให้คำนวณภาษีเงินได้สิ้นปี2548ของนายสอนรามและภรรยา อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

92 ( ยกเว้นเงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ) 2,000
การคำนวณภาษี 1. เงินได้ 40(1) เงินเดือน 40,000 X ,000 40(1) โบนัส 200,000 ( ยกเว้นเงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ) ,000 คงเหลือเงินได้ 40(1) ,000 40(2) สอนพิเศษ ม.สยาม 50,000 40(2) ค่าคอมมิชชั่น 200,000 รวมเงินได้ 40(1) + (2) 928,000 หัก ค่าใช้จ่าย 928,000 X 40% แต่ไม่เกิน 60,000 คงเหลือเงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 40(1)+40(2) 868,000 (1) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

93 *40(4) เครดิตเงินปันผล 3/7 X 70,000 30,000 รวมเงินได้ 40(4) 100,000
40(4) เงินปันผล 70,000 *40(4) เครดิตเงินปันผล 3/7 X 70, ,000 รวมเงินได้ 40(4) 100,000 หัก ค่าใช้จ่าย 0% 0 คงเหลือเงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 40(4) 100,000 ( 2) 40(5) ค่าเช่าคอนโด (10,000x12) 120,000 หัก ค่าใช้จ่ายเหมา 30% 36,000 คงเหลือเงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 40(5) 84,000 (3) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

94 40(8) บริการร้านเสริมสวย 400,000 หัก ค่าใช้จ่าย 70% 280,000
40(8) บริการร้านเสริมสวย 400,000 หัก ค่าใช้จ่าย 70% 280,000 คงเหลือได้หลังหักค่าใช้จ่าย 40(8) 120,000 (4) รวมเงินได้หลังหักคชจ.(1)+(2)+(3)+(4) 1,172,000 2. เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 1,172,000 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

95 - เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 10,000 - เบี้ยประกันชีวิต ตัวเอง 15,000
ค่าลดหย่อน - ส่วนตัว 30,000 - ภรรยา 30,000 - บุตร (เรียน) 3X17, ,000 - เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ,000 - เบี้ยประกันชีวิต ตัวเอง ,000 - เบี้ยประกันชีวิต ภรรยา 30,000 - ดอกเบี้ยกู้ยืมเช่าซื้อบ้าน 18,000 - เงินสะสมเข้ากองทุนประกันสังคม ,200 รวมค่าลดหย่อน ,200 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

96 4.เงินได้หลังหักค่าลดหย่อน 980,800 5.บริจาคได้(บริจาคจริง 150,000)
4.เงินได้หลังหักค่าลดหย่อน 980,800 5.บริจาคได้(บริจาคจริง 150,000) แต่ลดหย่อนได้ไม่เกิน 10% ของข้อ 5 98,080 6.เงินได้สุทธิ 882,720 7.คำนวณภาษีเงินได้ 116,544 8.คำนวณภาษีขั้นต่ำ 40(2)-40(8) X (5/1,000) 4,350 ต้องเสียภาษีวิธีปกติ 116,544 9. หักภาษีที่ชำระแล้ว 105,600 (33,600+20,000+5,000+10,000+7,000+30,000*) 10.ต้องชำระภาษีเพิ่ม 116,544 – 105,600 10,944 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

97 ตย.8 นายเอกและนางราตรีเป็นสามีภริยาชอบด้วยกฎหมายและอยู่ร่วมกันตลอดปีภาษี ทั้งสองมีบุตรด้วยกัน 4 คน อายุ25ปี22ปี20ปี และ18 ปี ตามลำดับ บุตรสองคนแรกกำลังศึกษามหาวิทยาลัยในต่างประเทศส่วนบุตรสองคนหลังกำลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยในประเทศ ในปีภาษีนี้นายเอกมีเงินได้พึงประเมิน ดังต่อไปนี้ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

98 1.เงินเดือน ๆ ละ 40,000 บ.(ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายรวมทั้งปี 25,000บ.)
2.ค่านายหน้าขายที่ดิน 100,000 บ.(ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ 5,000 บ.) 3.ดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 200,000 บ.(ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ ,000บ.) ส่วนนางราตรีมีเงินได้พึงประเมินดังต่อไปนี้ เงินเดือน ๆ ละ 15,000 บ.(ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายรวมทั้งปี 300 บ.) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

99 2. รายได้จากการรับทำและตรวจสอบบัญชีเดือนละ 50,000 บาท (หัก คชจ
2. รายได้จากการรับทำและตรวจสอบบัญชีเดือนละ 50,000 บาท (หัก คชจ.เหมา30%)(จ่ายภาษีครึ่งปีเป็นเงิน6,100) 3. รางวัลสลากออมสิน 100,000 บาท นายเอกได้ประกันชีวิตไว้กับ บ.ประกันชีวิตในประเทศไทย กรมธรรม์มีกำหนด 12 ปี จ่ายเบี้ยประกันเป็นเงิน 14,000 บ. เมื่อเดือน ก.ย. และบริจาคเงินให้ ร.พ.จุฬาฯ100,000 บ. เมื่อเดือน ก.ค. อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

100 ส่วนนางราตรีได้ประกันชีวิตไว้กับ บ
ส่วนนางราตรีได้ประกันชีวิตไว้กับ บ.ในประเทศไทย กรมธรรม์มีกำหนด 10 ปี จ่ายเบี้ยประกันเป็นเงิน 6,000 บ. เมื่อเดือน ม.ค. และบริจาคเงินให้ ม.เกษตรศาสตร์ 5,000 บ.เมื่อเดือน มี.ค. ดังนี้นายเอกและนางราตรีจะต้องชำระภาษีครึ่งปี และสิ้นปีเป็นเงินเท่าไร ถ้านางราตรีใช้สิทธิแยกเสียภาษีต่างหากจากนายเอก อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

101 ภาษีครึ่งปี 40(6) เงินได้ของภรรยาแต่ให้ถือเป็นเงินได้ของสามี
วิธีที่ 1 รายได้จากการรับทำบัญชี 50,000X6 300,000 หัก ค่าใช้จ่าย 30% 90,000 เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 210,000 หัก ค่าลดหย่อน สามี 15,000 ภริยา 15,000 บุตร 23,500 ประกันชีวิตของภริยา 3, ,500 คงเหลือเงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 153,500 หัก เงินบริจาคของภริยา 5,000/2(มี.ค) ,500 เงินได้สุทธิ 151,000 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

102 คำนวณภาษีจากเงินได้สุทธิ 151,000 5,100
คำนวณภาษีจากเงินได้สุทธิ 151, ,100 วิธีที่ 2 รายได้จากการรับทำบัญชี 300,000 ภาษี 5/1,000x300,000 1,500 ต้องเสียภาษีครึ่งปี (วิธีที่1) 5,100 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

103 หัก ค่าใช้จ่าย 40%ไม่เกิน 60,000 60,000
ภาษีสิ้นปีรายนายเอก วิธีที่ 1 เงินเดือน 40(1) ,000x ,000 ค่านายหน้า40(2) 100, ,000 หัก ค่าใช้จ่าย 40%ไม่เกิน ,000 60,000 คงเหลือเงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 520,000 (1) ดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 40(4) 200,000 หักค่าใช้จ่าย 0% 0 คงเหลือเงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 200,000 (2) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

104 รายได้จากการรับทำบัญชี 600,000
รายได้จากการรับทำบัญชี ,000 50,000x12 (เงินได้40(6)ของภรรยาถือเป็นของสามี) หัก ค่าใช้จ่าย 30% 180,000 คงเหลือเงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 420,000 (3) เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย (1)+(2)+(3) 1,140,000 หัก ค่าลดหย่อน สามี 30,000 บุตร 23,500 ประกันชีวิต 14,000 67,500 คงเหลือ 1,072,500 หัก เงินบริจาค 100,000 เงินได้สุทธิ 972,500 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

105 วิธีที่ 2 ภาษีขั้นต่ำ 9000,000x5/1,000 4,500
คำนวณภาษี วิธีที่ ,500 472,500X20%+41,000 วิธีที่ 2 ภาษีขั้นต่ำ 9000,000x5/1,000 4,500 (100, , ,000)=900,000 สรุป ภาษีสิ้นปีที่นายเอกต้องเสีย (วิธีที่ 1) 134,500 หัก ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 60,000 ภาษีครึ่งปีที่ชำระแล้ว ,100 รวม 66,100 เหลือ ภาษีสิ้นปีที่ต้องชำระเพิ่ม 68,400 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

106 ภาษีสิ้นปีรายนางราตรี (เฉพาะเงินเดือน 40(1))
เงินเดือน 40(1) ,000x12 180,000 หัก ค่าใช้จ่าย 40%ไม่เกิน 60,000 60,000 เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 120,000 หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัวภรรยา 30,000 บุตร ,500 ประกันชีวิต , ,500 คงเหลือ 60, 500 หัก เงินบริจาค 5,000 เงินได้สุทธิ 55,500 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

107 นางราตรีต้องเสียภาษีสิ้นปี - หัก ภาษี ณ ที่จ่าย 300
คำนวณภาษี (55,500-80,000)x5% นางราตรีต้องเสียภาษีสิ้นปี หัก ภาษี ณ ที่จ่าย 300 เหลือ ภาษีสิ้นปีที่ได้รับคืน 300 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

108 กรณีสามี ภรรยา ต่างฝ่ายต่างมีเงินได้
การหักค่าใช้จ่ายสามี+ภรรยา โดยภรรยามีเงินได้ 40(1)+40(2) ด้วยและประสงค์จะแยกคำนวณภาษี โดยปกติเงินได้ 40(1)+(2)หักค่าใช้จ่ายได้ 40% แต่ไม่เกิน 60,000 บาท แต่เงินได้ 40(2) ของภรรยาให้ถือเป็นของสามี ดังนั้นจึงต้องมีการเฉลี่ยค่าใช้จ่าย สามีมีเงินได้ 40(1) 800, ภรรยามีเงินได้ 40(1)200,000 และมีค่านายหน้า40(2) เป็นเงิน 400,000 บาท ต้องเฉลี่ยใช้จ่ายภรรยา อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

109 รวมเงินได้ของภรรยา 600,000 40(1) 200,000+ 40(2) 400,000
รวมเงินได้ของภรรยา , (1) 200, (2) 400,000 เฉลี่ยค่าใช้จ่ายเฉพาะ 40(1) (60,000 x200,000 )/ 600,000 = ,000 เฉลี่ยค่าใช้จ่ายเฉพาะ 40(2) (60,000x 400,000) / 600,000 = ,000 ภรรยานำค่าใช้จ่ายจาก 40(1) 20,000 ไปหักของตัวเอง ส่วนค่าใช้จ่ายจาก 40(2) 40,000 ไปรวมกับของสามี สามีจะมี ค่าใช้จ่ายรวม 60, ,000 เป็น 100,000 บาท อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

110 ส่วนค่าลดหย่อนของใครของมัน ส่วนตัวคนละ30,000 บาท บุตรคนละครึ่ง เช่น หักค่าลดหย่อนบุตร 3 คน รวม 51,000 บาท หักคนละ 25,500 ค่าลดหย่อนอื่น ๆ หักตามเกณฑ์ที่กำหนด อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

111 ตย.9 นายสนธิ ทำงานเป็นแพทย์ใน โรงพยาบาลศิริราช ได้รับเงินเดือนประจำเดือนละ 40,000 บ. (ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้เดือนละ2,500)และยังประกอบอาชีพรักษาคนไข้ทั่วๆ ไปโดยเปิดคลินิกส่วนตัว มีเงินได้จาก คลีนิครวมปีละ 1,000,000 บ.(ชำระภาษีครึ่งปีแล้ว 25,000) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

112 นางอุดรทิพย์ ภรรยานายสนธิ ทำงานเป็นพยาบาลโรงพยาบาลศิริราชได้รับเงินเดือนประจำเดือนละ 20,000 บ. (ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายเดือนละ 600บ.) และยังมีอาชีพเสริมเป็นครั้งคราวโดยการขายอาหารเสริม Amway ได้เงินรวมปีละ 600,000 บ.(ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายรวม30,000) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

113 สถานภาพทางครอบครัวมีบุตรผู้เยาว์ 4 คนกำลังศึกษาอยู่ทุกคน ประกันชีวิตไว้กับ บ.เมืองไทยประกันชีวิต กรมธรรม์ 20 ปีเบี้ยประกันชีวิตตัวเองปีละ 20,000 บ. เบี้ยประกันชีวิตภรรยาปีละ 30,000 บ.เบี้ยประกันชีวิตของบุตรทุกคน ๆ ละ 10,000 บ. จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมของนายทักษิณปีละ 4,000 บ. ของภรรยาปีละ 4,000 นายทักษิณใจดำไม่เคยบริจาคการกุศล ส่วนภรรยาใจบุญบริจาครถยนต์มูลค่า 200,000 บ.ให้วัดโพธิ์ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

114 วิธีเฉลี่ยค่าใช้จ่ายของนายทักษิณและภรรยา
และบริจาคเงินให้วัดลิงขบอีกรวมเป็นเงิน 50,000 บ.ขอให้คำนวณภาษีทั้งปีของนายทักษิณและภรรยาโดยมีความประสงค์แยกยื่นภาษี วิธีเฉลี่ยค่าใช้จ่ายของนายทักษิณและภรรยา เงินได้ของนางอุดรทิพย์ ,000 40(1) 240,000+40(2)600,000= 840,000 ค่าใช้จ่ายเฉพาะ 40(1) ,142.86 (60,000X240,000)/(840,000)= 17,142.86 ค่าใช้จ่ายเฉพาะ 40(2) ,857.14 (60,000X600,000)/(840,000) = 42,857.14 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

115 3. เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 222,857.14 4. ค่าลดหย่อน ส่วนตัว 30,000
ภาษีของนางอุดรทิพย์ 1. เงินได้ 40(1) 240,000 2. ค่าใช้จ่ายเฉพาะ 40(1) 17,142.86 3. เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 222,857.14 4. ค่าลดหย่อน ส่วนตัว 30,000 บุตร 51,000/ ,500 ประกันชีวิต ,000 ประกันสังคม , ,500 5. เงินได้หลังหักค่าลดหย่อน 133,357.14 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

116 8. คำนวณภาษีวิธีปกติ 2,002.14 (20021.43x10% +1,000)
6. หัก เงินบริจาค , (บริจาคจริง 50,000 แต่หักได้เพียง10%ของข้อ 5) 7. เงินได้สุทธิ ,021.43 8. คำนวณภาษีวิธีปกติ , ( x10% +1,000) 9.หัก ภาษีที่ชำระแล้ว ,200 10.ได้คืน 7,200 – 2, อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

117 1. เงินได้ 40(1)ของตัวเอง 480,000 1,080,000 40(2)ของภรรยา 600,000
ภาษีของนายทักษิณ 1. เงินได้ (1)ของตัวเอง , ,080, (2)ของภรรยา ,000 หัก ค่าใช้จ่าย ,857.14 (ตัวเอง 60,000+ภรรยา 42, ) คงเหลือ 977, (1) เงินได้ 40(6) หมอวิชาชีพอิสระ 1,000,000 หัก ค่าใช้จ่าย 60%X(1,000,000) 600,000 คงเหลือ 400,000 (2) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

118 2. เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย (1)+(2) 1,377,142.86
2. เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย (1)+(2) 1,377,142.86 3. หัก ค่าลดหย่อน ส่วนตัว 30,000 บุตร 51,000/2 25,500 ประกันชีวิต 20,000 ประกันสังคม 4,000 79,500 4. เงินได้หลังหักค่าลดหย่อน 1,297,642.86 5. หัก เงินบริจาค - 6. เงินได้สุทธิ 1,297,642.86 7. คำนวณภาษีวิธีปกติ 229,292.86 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

119 ต้องเสียภาษีวิธีปกติ 229,292.86 9. หัก ภาษีชำระแล้ว 85,000
8. ภาษีวิธีที่ 2 8,000 (600,000+1,000,000)x5/1,000) ต้องเสียภาษีวิธีปกติ 229,292.86 9. หัก ภาษีชำระแล้ว 85,000 (30,000+25,000+30,000) 10.ต้องชำระเพิ่ม 144,292.86 (230, ,000) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

120 การคำนวณภาษีเงินได้ครึ่งปี(ม.56ทวิ)
1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีครึ่งปี คือ บุคคลธรรมดาและผู้ที่ กฎหมายกำหนด 2. คำนวณจากเงินได้พึงประเมินประเภท 40(5) - 40(8) ที่ได้รับระหว่าง ม.ค มิ.ย. 3. วิธีการคำนวณภาษีครึ่งปี ค่าใช้จ่ายหักตามปกติ ค่าลดหย่อนหักเพียงครึ่งเดียว ต้องคำนวณภาษีขั้นต่ำ (วิธีที่ 2) ด้วย อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

121 4. ยื่นแบบ ภ.ง.ด.94 ภายในวันที่ 30 ก.ย.
5. ภาษีที่ชำระครึ่งปีถือเป็นเครดิตนำไปหักจากภาษีตอนสิ้นปีได้ 40(5) ค่าเช่าต่าง ๆ 40(6) วิชาชีพอิสระ เช่น หมอ วิศวะกรรม สถาปนิก ทนายความ ผู้สอบบัญชี ฯลฯ 40(7) รับเหมาก่อสร้าง 40(8) อื่น ๆ นอกจาก (1) ถึง (7) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

122 เงินได้ที่สามารถแยกคำนวณ
ตามปกติต้องนำเงินได้ทุกประเภทที่ได้รับตลอดปีมารวมคำนวณ แต่มีบางประเภทสามารถแยกคำนวณได้ เช่น 1. ดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ต่าง ๆ 2. ผลต่างระหว่างราคาไถ่ถอนกับราคาจำหน่ายตั๋วเงิน 3. ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการโอนพันธบัตรหุ้นกู้ หรือตั๋วเงิน เงินได้ตาม (1) (2) และ (3) ถ้าหากถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 15% แล้วสามารถแยกคำนวณได้ ไม่ต้องนำไปรวมกับเงินได้อื่นเพื่อคำนวณภาษีตอนสิ้นปีก็ได้ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

123 4. เงินปันผลตาม 40(4) (ข) ถ้าหากถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 10% แล้วสามารแยกคำนวณได้
- แต่ถ้านำมารวมคำนวณกับเงินได้อื่น ต้องนำเอาเครดิตเงินปันผล 3/7 ของเงินปันผลมารวมคำนวณด้วย 5. เงินได้ตามมาตรา 40(8) จากการขายอสังหาริมทรัพย์ และถูกหักภาษีไว้เรียบร้อยแล้ว ก. อันเป็นมรดก ข. โดยไม่มุ่งหวังกำไรหรือเป็นการค้า อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

124 6. เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 และ 2 ซึ่งเป็นเงินที่นายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน เช่น เงินบำเหน็จ บำนาญ ถ้าหากถูกหักภาษีตามกฎเกณฑ์ที่กำหนดไว้แล้ว ไม่ต้องนำมารวมกับเงินได้อื่นในการคำนวณภาษีทั้งปีก็ได้ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

125 ภาษีหัก ณ ที่จ่าย คือ วิธีการเสียภาษีวิธีหนึ่งที่ กม. กำหนดให้ผู้จ่ายเงินได้ ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายก่อนจ่ายเงินได้ให้กับผู้มีเงินได้ หักจากเงิน ทรัพย์สินประโยชน์ที่คำนวณเป็นเงินได้ ผู้จ่ายเป็นผู้หักส่งรัฐบาล ถือเป็นเครดิตในการเสียภาษีของผู้รับ มีเฉพาะบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

126 2. มีรายได้เข้าคลังอย่างสม่ำเสมอ 3. ลดการหลบหนี หลีกเลี่ยงภาษี
วัตถุประสงค์ 1. ผ่อนคลายภาระภาษี บรรเทาภาระภาษี ให้เสียภาษีทีละน้อย ในขณะที่ยังมีกำลังเงินที่จะเสียอยู่ 2. มีรายได้เข้าคลังอย่างสม่ำเสมอ 3. ลดการหลบหนี หลีกเลี่ยงภาษี 4. ลดภาระตรวจสอบติดตามของเจ้าหน้าที่สรรพากร อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

127 ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย
บุคคลที่กฎหมายกำหนด ผู้จ่ายเงินได้ให้กับผู้รับที่เป็นบุคคลธรรมดา 1. บุคคลธรรมดา 1. บุคคลธรรมดา 2. นิติบุคคล 2. หหส.สามัญ 3. หหส.สามัญ 3. คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล 4. คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล เงินได้ที่จ่ายต้องมิใช่เงินได้ยกเว้น กม.อาจกำหนดให้หักกับเงินได้บางประเภทหรือผู้รับบางประเภท ก็ได้ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

128 กฎหมายที่ใช้บังคับในการหัก ณ ที่จ่าย ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
1. ม.50 แยกตามประเภทเงินได้ 2. ม.3 เตรส ให้อำนาจออก ท.ป.4/2528 ให้บางรายมีสิทธิหักบางรายการได้ ? อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

129 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50 แห่งประมวลรัษฎากร
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50 แห่งประมวลรัษฎากร 1. ม40 (1) (2) เงิน / ทรัพย์สิน / ประโยชน์ ที่อาจ คำนวนเป็นเงินได้ เช่น เงินเดือนค่าจ้างโบนัส ภาษีที่นายจ้างออกให้อาหาร-บ้านพักฟรี วิธีการ คำนวน เงินได้ x จำนวนครั้งที่จ่ายเงิน คำนวณภาษีตามปรกติ ได้ภาษีเท่าไร/ จำนวนครั้งที่จ่ายเงิน -มีเศษให้เอาไปรวมกับครั้งสุดท้าย อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

130 จำนวนครั้ง ถ้ารายวัน X 365 รายสัปดาห์ X 52 รายเดือน X 12 รายปักษ์ X 26
อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

131 -ถ้าเริ่มทำงานกลางปีหรือระหว่างปี ให้ใช้หลักเดือนที่จ่ายจริงX เดือนที่จ่ายจริงหาร
-ถ้ามีเงินเพิ่มพิเศษ เช่น โบนัส ให้เอาเงินโบนัสบวกกับเงินได้เสมือนทั้งปีแล้วคำนวณภาษีได้ภาษีเท่าไหร่ ให้เท่ากับ X แล้วคำนวณภาษีเฉพาะเงินเดือนตลอดปีให้เท่ากับ Y ภาษีเฉพาะโบนัสจะเท่ากับ X - Y อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

132 ให้ถือว่าเงินได้ของปีใดให้เสียภาษีของปีนั้น (ก่อน 31 มี.ค.ของปีถัดไป)
-ถ้าจ่ายเงินได้เป็นคราว ๆ ไม่สม่ำเสมอ เช่น กรณีค่านายหน้าขายที่ดิน ให้เอาเงินได้ครั้งที่ 1 คำนวณภาษีตามปกติ พอได้ค่านายหน้าครั้งที่ 2 ให้เอาเงินได้ทั้งสองครั้งมารวมกัน แล้วคำนวณภาษี แต่ภาษีหัก ณ ที่จ่ายครั้งที่ 2 ที่นำส่ง จะเท่ากับการคำนวณภาษีครั้งที่ 2 ลบครั้งที่ 1 -กรณีเงินได้ข้ามปี เช่น บรรจุเข้าทำงานใหม่ เงินตกเบิกข้ามปี ถูกออกจากงาน หรือมีข้อโต้แย้ง ยืดเยื้อ จ่ายเงินข้ามปี ให้ถือว่าเงินได้ของปีใดให้เสียภาษีของปีนั้น (ก่อน 31 มี.ค.ของปีถัดไป) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

133 2. เงินได้ตามมาตรา 40(3) (4) ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ลิขสิทธิ์ สิทธิ ดอกเบี้ย เงินปันผล เงินส่วนแบ่งกำไร
-คำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ตามบัญชีอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เว้นแต่ ก. หัก 15% สำหรับดอกเบี้ย ผลประโยชน์จากการขายหุ้นกู้ ตั๋วเงิน พันธบัตร ส่วนลดตั๋วเงิน (เลือกไม่รวมปลายปี) ข. หัก 10% สำหรับเงินปันผล เงินส่วนแบ่งกำไร ที่ผู้รับเป็นผู้ที่อยู่ในประเทศไทย ที่รับจากนิติบุคคล กองทุนรวม ตามกม.ไทย อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

134 (เลือกไม่รวมปลายปีได้ แต่ถ้ารวมก็ได้สิทธิเครดิตภาษี 3/7 ของเงินปันผล) ค. หัก 15 % กรณีเงินได้ 40(3) (4) ให้กับผู้รับซึ่งมิได้เป็นผู้ที่อยู่ในประเทศไทย 3. เงินได้ 40(5) (6) ที่จ่ายให้ผู้รับ ซึ่งไม่ได้เป็นผู้ที่อยู่ในประเทศไทย หัก 15% 4. เงินได้ 40(5) (6) (7) (8) ที่จ่ายให้กับส่วนราชการทั่ว ๆ ไป เทศบาล สุขาภิบาล อบต. อบจ. ที่จ่ายให้ผู้รับรายหนึ่ง ๆ ตั้งแต่ 10,000 บาทขึ้นไป ให้หัก 1% (แต่ไม่รวมการจ่ายเงินซื้อพืชผลทางการเกษตร) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

135 ก. ที่เป็นมรดก หรือโดยเสน่ห์หา ม.48 (4) (ก)
5. เงินได้ตามมาตรา 40(8) เฉพาะที่จ่ายให้กับผู้รับซึ่งขายอสังหาริมทรัพย์ ก. ที่เป็นมรดก หรือโดยเสน่ห์หา ม.48 (4) (ก) ข.ขายอสังหาริมทรัพย์โดยทางอื่น ม. 48(4) (ข) ให้คำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

136 การคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ตัวอย่างที่ นายภีม จบโท ม.เกษมบัณฑิต เริ่มงานใน บ.แกรมมี่ บริษัทจ่ายเงินได้และสัญญาว่าจะขึ้นเงินเดือนดังนี้ 1.มิ.ย.47 เริ่มงานใหม่เดือนละ 25,000 บาท 2.ม.ค.48 ขึ้นเงินเดือนให้เป็นเดือนละ 30,000 บาท 3. มิ.ย.48 ขึ้นเงินเดือนให้เป็นเดือนละ 35,000 บาท 4. สิ้นปีจ่ายโบนัสของปี 2548 รวม 200,000 บาท สถานภาพทางครอบครัวของนายภีมโสดและใจดำ ขอให้คำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายในแต่ละเดือนและเงินโบนัสของนายภีม อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

137 1.มิ.ย.47 – ธ.ค.47 (เริ่มงานใหม่ระหว่างปี) 1.เงินได้ 25,000x7 175,000
2. ค่าใช้จ่าย 40% ,000 3. เงินได้หลังค่าใช้จ่าย ,000 4. ลดหย่อน ส่วนตัว ,000 5. เงินได้สุทธิ 85,000 6. ภาษีรวม 85,000X 5%(แต่ยกเว้น ) 0 ไม่ต้องหักภาษี ณที่จ่าย อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

138 2. ม.ค.47 – พ.ค.47(เริ่มงานต้นปี)
1.เงินได้ ,000 x 12 = 360,000 2. ค่าใช้จ่าย 40% แต่ไม่เกิน 60,000 3.เงินได้หลัง คชจ. 300,000 4. ลดหย่อนส่วนตัว ( โสด ) 30,000 5. เงินได้สุทธิ 270,000 6. ภาษีรวม ( 170,000X10%) +0 17,000 7. ภาษีเดือนละ 17,000/12 = 1, หักภาษีเดือนละ (เศษ 0.007เก็บไว้รวมปลายปี) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

139 3.มิ.ย.47 – ธ.ค.47(เงินได้เปลี่ยนระหว่างปี)
1.เงินได้ ,000x12 = 420,000 2.ค่าใช้จ่าย 40% ไม่เกิน 60,000 3. เงินได้หลังคชจ. 360,000 4. ลดหย่อนส่วนตัว (โสด) 30,000 5.เงินได้สุทธิ 330,000 6. ภาษีรวม (230,000x10%)+0 23,000 7. ภาษีเดือนละ 23,000/12 = 1, หักภาษีเดือนละ (เศษ 0.007เก็บไว้รวมปลายปี) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

140 4. เฉพาะ ธ.ค.47 1.เงินได้ รวม (30,000x5)+(35,000x7) = 395,000
2.ค่าใช้จ่าย 40% ไม่เกิน 60,000 3. เงินได้หลังคชจ. 335,000 4. ลดหย่อนส่วนตัว (โสด) 30,000 5.เงินได้สุทธิ 305,000 6. ภาษีรวม (205,000x10%)+0 20,500 7. ภาษีเฉพาะเดือน ธ.ค ,500-18, ,916.74 ( มาจาก (1,416.66x5)+(1,916.66x6) แต่ระหว่างปีมีเศษอยู่ 0.007x12= เฉพาะ ธ.ค.47ต้องชำระภาษี = อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

141 5.เงินโบนัส (200,000) 1. เงินได้ 395, โบนัส , รวมเงินได้ , ค่าใช้จ่าย , เงินได้หลัง คชจ , ลดหย่อนส่วนตัว , เงินได้สุทธิ , ภาษี(เงินเดือน + โบนัส) , ภาษีเงินเดือน ม.ค.-ธ.ค , ภาษีโบนัส 41,000-20,500 = 20,500 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

142 กรณีการจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 และ 2 ซึ่งนายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน มาตรา48(5) หลักดูประกาศอธิบดีฯ(ฉบับที่ 45) (ก) เงินได้ที่คำนวณตามหลักเกณฑ์ และวิธีการเช่นเดียวกับวิธีการคำนวณบำเหน็จตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ข) เงินที่จ่ายจากกองทุนตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพหรือกองทุนตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ”  (ค) เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน (ง) เงินได้พึงประเมินที่จ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงานที่มีวิธีการคำนวณแตกต่างไปจากวิธีการตาม (ก) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

143 2.ต้องจ่ายในปีภาษีที่ออกจากงาน 3.หักค่าใช้จ่ายส่วนแรก 7,000xอายุงาน
1.ต้องทำงานไม่น้อยกว่า 5 ปี 2.ต้องจ่ายในปีภาษีที่ออกจากงาน 3.หักค่าใช้จ่ายส่วนแรก 7,000xอายุงาน 4.หักค่าใช้จ่ายส่วนที่สองเหลือเท่าใดให้หักค่าใช้จ่ายได้อีก ร้อยละ 50 ของเงินส่วนที่เหลือ 5. คำนวณภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ไม่ยกเว้น 100,000 แรก อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

144 ตัวอย่าง นาย ข ถูกให้ออกจากงาน โดยได้รับเงินชดเชยตามกฎหมายแรงงานจากนายจ้าง300,000 บาท นาย ข ได้รับเงินเดือนเดือนละ 60,000บาท ทำงานมา 5 ปี นาย ข จะเลือกเสียภาษีเงินได้โดยไม่นำไปรวมคำนวณกับเงินได้อื่น ดังนี้ วิธีคำนวณ (1)เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงานที่จ่าย = 300,000 (2)หักค่าจ่าย ค่าใช้จ่ายส่วนแรก(7,000x5) =35, ค่าใช้จ่ายส่วนที่สอง (300,000-35,000)x50% =132,500 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

145 ภาษีที่ต้องเสีย = 8,250 รวมค่าใช้จ่าย (ส่วนแรก+ส่วนที่สอง) =167,500
รวมค่าใช้จ่าย (ส่วนแรก+ส่วนที่สอง) =167,500 (3) เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย(1)-(2) =132,500 (4)การเลือกเสียภาษีตามมาตรา 48(5) ให้นำเงินได้ตาม(3)คำนวณภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ (100,000x5%)+(32,500x10%) ภาษีที่ต้องเสีย = 8,250 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

146 การหักภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ณ ที่จ่าย
ก. กรณีขายอสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดก ข. กรณีขายอสังหาริมทรัพย์ที่ซื้อมาและขายไปโดยไม่มุ่งหวังกำไร อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

147 วิธีคำนวณ ก. กรณีขายอสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดก
วิธีคำนวณ ก. กรณีขายอสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดก 1. ให้ใช้ราคาประเมินของกรมที่ดินเป็นเงินได้พึงประเมิน (ไม่ใช่ราคาซื้อขายจริง) 2. ให้ดูจำนวนปีที่ถือครอง (ถือครองจริงแต่ไม่เกิน 10 ปี) 3. ให้ดูว่าอยู่ในหรือนอกเขตเทศบาล 3.1 อยู่ในเขตเทศบาลหักค่าใช้จ่ายได้ 50% 3.2 อยู่นอกเขตเทศบาลหักค่าใช้จ่ายส่วนแรกได้ 200,000 บาท ส่วนที่เหลือหักได้อีก 50 % อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

148 4. จะได้เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย (1-3)
4. จะได้เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย (1-3) 5. เอาปีที่ถือครองหารเงินได้หลังหักค่าใช้จ่ายจะได้เงินได้สุทธิในการคำนวณภาษี 6. คำนวณภาษีตามอัตราก้าวหน้า (100,000 บาท แรกไม่ยกเว้น) 7. เอาปีที่ถือครองคูณภาษีที่คำนวณได้ จะได้ภาษีที่ต้องการชำระทั้งสิ้น อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

149 ข. กรณีขายอสังหาริมทรัพย์ที่ซื้อมาและขายไป โดยไม่มุ่งหวังกำไร
วิธีคำนวณ เหมือนข้อ ก แต่ ปีถือครองให้ถือครองจริงแต่ไม่เกิน 8 ปี 2. ค่าใช้จ่ายให้หักเป็น % ตามปีถือครอง เช่น 1 ปี 92% 2 ปี 84% 3 ปี 77% 4 ปี 71% ปี 60% 6 ปี 60% 7 ปี 55 % ปีขึ้นไป 50% แล้วคำนวณเหมือนข้อ ก. อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

150 วิธีคำนวณ เงินได้พึงประเมิน 10,000,000 หักค่าใช้จ่าย 50% 5,000,000
ตัวอย่าง 11 นายยอดชาย ขายที่ดินอันเป็นมรดก ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลลำลูกกา ถือครองมาแล้ว 15 ปี ราคาซื้อขายจริง 8 ล้านบาท แต่ราคาประเมินกรมที่ดิน 10 ล้านบาท นายยอดชายต้องถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย เท่าใด วิธีคำนวณ เงินได้พึงประเมิน ,000,000 หักค่าใช้จ่าย 50% ,000,000 เหลือเงินได้หลังค่าใช้จ่าย ,000,000 เงินได้สุทธิ ,000,000/10 = ,000 คำนวณภาษีได้ ,000 (100,000x5% +400,000x10%) ภาษีที่ต้องชำระทั้งสิ้น ,000x10= ,000 กรณีนี้เงินได้สุทธิ 100,000 บาท แรกไม่ยกเว้นภาษี อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

151 ตัวอย่าง 12 ที่ดินมรดกเหมือนตัวอย่างที่ 11 แต่ที่ดินตั้งอยู่นอกเขตเทศบาล (สมมติว่าอยู่อำเภอตากใบ)
วิธีคำนวณเงินได้พึงประเมิน ,000, หักค่าใช้จ่ายส่วนแรก (นอกเขตเทศบาล) ,000 เงินได้หลังค่าใช้จ่าย ,800, หักค่าใช้จ่ายส่วนที่ % ,900, เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย ,900, เงินได้สุทธิ 4,900,000/10 = , คำนวณภาษีได้ ,000 (100,000x5% +390,000x10%) ภาษีที่ต้องชำระทั้งสิ้น 44,000x = ,000 กรณีนี้เงินได้สุทธิ 100,000 บาท แรกไม่ยกเว้นภาษี อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

152 วิธีคำนวณ เงินได้พึงประเมิน 10,000,000
ตัวอย่าง เหมือนตัวอย่างที่ 11 แต่ที่ดินไม่ใช่ที่ดินมรดกและตั้งอยู่นอกเขตเทศบาล (สมมติว่าอยู่อำเภอตากใบ) และเป็นที่ดินที่ซื้อมาและขายไปโดยไม่มุ่งหวังกำไร ถือครองมา5ปี (หักค่าใช้จ่ายได้ 60%) วิธีคำนวณ เงินได้พึงประเมิน ,000,000 หักค่าใช้จ่ายส่วนแรก(นอกเขตเทศบาล) ,000 เงินได้หลังค่าใช้จ่าย ,800,000 หักค่าใช้จ่ายส่วนที่ 2 ตามอัตราได้60% ,880, เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย เงินได้สุทธิ ,920,000/5 = 784,000 คำนวณภาษีได้ (284,000x20% +45,000) ,800 ภาษีที่ต้องชำระทั้งสิ้น ,800x5 = 509, กรณีนี้เงินได้สุทธิ 100,000 บาท แรกไม่ยกเว้นภาษี อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

153 ตารางการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 3 เตรส
ประเภทเงินที่จ่าย ผู้จ่าย/มีหน้าที่หัก ผู้รับ/ผู้ถูกหักภาษี อัตรา% 1.ค่าพืชผลทาง นิติบุคคล ผู้มีหน้าที่เสียภาษี การเกษตร 2. ดอกเบี้ยต่างๆ นิติบุคคล ผู้มีหน้าที่เสียภาษี มูลนิธิ นิติบุคคล 3. เงินปันผลหรือ นิติบุคคล ผู้มีหน้าที่เสียภาษี เงินส่วนแบ่งกำไร อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

154 4. ค่าเช่า นิติบุคคล ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 5 มูลนิธิ 10
4. ค่าเช่า นิติบุคคล ผู้มีหน้าที่เสียภาษี มูลนิธิ 5. ค่าวิชาชีพอิสระ นิติบุคคล ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 6. ค่าโฆษณา นิติบุคคล ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 7. ค่ารับจ้างทำของ นิติบุคคล ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 8. ค่ารางวัล ใครก็ได้ที่จ่าย ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 9.ค่าจ้างนักแสดง ใครก็ได้ที่จ่าย นักแสดงไทย สาธารณะ นักแสดงตปท ตามอัตรา อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

155 หน้าที่ของผู้หักภาษี ณ ที่จ่าย
1.คำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่ายตามกม.ทุกครั้ง 2.นำส่งใน 7 วันนับจากวันสิ้นเดือน 3.ยื่นแบบตามที่อธิบดีกำหนดแสดงหักภาษีรายตัว เช่น ภงด.1 ภงด.2 ภงด.3 ภงด.1ก ภงด.2ก ภงด.3ก 4.ต้องออกหนังสือรับรอง 2 ฉบับ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

156 6. ต้องแจ้งความและรายละเอียดคนต่างด้าวที่มีเงินได้ตามแบบที่กำหนด
5.ทำบัญชีพิเศษรายการหักภาษี ณ ที่จ่าย (ตามการประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้และภาษีการค้า ฉบับที่ 4)) 6. ต้องแจ้งความและรายละเอียดคนต่างด้าวที่มีเงินได้ตามแบบที่กำหนด อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

157 ความรับผิดชอบของผู้มีหน้าที่หักภาษี
1.ไม่หัก/หักไม่ครบ ผู้จ่าย ผู้รับ รับผิดชอบร่วมกัน 2. หักไม่ส่ง ผู้จ่าย 3. ผู้จ่ายให้ผู้รับกรอกสถานะ และลงลายมือชื่อรับรอง ผู้รับ 4. หักไม่ครบ/ไม่ส่ง/ส่งช้า เงินเพิ่ม 1.5% 5. ไม่หักแต่ต่อมาส่ง เงินเพิ่ม 1.5% 6.สรรพากรจะเรียกจากผู้หักทั้งหมด พร้อมดอกเบี้ยก็ได้ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

158 สถานที่ยื่นแบบและนำส่ง แบบที่ใช้ในการนำส่งภาษี
ณ ที่ว่าการอำเภอ (สรรพากรอำเภอ) ใน กทม. ณ ที่ทำการเขต(สรรพากรเขต) แบบที่ใช้ในการนำส่งภาษี 1.แบบฯนำส่งเงิน เช่น ภงด.1 , ภงด แบบฯยอดสรุปทั้งปี เช่น ภงด.1ก , ภงด.2ก, ภงด. 90, ภงด. 91 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

159 วิธีการชำระภาษี ชำระภาษีพร้อมการยื่นแบบเสียภาษี การยื่นแบบมี 2 วิธี คือ 1. ยื่นแบบเสียภาษีปกติ ชำระภาษีโดย 1.1 เงินสด 1.2 เช็ค 1.3 ชำระ เป็นธนานัติ โดยสั่งจ่ายผู้อำนวยการกองคลัง กรมสรรพากร ปท.กระทรวงการคลัง พร้อม ภ.ง.ด.90 2. ยื่นแบบเสียภาษีผ่านระบบ Internet ชำระภาษีโดย 2.1 ชำระโดยระบบ ATM ของธนาคารทั่วไป 2.2 ชำระโดยวิธี E-Payment อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

160 การชำระภาษีโดยเช็ค ก. เช็คธนาคารแห่งประเทศไทย (ประเภท ก)
ข. เช็คธนาคารค้ำประกัน (ประเภท ข) ค. เช็คธนาคารเซ็นสั่งจ่าย (ประเภท ค) ก – ค สั่งจ่ายกระทรวงการคลัง เช็คต้องลงวันที่ก่อนวันชำระเงินไม่เกิน 15 วัน ง. เช็คส่วนตัวของผู้เสียภาษีอากร (ประเภท ง)สั่งจ่ายกรมสรรพากร เช็คต้องลงวันที่ก่อนวันชำระเงินไม่เกิน 7 วัน - ห้ามใช้เช็คในจำนวนเงินที่สูงกว่าภาษีอากรที่ต้องชำระ - การชำระภาษีจะถือว่าสมบูรณ์เมื่อกรมสรรพากรได้รับเงินตามเช็คครบถ้วนแล้ว อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

161 การผ่อนชำระภาษี (มาตรา 64)
การชำระภาษีปกติต้องชำระเต็มจำนวน แต่ถ้าชำระภาษีภายในกำหนดเวลา และมีภาษีต้องชำระจำนวนตั้งแต่ 3,000 บาท ขึ้นไป มีสิทธิผ่อนชำระภาษีได้เป็น 3 งวดเท่า ๆ กัน เช่น ยื่นแบบ ภงด.90 ปี 2546 ชำระภาษีรวม 16,000 บาท งวดแรก 31 มี.ค. 46 6,000 งวด 2 30 เม.ย. 46 5,000 งวด 3 30 พ.ค. 46 5,000 อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

162 ผู้มีหน้าที่ยื่นแบบเสียภาษี ( ม.56)
ผู้มีเงินได้ ผู้ยื่น ในนาม ผู้เยาว์ ผู้แทน ผู้มีเงินได้ โดยชอบธรรม ไร้ความสามารถ ผู้อนุบาล ผู้มีเงินได้ เสมือนไร้ความสามารถ ผู้พิทักษ์ ผู้มีเงินได้ ผู้มีเงินได้ในต.ป.ท. ผู้จัดการ ผู้มีเงินได้ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

163 ผู้มีเงินได้ ผู้ยื่น ในนาม ตายก่อนยื่นแบบ ผู้จัดการมรดก ผู้มีเงินได้
ผู้มีเงินได้ ผู้ยื่น ในนาม ตายก่อนยื่นแบบ ผู้จัดการมรดก ผู้มีเงินได้ ทายาท (ถึงแก่ความตาย ผู้ครอบครองทรัพย์มรดก ระหว่างปีภาษี) กองมรดก เหมือนข้อข้างบน กองมรดกยังไม่แบ่ง ห้างหุ้นส่วนสามัญ ผู้อำนวยการ ห้างหุ้นส่วนสามัญ คณะบุคคล ผู้จัดการ หรือคณะบุคคล ที่ไม่ใช่นิติบุคคล อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

164 ขอหักเหมา 3% ของค่าแรงที่จ่ายได้ถ้า ลูกจ้าง คนงานมาก เข้าออกเสมอ
ข้อผ่อนผัน ขอหักเหมา 3% ของค่าแรงที่จ่ายได้ถ้า ลูกจ้าง คนงานมาก เข้าออกเสมอ คนงานมีที่อยู่ไม่แน่นอนการจ้างไม่แน่นอน ผู้จ่ายไม่ทราบสถานะครอบครัวผู้รับ เป็นค่าแรงรายวัน ๆ ละไม่เกิน 150 บาท อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

165 ต่างจังหวัดยื่นที่สำนักงานสรรพากรอำเภอ
การขอคืนภาษี ม.63 ค.10 ภ.ง.ด. 90 , 91 กำหนด 3 ปี การยื่นแบบขอคืน ต่างจังหวัดยื่นที่สำนักงานสรรพากรอำเภอ ใน กทม. ยื่นที่สำนักงานสรรพากรเขต อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

166 หลักฐานแนบเพื่อขอคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา - สำเนาการสมรส การหย่า
- สำเนาสูจิบัตรบุตร สำเนาทะเบียนบ้าน - หนังสือแสดงการเปลี่ยนชื่อสกุล - หลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

167 ไม่มีเลขประจำตัวผู้เสียภาษี (2,000 บาท)
บทกำหนดโทษ โทษทางอาญา ไม่มีเลขประจำตัวผู้เสียภาษี (2,000 บาท) ไม่ทำบัญชีรายได้ รายรับประจำวัน (2,000 บาท) ไม่ยื่นแบบ ฯ ในกำหนด (2,000 บาท) แจ้งเท็จ หลักฐานเท็จ (2,000 – 200,000 บาท / 3ด. – 7ปี) เจตนาไม่ยื่นแบบ (3,000 บาท / 6 ด. / ปรับ + จำ) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

168 โทษทางแพ่ง ไม่ชำระภาษีภายในกำหนดเวลาต้องเสียเงินเพิ่ม 1.5% ต่อเดือนของเงินภาษี เว้นแต่อธิบดีขยายเวลาให้เสียเงินเพิ่มเป็น 0.75 % ต่อเดือน ออกหมายเรียกแล้ว ยังไม่ยื่นภาษีหรือ ยื่นภาษีขาดต้องเสียเงินเพิ่ม 1.5%ต่อเดือน และต้องเสียเบี้ยปรับ1 – 2 เท่าของเงินภาษี อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

169 ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย
มี 3 กรณี ม.69 ทวิ ม.69 ตรี ม.3 เตรส อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

170 มาตรา 69 ทวิ ส่วนราชการจ่ายเงินได้ให้กับ นิติบุคคล หัก 1%
ส่งใน 7 วัน นับจากวันสิ้นเดือนใช้แบบ ภ.ง.ด. 53 (ต่ำกว่า 500 บาท ไม่ต้องหัก) อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

171 มาตรา 69 ตรี นิติบุคคล ขายอสังหาริมทรัพย์ ใครซื้อก็ตาม ต้องหัก 1% ส่งเจ้าพนักงานขณะจดทะเบียนสิทธิ และนิติกรรมในอสังหาริมทรัพย์ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

172 อากรแสตมป์ (ม.103-ม.129) อากรแสตมป์ เป็นภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรประเภท หนึ่ง ที่กรมสรรพากรเป็นผู้จัดเก็บ โดยจัดเก็บจากการทำตราสาร 28 ลักษณะ ตามที่กำหนดไว้ในบัญชีอัตราอากรแสตมป์ ผู้ที่ได้ประโยชน์ จากอากรแสตมป์ คือ ผู้ที่ติดอากรแสตมป์ บริบูรณ์ การติดอากรแสตมป์บริบูรณ์ คือการที่ติดอากรแสตมป์ ตามมูลค่าที่กำหนด ภายในระยะเวลาที่กำหนด ( ก่อนหรือขณะที่ทำตราสาร) และต้องมีการขีดฆ่าอากรแสตมป์ ประโยชน์ที่ได้รับจากการติดอากรแสตมป์บริบูรณ์ คือสามารถ นำไปใช้เป็นเอกสาร ฟ้องร้องในศาลได้ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

173 ผู้ที่มีหน้าที่ติดอากรแสตมป์ คือ ผู้ที่ได้ประโยชน์จาก การทำตราสาร
ผู้ที่ได้รับการยกเว้น ไม่ติดอากรแสตมป์ 1.หน่วยงานรัฐบาล เจ้าหน้าที่ที่ทำงานในนามของรัฐบาล องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น เช่น อบต. , อบจ., เทศบาล 2.วัดวาอาราม องค์การศาสนาใดๆที่เป็นนิติบุคคลในราชอาณาจักร สภากาชาดไทย อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

174 การยกเว้นอากรแสตมป์ตามพระราชกฤษฎีกา
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย การเคหะแห่งชาติ ธนาคารออมสิน ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ การทำตราสารของบุคคลในองค์กร สหประชาติ สถานทูตสถานกงสุล อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

175 วิธีการเสียอากรแสตป์ 1.ติดอากรแสตมป์ทับ 2.ติดอากรแสตมป์ดุน
3.เสียอากรแสตมป์เป็นตัวเงิน บทกำหนดโทษ หากไม่ติดอากรแสตมป์ ภายในระยะเวลาที่กำหนด หรือมูลค่าที่กำหนด อาจถูกปรับ 1-6 เท่าของค่าอากรแสตมป์ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

176 ลักษณะแห่งตราสาร ค่าอากรแสตป์ ผู้เสียอากร ผู้ขีดฆ่า
ลักษณะแห่งตราสาร ค่าอากรแสตป์ ผู้เสียอากร ผู้ขีดฆ่า -การเช่าต่าง ๆ ที่ดิน 1,000บาท ผู้ให้เช่า ผู้เช่า -โรงเรือนสิ่งปลูกสร้าง ติด1บาท -เช่าซื้อทรัพย์สิน 1,000บาท ผู้ให้เช่า ผู้เช่า ติด1บาท -จ้างทำของ 1,000บาท ผู้รับจ้าง ผู้รับจ้าง อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

177 ลักษณะแห่งตราสาร ค่าอากรแสตป์ ผู้เสียอากร ผู้ขีดฆ่า
ลักษณะแห่งตราสาร ค่าอากรแสตป์ ผู้เสียอากร ผู้ขีดฆ่า -กู้ยืมเงินเกินบัญชี 2,000บาท ผู้ให้กู้ ผู้กู้ ติด 1 บาท -กรมธรรม์ประกันภัย 250บาท ผู้รับประกัน ผู้รับประกัน -ประกันวินาศภัย ติด 1 บาท -ประกันชีวิต 2,000บาท -ใบมอบอำนาจ 10หรือ30บาท ผู้มอบอำนาจ ผู้รับมอบ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

178 ลักษณะแห่งตราสาร ค่าอากรแสตป์ ผู้เสียอากร ผู้ขีดฆ่า
ลักษณะแห่งตราสาร ค่าอากรแสตป์ ผู้เสียอากร ผู้ขีดฆ่า -เช็ค ฉบับละ 3 บาท ผู้สั่งจ่าย ผู้สั่งจ่าย -เลดเตอร์ออฟเครดิต ต่ำกว่า10,000 ผู้ออกตราสาร ผู้ออกตราสาร ติด20 บาท 10,000ขึ้นไป ติด 30 บาท -หนังสือบริคณห์สนธิ 200บาท ผู้เริ่มก่อการ กรรมการ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

179 ลักษณะแห่งตราสาร ค่าอากรแสตป์ ผู้เสียอากร ผู้ขีดฆ่า -ใบรับ
ลักษณะแห่งตราสาร ค่าอากรแสตป์ ผู้เสียอากร ผู้ขีดฆ่า -ใบรับ -สลากกินแบ่งรัฐบาล 200บาท ผู้ออกใบรับ ผู้ออกใบรับ ติด 1 บาท -โอนกรรมสิทธิ -อสังหาริมทรัพย์ -โอนกรรมสิทธิยานพาหนะ อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

180 ปัญหาจริยธรรมของผู้มีหน้าที่เสียภาษี 1 การหลีกเลี่ยงภาษีอากร
ปัญหาจริยธรรมของผู้มีหน้าที่เสียภาษี การหลีกเลี่ยงภาษีอากร การวางแผนภาษีอากร และการหลีกเลี่ยงภาษีอากร มีความแตกต่างกันเป็นอย่างยิ่งกับการหลีกเลี่ยงภาษีอากร ดังต่อไปนี้ 1.1 การหลีกเลี่ยงภาษีอากรหรือการหนีภาษีอากร (Tax Evasion) การหลีกเลี่ยงภาษีอากรหรือการหนีภาษีอากร หมายถึง การเจตนาหรือจงใจหลีกเลี่ยงภาษีอากรหรือหนี้ภาษีอากรโดยทุจริต หรือโดยผิดกฎหมาย อาทิ (1) เจตนาแจ้งข้อความเท็จ ในการยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีอากร หรือให้ถ้อยคำหรือตอบคำถามด้วยถ้อยคำอันเป็นเท็จ หรือนำพยานหลักฐานเท็จไปแสดงต่อเจ้าพนักงาน เพื่อหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากรหรือโดยความเท็จ โดยฉ้อโกงหรืออุบายหรือโดยวิธีอื่นใดทำนองเดียวกัน หลีกเลี่ยง หรือพยายามหลีกเลี่ยงภาษีอากร เช่น อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

181 (ก) ออกใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ หรือใบลดหนี้โดยไม่มีสิทธิจะออก
(ก) จัดทำบัญชี 2 ชุด (ข) แสดงรายได้ หรือรายรับในแบบแสดงรายการเป็นเท็จ หรือต่ำกว่าที่เป็นจริงหรือแสดง รายจ่ายเป็นเท็จสูงกว่าที่เป็นจริง (2) เจตนาละเลยไม่ยื่นรายการที่ต้องยื่นเพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงภาษีอากร (3) ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ผู้ประกอบการจดทะเบียนหรือบุคคลอื่นใดโดยเจตนาหลีกเลี่ยง หรือพยายามหลีกเลี่ยงภาษีมูลค่าเพิ่ม โดย (ก) ออกใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ หรือใบลดหนี้โดยไม่มีสิทธิจะออก อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

182 ข) ไม่ออกใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ หรือใบลดหนี้ หรือใบแทนเอกสารดังกล่าว
(ค) ไม่ลงรายการหรือลงรายการเป็นเท็จ ในรายงานภาษีขาย รายงานภาษีซื้อ รายงานสินค้าและวัตถุดิบหรือรายงานมูลค่าของฐานภาษี (ง) โดยความเท็จ โดยฉ้อโกงหรืออุบาย หรือโดยวิธีการอื่นใดทำนองเดียวกันเจตนาหลีกเลี่ยง หรือพยายามหลีกเลี่ยงภาษีมูลค่าเพิ่ม (จ) นำใบกำกับภาษีปลอมหรือใบกำกับภาษีที่ออกโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ไปใช้ในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม เพื่อหลีกเลี่ยงภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นเท็จ (ฉ) ปลอมหลักฐานใบขนสินค้าขาออก เพื่อขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

183 การหลีกเลี่ยงภาษีอากร ผู้ประกอบการต้องรับผิดเสียภาษีอากรตามจำนวนเงินที่หลีกเลี่ยง พร้อมทั้งเบี้ยปรับ (Penalty) และเงินเพิ่ม (Surcharge) ซึ่งเป็นบทลงโทษทางแพ่ง โดยไม่อาจที่จะลดหย่อนผ่อนโทษลงได้แล้ว ยังต้องรับผิดตามบทกำหนดโทษทางอาญา ได้แก่ โทษจำคุก (Imprison) และค่าปรับ (Fine) อีกด้วย ซึ่งผู้ประกอบการไม่อาจนำค่าใช้จ่ายอันเกิดจากบทลงโทษดังกล่าว ไปถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรหรือขาดทุนทางภาษีอากร อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

184 2 การหลบหลีกภาษีอากร (Tax Avoidance)
2.1 การหลบหลีกภาษีอากร หมายถึง การใช้ช่องโหว่ (Loophole) ที่กฎหมายภาษีอากรเปิดช่องให้กระทำได้ โดยไม่ผิดกฎหมายมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการประกอบธุรกิจ และการเสียภาษีอากร เพื่อให้จำนวนภาระภาษีอากรที่ต้องเสียลดน้อยลงไปจากการดำเนินการปกติธุรกิจทั่วไป การหลบหลีกภาษีอากรถือเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนภาษีอากร จึงมีลักษณะใกล้เคียงกับการวางแผนภาษีอากรอย่างยิ่ง กล่าวคือการหลบหลีกภาษีอากร มีความมุ่งหมายที่จะให้จำนวนภาษีอากรที่ต้องเสียลดจำนวนลง โดยแสวงหาช่องโหว่ของกฎหมายภาษีอากร และนำช่องโหว่ดังกล่าวมาใช้เพื่อประหยัดเงินภาษีที่ต้องเสีย อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

185 แต่การวางแผนภาษีอากรมุ่งที่จะให้การเสียภาษีถูกต้องครบถ้วน ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขแห่งกฎหมายภาษีอากรในทุกประเด็น และเป็นจำนวนน้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ โดยไม่จำกัดเพียงการแสวงหาช่องโหว่ของกฎหมายภาษีอากร การหลบหลีกภาษีอากรเป็นการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขของกฎหมายภาษีอากร โดยใช้ช่องโหว่ของกฎหมายภาษีอากรให้เกิดประโยชน์ต่อธุรกิจและการเสียภาษีอากร จึงไม่เป็นการฝ่าฝืนหรือกระทำผิดต่อบทบัญญัติของกฎหมายภาษีอากร ผู้ใช้ช่องโหว่ของกฎหมายย่อมไม่ต้องรับโทษทางภาษีอากรใดๆ ? อ.จักรภัทร สูงศักดิ์

186 วิทยากร อาจารย์จักรภัทร สูงศักดิ์
อาจารย์จักรภัทร สูงศักดิ์ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร สวัสดีครับ..... อ.จักรภัทร สูงศักดิ์


ดาวน์โหลด ppt - ค่าธรรมเนียมต่างจากภาษี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google