งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (Withholding Tax-W/T)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (Withholding Tax-W/T)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (Withholding Tax-W/T)
อาจารย์ประจำสาขาการบัญชี คณะบัญชี

2 หลักการที่สำคัญของภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
“ เสียภาษีในขณะที่มีเงินได้” “Pay as You Earn” โดยใช้เกณฑ์เงินสด (Cash Basis)

3 ผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการ หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
1.กรมสรรพากร ออกกฎหมายจัดเก็บภาษี และกำหนดบทลงโทษ 2.ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่ จ่าย นิติบุคลโดยทั่วไป เช่นบริษัทจำกัด ห้างหุ้นส่วนจำกัด รัฐบาล รัฐวิสาหกิจ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นต่างๆ 3.ผู้ถูกหัก ภาษี ณ ที่จ่ายคือผู้มีเงินได้

4 หน้าที่และความรับผิดของผู้จ่ายเงินได้
1. หักภาษี ณ ที่จ่าย 2. ออกหนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่าย 3. นำส่งภาษีหัก ณ ที่จ่าย

5 การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
1.1 ใครเป็นผู้ที่ต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายบ้าง? 1.2 เงินได้ที่ต้องหักภาษีมีอะไรบ้าง? 1.3 คำนวณหักภาษีอย่างไร?

6 ใครเป็นผู้ที่ต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายบ้าง?
ผู้ที่ได้รับเงินได้และไม่ได้รับยกเว้นภาษีโดยทั่วไปได้แก่ บุคคลธรรมดา บริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด ห้างหุ้นส่วนจำกัด ห้างหุ้นส่วนสามัญ คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล

7 เงินได้ที่ต้องหักภาษีมีอะไรบ้าง?
เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1)-(8)

8 คำนวณหักภาษีหัก ณ ที่จ่ายอย่างไร
1.หักอัตราก้าวหน้าสำหรับเงินได้พึงประเมิน มาตรา 40(1)-40(3) เงินเดือนค่าแรง เงินได้จากตำแหน่ง งานที่ทำ ค่าลิขสิทธ์

9 คำนวณหักภาษีหัก ณ ที่จ่ายอย่างไร
2. หักตามอัตราที่กำหนดไว้ใน มาตรา 3 เตรส สำหรับเงินได้พึงประเมิน มาตรา 40 (4)-(8)

10 2. หักตามอัตราที่กำหนดไว้ใน มาตรา 3 เตรส
ร้อยละ 1 ค่าขนส่ง ,ค่าประกันวินาศภัย

11 2. หักตามอัตราที่กำหนดไว้ใน มาตรา 3 เตรส
ร้อยละ 2 ค่าโฆษณา

12 2. หักตามอัตราที่กำหนดไว้ใน มาตรา 3 เตรส
ร้อยละ 3 ค่าจ้างทำของ ค่าบริการ วิชาชีพอิสระ

13 2. หักตามอัตราที่กำหนดไว้ใน มาตรา 3 เตรส
ร้อยละ 5 ค่าเช่า รางวัลจากการประกวด

14 2. หักตามอัตราที่กำหนดไว้ใน มาตรา 3 เตรส
ร้อยละ 10 เงินปันผล (ผู้มีเงินได้อาศัยอยู่ในประเทศ)

15 2. หักตามอัตราที่กำหนดไว้ใน มาตรา 3 เตรส
ร้อยละ 15 ดอกเบี้ยจ่าย-บุคคลธรรมดา

16 3. หักอัตราร้อยละ 1 สำหรับผู้จ่ายเงินได้ที่เป็นส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นต่างๆ (ไม่ว่าจะเป็นการขายสินค้าหรือให้บริการ)

17 การออกหนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่าย
2.1 กรณีหักภาษี ณ ที่จ่าย ม. 40(1),(2) ออกหนังสือรับรองภาษี หัก ณ ที่จ่าย ภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ของปีถัดไป 2.2 กรณีหักภาษี ณ ที่จ่าย 40(3)-40(8) ต้องออกหนังสือรับรองให้ทุกครั้งที่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย 2.3 วันที่ระบุในหนังสือรับรอง คือวันที่รับเงินหรือวันที่ตามที่ระบุในเช็ค

18 แบบที่ใช้นำส่ง ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่หักไว้จะต้องนำส่ง กรมสรรพากร ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป กรณียื่นผ่านระบบ Internet ด้วยแบบนำส่งดังนี้ แบบ ภ.ง.ด. 1 สำหรับการหัก ภาษี ณ ที่จ่ายเงินได้ 40(1) และ(2)

19 แบบที่ใช้นำส่ง ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่หักไว้จะต้องนำส่ง กรมสรรพากร ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป ด้วยแบบนำส่งดังนี้ แบบ ภ.ง.ด. 2 สำหรับการหัก ภาษี ณ ที่จ่ายเงินได้ประเภท ดอกเบี้ย 40(3),(4)

20 แบบที่ใช้นำส่ง ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่หักไว้จะต้องนำส่ง กรมสรรพากร ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป ด้วยแบบนำส่งดังนี้ แบบ ภ.ง.ด. 3 สำหรับการหัก ภาษี ณ ที่จ่าย 40(3) -40(8) ที่ผู้ถูกหักภาษีเป็นบุคคลธรรมดา

21 แบบที่ใช้นำส่ง ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่หักไว้จะต้องนำส่ง กรมสรรพากร ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป ด้วยแบบนำส่งดังนี้ แบบภ.ง.ด. 53 สำหรับการหัก ภาษี ณ ที่จ่าย กรณีที่ผู้ถูกหักภาษีเป็นนิติบุคคล

22 บทลงโทษ กรณีที่ไม่ได้นำส่งภาษีหรือนำส่งภาษีหัก ณ ที่จ่ายขาด ต้องเสียค่าปรับแบบ 200 บาท และเงินเพิ่มอีก ร้อยละ 1.5 ของภาษีที่ไม่ได้นำส่งหรือ นำส่งขาดต่อเดือนหรือเศษของเดือน

23 การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย
Dr ค่าใช้จ่าย …………… xx Cr เงินสด /ธนาคาร xx ภาษีหัก ณ ที่จ่ายค้างจ่าย xx บันทึกจ่ายค่า…………….และหักภาษี ณ ที่ จ่าย Dr ภาษีหัก ณ ที่จ่าย xx Cr เงินสด/ธนาคาร xx บันทึกนำส่งภาษีหัก ณ ที่จ่ายสำหรับเดือน ……….


ดาวน์โหลด ppt ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (Withholding Tax-W/T)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google