งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
เอื้อมพร ธาตุทำเล.
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวนรินรัตน์ กล้าหาญ
ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ด้วยวิธี เพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัย นาง นุสรา ปิยะศาสตร์ ตำแหน่ง ครูผู้สอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดย การชมนิทรรศการในงาน BBC’s Educa Talent Contest 2014 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานภาษาต่างประเทศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
นำเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ สำหรับนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ . พัฒนาการเป็นผู้นำกิจกรรมนันทนาการ ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.2) สาขาวิชาการท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี โดยการใช้ชุดกิจกรรม ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ . วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี ได้กำหนดให้นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการท่องเที่ยว เรียนรายวิชา นันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ 1. รูปแบบ วิธีการจัดกิจกรรมนันทนาการ บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบในการให้บริการด้านนันทนาการ 2. ฝึกปฏิบัติการจัดกิจกรรมนันทนาการ และการจัดกิจกรรมนันทนาการให้เหมาะสมกับรูปแบบการท่องเที่ยว จากการศึกษาของผู้วิจัยพบว่า นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว มีปัญหาการเป็นผู้นำและกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ซึ่งสอดคล้องกับผลการสำรวจการเป็นผู้นำกิจกรรมนันทนาการ พบว่า มีนักศึกษาที่ไม่กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม เช่น ประหม่าเมื่อต้องนำเสนองานหน้าชั้นเรียน ไม่กล้าตอบคำถาม ไม่กล้าถามทั้งๆ ที่ไม่เข้าใจบทเรียน ไม่กล้าแสดงความคิดเห็นในการอภิปราย รวมถึงไม่กล้าแสดงออกในการทำกิจกรรมต่างๆ เป็นต้น

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมชุดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเป็นผู้นำกิจกรรมนันทนาการของนักศึกษา 2. เพื่อใช้และศึกษานวัตกรรมชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาพฤติกรรมกล้าแสดงออก 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาพฤติกรรมกล้าแสดงออก

กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรต้น ชุดฝึกกิจกรรมการเป็นผู้นำกิจกรรมนันทนาการ ตัวแปรตาม -พฤติกรรมกล้าแสดงออกของนักเรียน -ความพึงพอใจต่อการใช้ชุดกิจกรรม

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.2) สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี จำนวน 23 คน กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.2) สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี จำนวน 23 คน

เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล แผนการสอนวิชา 3702-2018 นันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว บทเรียนการวางแผนและการจัดกิจกรรมนันทนาการ - วัตถุประสงค์การเรียนรู้, สมรรถนะรายวิชา - เนื้อหา ซึ่งประกอบด้วย ใบความรู้ วิดีโอการจัดกิจกรรมนันทนาการประเภทต่าง ๆ - แบบฝึกปฏิบัติ แบบทดสอบปฏิบัติการจัดกิจกรรมนันทนาการ แบบ Pre-test และ Post –test

การเก็บข้อมูล 1. นำกิจกรรมฝึกการเป็นผู้นำกิจกรรมนันทนาการให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบแผนการจัดกิจกรรม จำนวน 3 ท่าน อ่านเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง และสอดคล้องกับเนื้อหา วัตถุประสงค์ กิจกรรม สื่อการเรียนการสอน การวัดผลและประเมินผล และประเมินเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย นำมาปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ ก่อนจะนำไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายต่อไป 2. ดำเนินการสอนโดยใช้กิจกรรมฝึกการเป็นผู้นำกิจกรรมนันทนาการ ทำการประเมินการเป็นผู้นำกิจกรรมนันทนาการของนักเรียน นำผลการประเมินมาเปรียบเทียบก่อนและหลังการใช้กิจกรรมฝึกการเป็นผู้นำกิจกรรมนันทนาการและสรุปผลการประเมินการเป็นผู้นำกิจกรรมนันทนาการ

การเก็บข้อมูล 3. นำแบบสอบถามความคิดเห็นของนักนักเรียน ที่พิจารณาความเหมาะสมแล้ว ไปใช้เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล 4. เสร็จสิ้นการทดลองใช้ชุดฝึกกิจกรรม วิชา นันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว ผู้วิจัยแจกแบบสอบถามความคิดเห็นให้นักเรียน 5. นำแบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาตรวจนับคะแนนเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ภาพหลักฐาน ใบงานการวางแผนการจัดกิจกรรมและ ใบประเมินผลการนำเสนอการจัดกิจกรรม

ผลการวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ ตารางที่ 1 แสดงจำนวนร้อยละ ของคะแนนการประเมินพฤติกรรม ก่อนและหลังการใช้กิจกรรมฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออก ที่ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 ค่า เฉลี่ยก่อน ค่า เฉลี่ยหลัง พัฒนาการ Pre Post 1 5 7 6 10 24 31 +7 2 4 9 8 22 34 +12 3 18 32 +14 26 +8 23 33 +10 25 +9 28 +6 +4 29 11 +5 12 35 13 19 27 14 15 30 16 17 +3 20 21 จำนวนนักเรียนที่มีพัฒนาการที่สูงขึ้น ร้อยละของนักเรียนที่มีพัฒนาการที่สูงขึ้น 35.2

ตารางที่ 2 แสดงผลการศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรม รายการ X S.D ระดับความคิดเห็น อันดับ 1. การเรียนการสอนโดยวิธีนี้ทำให้นักศึกษามีความสนใจ และเอาใจใส่ต่อการเรียนวิชานันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว 4.66 0.48 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 2 2. การเรียนการสอนโดยวิธีนี้ทำให้นักศึกษาเข้าใจ เนื้อหาสาระ 4.76 0.43 1 3. การเรียนการสอนโดยวิธีนี้ทำให้นักศึกษาเรียนรู้ ได้รวดเร็วขึ้น 4.63 0.49 3 4. การเรียนการสอนโดยวิธีนี้ทำให้เรื่องที่ยากเป็นเรื่องง่าย 5. การเรียนการสอนโดยวิธีนี้ทำให้นักศึกษามีความมั่นใจ ในการเรียนวิชา นันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว 4.46 0.68 เห็นด้วย 6 6. นักศึกษามีส่วนร่วมในการเรียนการสอน 7. กิจกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอนมีความน่าสนใจ 8. กิจกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอน สอดคล้องและเหมาะสมกับเนื้อหาสาระ 4.53 0.63 4 9. กิจกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอนมีความหลากหลาย และสอดคล้องกัน 4.50 0.78 5 10. เวลาในการจัดการเรียนการสอนเหมาะสม 4.33 0.76 7 รวมเฉลี่ย 4.61 0.14  

ผลสรุป จากตารางที่ 4.2 พบว่า ผลการแสดงความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรม โดยภาพรวมพบว่า นักศึกษาเห็นด้วยอย่างยิ่งต่อการเรียนการสอนชุดฝึกกิจกรรม รวมเฉลี่ย ( = 4.61 ) อันดับ 1 คือระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง มีทั้งหมด 3 รายการ การเรียนการสอนโดยวิธีนี้ทำให้นักศึกษาเข้าใจเนื้อหาสาระ ( = 4.76 ) การเรียนการสอนโดยวิธีนี้ทำให้เรื่องที่ยากเป็นเรื่องง่าย ( = 4.76 ) กิจกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอนมีความน่าสนใจ( = 4.76 ) อันดับ 2 มีทั้งหมด 2 รายการ การเรียนการสอนโดยวิธีนี้ทำให้นักศึกษามีความสนใจ และเอาใจใส่ต่อการเรียนวิชา นันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว ( = 4.66 ) นักศึกษามีส่วนร่วมในการเรียนการสอน( = 4.66 )

อันดับ 3 การเรียนการสอนโดยวิธีนี้ทำให้นักศึกษาเรียนรู้ได้รวดเร็วขึ้น ระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง ( = 4.63 ) อันดับ 4 สื่อที่ใช้ในการเรียนการสอน สอดคล้องและเหมาะสมกับเนื้อหาสาระระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง ( = 4.53 ) อันดับ 5 สื่อที่ใช้ในการเรียนการสอนมีความหลากหลายและสอดคล้องกัน ระดับเห็นด้วย( = 4.50 ) อันดับ 6 การเรียนการสอนโดยวิธีนี้ทำให้นักศึกษามีความมั่นใจในการเรียนวิชา การมัคคุเทศก์ ระดับเห็นด้วย ( = 4.46 ) และอันดับ 7 เวลาในการจัดการเรียนการสอนเหมาะสม ระดับเห็นด้วย ( = 4.33 )

สรุปผลการวิจัย 1. ผลสรุปตารางที่ 4.1 แสดงจำนวนร้อยละ ของคะแนนการประเมินพฤติกรรม ก่อนและหลังการใช้กิจกรรมฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกพบว่า นักศึกษามีพัฒนาการสูงขึ้นจำนวน 22 คน สามารถคิดเป็นร้อยละได้ 35.2 2. ผลสรุปตารางที่ 4.2 การแสดงความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนการสอนโดยใช้ชุดฝึกกิจกรรม โดยภาพรวมพบว่านักศึกษาเห็นด้วยอย่างยิ่งต่อการเรียนการสอนชุดฝึกกิจกรรม รวมเฉลี่ย (=4.61) อันดับหนึ่ง 1 มีทั้งหมด 3 รายการ ( = 4.76 ) อันดับหนึ่ง 5 มีทั้งหมด 1 รายการ ( = 4.50 ) อันดับหนึ่ง 2 มีทั้งหมด 2 รายการ ( = 4.66 ) อันดับหนึ่ง 6 มีทั้งหมด 1 รายการ ( = 4.46 ) อันดับหนึ่ง 3 มีทั้งหมด 1 รายการ ( = 4.63 ) อันดับหนึ่ง 7 มีทั้งหมด 1 รายการ ( = 4.33 ) อันดับหนึ่ง 4 มีทั้งหมด 1 รายการ ( = 4.53 )

ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยที่พบ และการนำผลการวิจัยไปใช้ 1.1 เมื่อมีการใช้กิจกรรมฝึกพฤติกรรมการกล้าแสดงออกของนักศึกษาแล้ว ควรจะใช้การสอนแบบอื่น ๆ เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีความกล้าแสดงออกมากยิ่งขึ้น 1.2 ผู้สอนควรมีการปรับกิจกรรมฝึกพฤติกรรม ตามความเหมาะสม ก่อนนำกิจกรรมไปใช้ครั้งต่อไป 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ผู้สอนควรนำกิจกรรมฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกไปใช้กับนักศึกษากลุ่มอื่นด้วย 2.2 ควรมีการประยุกต์ชุดฝึกกิจกรรมไปใช้เพื่อพัฒนาพฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่าง เหมาะสมกับนักศึกษาสาขาอื่นๆ โดยการฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมที่สอดคล้องกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักศึกษาสาขานั้นๆ