สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556
Advertisements

เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กันยายน 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศการท่าเรือแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษ การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง ของการ ให้บริการเรือลากจูง.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศการท่าเรือแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียม พิเศษการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงของ การให้บริการเรือลากจูง.
เครื่องมือเพื่อการคัดกรองโรคซึมเศร้า
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือน กันยายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มิถุนายน 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา ธันวาคม 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 31 มกราคม 2552 สัปดาห์ที่ 4 ปี 2552 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
การประชุม War Room กระทรวงสาธารณสุข ติดตามเฝ้าระวังแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 7/2556 วันที่ 5 เมษายน 2556 เวลา – น. ณ ห้องประชุม.
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สอบสวนการระบาดโรคไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H1N1/2009) ตำบล A อำเภอเมืองยโสธร จังหวัด ยโสธร กุมภาพันธ์ 2558.
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา เมษายน 2558 กลุ่มงานควบคุมโรค.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด จัดโดย กลุ่มงานควบคุมโรค
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สรุปงานระบาดวิทยาสถานการณ์โรคไข้มาลาเรีย ช่วงเดือนมกราคม - พฤษภาคม
ประชุมการตรวจสอบคุณภาพเวชระเบียน
สถานการณ์ ไข้เลือดออก อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2560
โรคไข้เลือดออกเขต 12.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ILI (Influenza Like Illness) กลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2558
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
ข้อมูลการประชุมเชิงปฏิบัติการ
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยรับยาต้านไวรัสเอดส์
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค NOC TB อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ระบบเฝ้าระวัง 5 ระบบ 5 มิติ ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ
การพัฒนาคุณภาพการดูแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559 ผู้ป่วยทั้งประเทศ 125,364 ราย เสียชีวิต 22 ราย ผู้ป่วยเขตสุขภาพที่ 9 13,606 ราย อัตราป่วยสูงเป็นลำดับที่ 4 ของประเทศ เสียชีวิต 13 ราย (นครราชสีมา 12 ราย สุรินทร์ 1 ราย) ผู้เสียชีวิต ส่วนใหญ่อายุ 65 ปีขึ้นไป (จ.นครราชสีมา ร้อยละ 66.67)

จำนวนผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ เขตตรวจสุขภาพที่ 9 เปรียบเทียบกับค่าพยากรณ์ ค่ามัธยฐาน 5 ปีและ พ.ศ.2559 ค่าพยากรณ์ ประมาณ 9453 ราย

อัตราป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ เขตสุขภาพที่ 9 จำแนกรายจังหวัด พ.ศ.2559

อัตราป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา จำแนกกลุ่มอายุ พ.ศ.2559

จำนวนตายโรคไข้หวัดใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ.2557 - 2559 จำนวนตายโรคไข้หวัดใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ.2557 - 2559

Subtype ที่พบในประเทศไทย พ. ศ Subtype ที่พบในประเทศไทย พ.ศ.2559 ส่วนใหญ่เป็น B A(H1N1)pdm09 และ A(H3)

จำนวนผู้ป่วย ILI จังหวัดนครราชสีมา สัปดาห์ที่ 41

ข้อมูลจากการสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิต พ.ศ.2557-2558 (27 ราย) ประวัติการมีโรคประจำตัว/เป็นกลุ่มเสี่ยง ผู้เสียชีวิตมีโรคประจำตัว ร้อยละ 70.4 ไม่มีโรคประจำตัว ร้อยละ 11.1 ไม่ทราบ ร้อยละ 18.5

โรคประจำตัว/ประวัติเสี่ยง Hypertension DM,HT,DLP,CKD,COPD วัณโรคปอด (ร่วมกับโรคอื่น ๆ ตั้งครรภ์ 30 wk ,รักษาหอบหืดแต่ไม่ต่อเนื่อง Alcoholic chronic,HIV Epileptics HIV / Asthma น้ำหนักมากกว่า 100 กก

ประวัติการได้รับวัคซีน - ได้รับ 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.7 - ไม่ได้รับวัคซีน 18 ราย คิดเป็นร้อยละ 66.7 - ไม่ทราบ 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 29.6  

การได้รับยา Oseltamivir (ส่วนใหญ่ได้รับที่ รพ.มหาราช) - ได้รับยา 16 คน คิดเป็นร้อยละ 59.3 (หลังจากป่วย 1 – 12 วัน เฉลี่ย 5.7 วัน) - ไม่ได้ยา 4 คน คิดเป็นร้อยละ 14.8 - ไม่มีข้อมูล 6 คน คิดเป็นร้อยละ 22.2

การประเมินความเสี่ยงต่อการระบาดและเสียชีวิต พ.ศ.2559 เป็นโรคระบาดในฤดูหนาว ปีนี้กรมอุตุนิยมวิทยาพยากรณ์ว่าจะกาศจะหนาวกว่าปีที่ผ่านมา มีการระบาดของ Subtype A(H1N1pdm2009)เพิ่มขึ้น พบผู้ป่วยส่วนใหญ่อายุน้อยกว่า 15 ปี (อาจมีอาการรุนแรงในคนที่ มีความต้านทานโรคต่ำ) 4. ผู้ป่วยสูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่ได้รับวัคซีน อาจมีอาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้

การประเมินความเสี่ยงต่อการระบาดและเสียชีวิต พ. ศ. 2559(ต่อ) 5 การประเมินความเสี่ยงต่อการระบาดและเสียชีวิต พ.ศ.2559(ต่อ) 5. วัคซีนมีปริมาณจำกัด และให้ฉีดเฉพาะกลุ่มที่มีอาการเสี่ยงต่อการเกิดโรคและจะมีอันตรายรุนแรง ดังนั้นอาจจะมีการระบาดในกลุ่มคนทั่วไปได้ 6. จากระบบเฝ้าระวังอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ( Influenza like illness : ILI ) พบว่ามีแนวโน้มมีเพิ่มขึ้น 7. หากได้รับยาต้านไวรัส เกิน 48 ชั่วโมง หลังเริ่มมีอาการ อาจจะไม่มีผลต่อการรักษา