นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ รองเลขาธิการ รักษาการเลขาธิการ สปสช.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
รายงานผลการดำเนินงาน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
แนวทางการสนับสนุนงบบริการสร้างเสริม สุขภาพและป้องกันโรค (PPA-PPD) เพื่อ สนับสนุนนโยบายทีมหมอครอบครัว (FCT) ปี 2558 เขต 9 นครราชสีมา งานพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิและเวชปฏิบัติครอบครัว.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ และกรอบการบริหารงบค่าบริการ ปี ๒๕๕๙ ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
ตัวชี้วัดมุ่งเน้น ตัวชี้วัดที่ 6
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นายวีระชัย ก้อน มณี ผช.ผอ.สปสช.เขต๙ นครราชสีมา
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การติดตาม (Monitoring)
การลงข้อมูล LTC ปี ลงข้อมูลผ่านเวปไซด์ : bit.ly\cmpho_ltc/2560
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
การดูแลผู้สูงอายุเครือข่ายพนมสารคาม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ รองเลขาธิการ รักษาการเลขาธิการ สปสช. ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ รองเลขาธิการ รักษาการเลขาธิการ สปสช.

ที่มา : ความสำคัญ จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ระดับปานกลางถึงทั้งหมดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ ๒. ศักยภาพของครอบครัวในการดูแลผู้สูงอายุ ถดถอยลง จากขนาดครอบครัวที่เล็กลง การเคลื่อนย้ายแรงงานจากชนบทสู่เมือง การทำงานนอกบ้านของสตรี ระบบบริการสาธารณสุขและบริการด้านสังคมที่ผ่านมาอยู่ในลักษณะตั้งรับ สามารถให้บริการหลักแก่กลุ่มที่ไม่มีภาวะพึ่งพิง สำหรับกลุ่มผู้มีภาวะพึ่งพิง บริการมีจำกัด และมักเป็นในรูปการสงเคราะห์เป็นครั้งคราว ไม่ต่อเนื่อง ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ รัฐบาลได้ให้งบค่าบริการ LTC ด้านการแพทย์ สำหรับผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงในชุมชน ๖๐๐ ล้านบาท ครอบคลุมร้อยละ ๑๐ ของกลุ่มเป้าหมายและพื้นที่

สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุของประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จีน ไทย และโลก หน่วย: เปอร์เซ็นต์ ผลการประมาณการโดย UN ระบุว่าประเทศ ไทยมีอัตราผู้สูงอายุสูงกว่าค่าเฉลี่ยของโลก ในช่วงตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 เป็นต้นมา ที่มา: Population Division of the Department of Economic and Social Affairs of the United Nations Secretariat, World Population Prospects: the 2010 Revision, http://esa.un.org/unpd/wpp/index.htm

ทางเลือกการออกแบบระบบ LTC Hospital based มีศักยภาพ ความพร้อมในการจัดการและบริการด้านการแพทย์ ไม่ครอบคลุมสิทธิประโยชน์บริการด้านสังคม การบูรณาการกับงานอื่นและหน่วยงานอื่นมีข้อจำกัด ภาระทางการเงินสูงมาก (๔๐๐ บาทx๓๖๕ วัน = ๑๔๖,๐๐๐ บาท/คน/ปี) Community based มีกองทุน matching fund ของ อปท.กับ สปสช.ทุกตำบลทั่วประเทศ ประสบการณ์ ๘ ปี บูรณาการได้ทั้งบริการด้านการแพทย์และด้านสังคม แนวโน้ม อปท.มีบทบาทและงบประมาณเพิ่มมากขึ้น ภาระทางการเงินไม่สูง ( ๑๖,๐๐๐ บาท/คน/ปี) สรุป ใช้ Community based เป็นหลักภายใต้การสนับสนุนทางวิชาการและบริการจาก Hospital based

หลักสำคัญในการออกแบบระบบ ๑. เน้นบูรณาการด้านบริการสาธารณสุขและบริการด้านสังคมในระดับพื้นที่ (ตำบล/หมู่บ้าน/ครอบครัว) ๒. คำนึงถึงความยั่งยืนและเป็นไปได้ของงบประมาณระยะยาวในอนาคต ๓. สนับสนุนให้ อปท. (เทศบาล/อบต.) เป็นเจ้าภาพหลักในการบริหารระบบ ผ่านทางระบบการบริหารของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท.ภายใต้การสนับสนุนของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่

หลักสำคัญในการออกแบบระบบ ๔. พัฒนาและขยายระบบบริการ LTC โดยมีผู้จัดการ Care Manager (พยาบาล หรือนักกายภาพบำบัด หรือนักสังคมสงเคราะห์ ฯลฯ) และอาสาสมัคร Care giver ที่ผ่านการฝึกอบรมและขึ้นทะเบียนดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเชิงรุกในพื้นที่ ๑ : ๑๐ คน โดยได้รับค่าตอบแทนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท. ที่มีอยู่แล้วภายใต้การบริหารของ อปท.

สรุปภาพรวมกองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท. จัดสรร45 บาท/คน สมทบ > 30-60%

กองทุนหลักประกันฯ อบต.เทศบาล โครงการสนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค ตั้งแต่ปี 2549-2558 รวม 625,386 โครงการ กองทุนหลักประกันฯ อบต.เทศบาล ผู้ใหญ่ 93,857 โครงการ เอดส์ 5,919 โครงการ เบาหวาน/ความดัน 55,937 โครงการ หัวใจ 1,728 โครงการ มะเร็ง 28,297โครงการ อนามัยแม่และเด็ก 47,650 โครงการ สุขภาพวัยเรียน/วัยรุ่น 53,850 โครงการ สุขภาพผู้สูงอายุ 59,565 โครงการ คนพิการ 22,991 โครงการ

ระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพึงในพื้นที่ ปี ๒๕๕๙ (จำนวน ๖๐๐ ล้านบาท) ๑๐๐ ลบ.(on top) บริการ LTC ในหน่วยบริการ สธ. ซื้อบริการ ๕๐๐ ลบ. เครือข่าย รพ.และรพ.สต. กองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท. สปสช. พม. มหาดไทย สสส. สช. สวรส. เอกชน สนับสนุนบริการ LTC ในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ผส. บริการเชิงรุกที่ศูนย์ฯ Care manager Care givers บริการเชิงรุก ที่บ้าน บริการเชิงรุกที่บ้าน ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง หมายเหตุ ชุดสิทธิประโยชน์บริการ LTC ด้านสาธารณสุขตามที่คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบ การดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงฯ หรือ สปสช.กำหนด

ชุดสิทธิประโยชน์บริการ LTC เชิงรุกในพื้นที่ บริการด้านสาธารณสุข เช่น - บริการการตรวจคัดกรอง ประเมินความต้องการดูแล - บริการดูแลที่บ้าน บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค, - บริการกายภาพบำบัด, บริการกิจกรรมบำบัด และอุปกรณ์เครื่องช่วยทางการแพทย์ ตามที่คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง หรือ สปสช. กำหนด ๒. บริการด้านสังคม เช่น บริการช่วยเหลืองานบ้าน การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน , บริการ อุปกรณ์ช่วยเหลือทางสังคม ,กิจกรรมนอกบ้าน และอื่นๆ

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ บทบาท/หน้าที่ - จัดทำข้อมูลและแผนดูแลกลุ่มเป้าหมายเป็นรายคน - ฝึกอบรม (In service training) และบริหาร Care giver ให้บริการเชิงรุก - ให้บริการ Day care (ฟื้นฟูและกิจกรรมบำบัด) ๒. มี Care manager (พยาบาล/นักกายภาพ/นักสังคมสงเคราะห์) และ Care giver (อาสาสมัครผ่านหลักสูตรฝึกอบรมตามมาตรฐาน)

เป้าหมายการดำเนินงานใน ๓ ปี (ทั่วประเทศ) ปีที่ ๑ (ปี ๒๕๕๙) ครอบคลุมพื้นที่และผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ๑๐% ประมาณ ๑,๐๐๐ พื้นที่ (เทศบาลหรือ อบต. ขนาดใหญ่ และกรุงเทพมหานคร) ดูแล ๑๐๐,๐๐๐ ราย ปีที่ ๒ (ปี ๒๕๖๐) ครอบคลุมพื้นที่และผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ๕๐% ประมาณ ๕,๐๐๐ เทศบาล/ตำบล และ ๕๐๐,๐๐๐ ราย ปีที่ ๓ (ปี ๒๕๖๑) ครอบคลุมพื้นที่และผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ๑๐๐% หรือ ทุกเทศบาล/ตำบล ประมาณ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ราย

หลักเกณฑ์การคัดเลือกพื้นที่เป้าหมาย ปี ๒๕๕๙(ประมาณ ๑๐๐๐ แห่ง ครอบคลุมเทศบาล หรือ อบต. ของทุกอำเภอ และกรุงเทพมหานคร) เทศบาลนคร เทศบาลเมือง (ทุกอำเภอ) และ อบต.ขนาดใหญ่ที่พร้อมเข้าร่วม ประมาณ ๙๐๐-๑,๐๐๐ แห่ง ๑.๑ พื้นที่ที่มีการนำร่องดำเนินงาน LTC ของหน่วยงานต่างๆ เช่น สธ. สสส. พม. เป็นต้น ๑.๒ พื้นที่กองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท.เกรด A+,A ๒. กรุงเทพมหานคร (ทุกศูนย์บริการสาธารณสุข) ประมาณ ๕๐-๑๐๐ พื้นที่

ตัวชี้วัดด้านกระบวนการดำเนินงานในพื้นที่ บทบาทของหน่วยบริการปฐมภูมิ ๑.๑ มีบริการ LTC ภายในหน่วยบริการ ๑.๒ มีทีมหมอครอบครัวให้บริการ LTC เชิงรุกในพื้นที่รับผิดชอบ (เริ่มจาก สำรวจและทำ Care plan ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงในพื้นที่เป็นรายคน และจัดบริการโดยได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท.) ๑.๓ มีการให้การสนับสนุนระบบบริการ LTC ของ อปท. ในพื้นที่ ๒. บทบาทของ อปท.ในการจัดการระบบบริการ LTC ๒.๑ มีการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท. ตามหลักเกณฑ์ที่ ประกาศอย่างต่อเนื่อง ๒.๒ มีการจัดระบบและสนับสนุนให้บริการ LTC ในพื้นที่ร่วมกับหน่วยบริการ ปฐมภูมิและเครือข่ายในพื้นที่ (ซื้อบริการ) ตามแผนการบริการ LTC ของกลุ่มเป้าหมายเป็นรายคน (Care plan) ๒.๓ มีการสนับสนุนการจัดบริการ LTC ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุในชุมชน (ถ้าพร้อม)

ตัวชี้วัดด้านผลผลิตในภาพรวม ร้อยละของผู้สูงอายุที่เข้าถึงระบบบริการสุขภาพ สัดส่วนผู้ดูแลผู้สูงอายุเมื่อเทียบกับจำนวนสูงอายุ กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด ๓. จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแลตามแผนการดูแล รายบุคคล (Care plan) ที่มีระดับคะแนน ADL ดีขึ้น จากกลุ่มติดเตียงเป็นติดบ้านและกลุ่มติดบ้านเป็น กลุ่มติดสังคม (ตัวชี้วัดระดับพื้นที่)

ประชาชนเป็นเจ้าของระบบหลักประกันสุขภาพ ...สวัสดี