การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในสูตร Tenofovir regimen ในคลินิกจิตอารีย์ โรงพยาบาลเขื่องใน ภญ.อรวรรณ ครองยุทธ โรงพยาบาลเขื่องใน จ.อุบลราชธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
สอบสวนการระบาดโรคไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H1N1/2009) ตำบล A อำเภอเมืองยโสธร จังหวัด ยโสธร กุมภาพันธ์ 2558.
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตและปัจจัยที่มีผลต่อ คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่ รับยาต้านไวรัสเอชไอวีในโรงพยาบาลวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
ผลงาน : เพิ่มประสิทธิภาพในการ รักษา ด้วย... การเสริมพลังอำนาจในกลุ่มผู้ ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาลอากาศอำนวย อำเภออากาศอำนวย จังหวัด สกลนคร.
การประชุม ผู้อำนวยการสถานศึกษา สพป. มหาสารคาม เขต 1 15 มกราคม 2558 ณ ห้องประชุม 4 B อาคารศูนย์ภาษา และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ดร. สุรัตน์
23 – 24 กรกฏาคม พ. ศ ณ ห้องปฏิบัติการสาขาวิชาสถิติประยุกต์ อาคาร 26 (26201 B)
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
พัฒนารายการตรวจทางเคมีคลินิกเพื่อติดตามเฝ้าระวังโรคไตในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีในสถาบันบำราศนราดูร บุษกร สันติสุขลาภผล ศิริรัตน์ ลิกานนท์สกุล พจนียา.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาระบบบริการผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วีและผู้ป่วยเอดส์
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
Seminar 1-3.
โครงการกำจัดโรคไวรัสตับอักเสบบี จากแม่สู่ลูก
การพัฒนารายการตรวจทางเคมีคลินิกเพื่อติดตามเฝ้าระวังโรคไต
แนวทางการดำเนินกิจกรรมและการสนับสนุนงบประมาณของ กองทุนโลกด้านวัณโรค “โครงการยุติปัญหา วัณโรคและเอดส์ด้วยชุดบริการ RRTTR: STAR-NFM” ของจังหวัดสระบุรี”
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
Medication Management System การพัฒนาระบบยาโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
สรุปผลการพัฒนาระบบส่งต่อข้อมูลการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ด้วยโปรแกรม Smart COC ฉะเชิงเทรา 1 ตุลาคม พฤศจิกายน 2561 กลุ่มงานการพยาบาลชุมชนรพ.พุทธโสธร.
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
PMTCT service โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี
Kerlinger (๑๙๘๘) กล่าวว่า การวิจัย เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสวงหาความรู้ ความจริง ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ในสังคมด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล ระแงะ จังหวัด นราธิวาส
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยรับยาต้านไวรัสเอดส์
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
Real Time Cohort Monitoring RTCM
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
ผลได้การบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยเอดส์ งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก
การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้ “การพัฒนาคุณภาพระบบบริการการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV/AIDS แบบครบถ้วนและต่อเนื่อง” PCTอายุรกรรม โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นวัณโรคแบบบูรณาการ
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในสูตร Tenofovir regimen ในคลินิกจิตอารีย์ โรงพยาบาลเขื่องใน ภญ.อรวรรณ ครองยุทธ โรงพยาบาลเขื่องใน จ.อุบลราชธานี

โรงพยาบาลเขื่องใน จ.อุบลราชธานี โรงพยาบาลชุมชน, 60 เตียง คลินิกจิตอารีย์ คงเหลือรับยาต้านไวรัส 170 คน สูตรยาต้านไวรัส GPO Z250 57.6% TDF regimen 16.5 % GPO S30 9.4 % Other

คลินิกจิตอารีย์ โรงพยาบาลเขื่องใน

ที่มาของปัญหา Tenofovir disoproxil fumarate (TDF) เป็นยาในกลุ่ม NRTIs ในสูตรยาต้านไวรัส Highly active antiretroviral therapy (HAART) ที่แนะนำเป็นสูตรแรกในประเทศไทย บางรายเกิดอาการ Fanconi syndrome คือกลุ่มอาการที่มีภาวะ tubular proteinuria, amino aciduria ,phosphaturia, glycosuria และ bicarbonate wasting ซึ่งไม่สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้า พบผู้ป่วย 1 ราย มีภาวะ muscle weakness, Albuminuria, Hypokalemia, Cr rising , GFR ลดลง และ มีอาการปกติเมื่อหยุดยา

อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (2557)

Fanconi syndrome Glucose Phosphate Bicarbonate Sodium Amino Acids Hypophosphatemia, acidosis, glycosuria, aminoaciduria, hypokalemia = FANCONI SYNDROME

Review of Literature Pediatr Nephrol. 2013 Jul;28(7):1011-23. doi: 10.1007/s00467-012-2269-7. Epub 2012 Aug 10.

วัตถุประสงค์ วิธีการวิจัย เพื่อศึกษาการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้สูตรยา Tenofovir-regimen ในคลินิกจิตอารีย์ โรงพยาบาลเขื่องใน วิธีการวิจัย การวิจัยเชิงพรรณนา ระยะเวลาที่ศึกษา ต.ค. 2554 – เม.ย. 2558

การรวบรวมข้อมูล ติดตามผลการตรวจรักษาตามแนวทางของประเทศไทย (Thailand National Guidelines on HIV/AIDS Treatment and Prevention 2014 ) ในผู้ติดเชื้อทั้งหมดที่ใช้ยาในสูตร Tenofovir-regimen ตั้งแต่ ตุลาคม 2554 – เมษายน 2558 จำนวน 39 ราย เก็บข้อมูลการตรวจทางห้องปฏิบัติอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับภาวะ Fanconi syndrome คือ ระดับของ Calcium , Phosphorus และ Electrolyte

ผลการศึกษา Characteristics N = 39 Age (years) 46 (30-73) Male (%) 51.3 CD4 count >200 cell/mm3 (%) 97.4 Viral load < 50 copies/ml (%) Time to get TDF (months) 35.5 (1.0-94.4) Baseline creatinine (mg/dl) 0.88 (0.6-1.29) Baseline Urine analysis WNL

ผลการตรวจรักษาตาม Thailand National Guidelines on HIV/AIDS Treatment and Prevention 2014 ผู้ติดเชื้อทั้งหมดที่ใช้ยาในสูตร Tenofovir-regimen ตั้งแต่ ตุลาคม 2554 – เมษายน 2558 จำนวน 39 ราย มีค่ากลางของเวลาที่ได้รับยา TDF คิดเป็น 35.5 เดือน (1.0 - 94.4 เดือน) พบว่าเกิดภาวะ Creatinine rising 23 ราย (ร้อยละ 59.0) Urine analysis พบภาวะ Albuminuria 20 ราย (ร้อยละ 51.3) ภาวะ Glycosuria 2 ราย (ร้อยละ 5.1) และ Hematuria 5 ราย (ร้อยละ 12.8)

ตรวจทางห้องปฏิบัติอื่นๆ ผลการตรวจ Electrolyte ในผู้ป่วย 34 ราย พบว่ามีภาวะ Hypokalemia 5 ราย (14.7%) ผลการตรวจ Calcium ในผู้ป่วย 34 รายพบว่ามีภาวะ Hypocalcemia 12 ราย (35.3%) ผลการตรวจ Phosphate ในผู้ป่วย 31 รายพบว่ามีภาวะ Hypophosphatemia 5 ราย (16.1%) มีผู้ป่วย 1 ราย มีภาวะ Hypokalemia , Albuminuria , Creatinine rising, Muscle weakness และอาการเป็นปกติหลังเปลี่ยนสูตรยา

ตรวจทางห้องปฏิบัติอื่นๆ LAB Monitor Abnormal patients patients( %) Time (months) Electrolyte 34 5 (14.7%) 46.2 (8.2-48.7) Calcium 12 (35.3%) 31.5 (17.3-89.3) Phosphate 31 5 (16.1%) 42.6 (18.2-89.3)

สรุปผล พบภาวะ Nephrotoxicity โดยมี Creatinine rising, Albuminuria และภาวะที่เกี่ยวเนื่องกับ Fanconi syndrome คือ Hypocalcemia , Hypophosphatemia และ Hypokalemia ในผู้ติดเชื้อที่ได้รับยาในสูตร Tenofovir-regimen ที่รับการรักษาในคลินิกจิตอารีย์ โรงพยาบาลเขื่องใน

การนำไปใช้ประโยชน์ นำเสนอปัญหาจากการใช้ยาดังกล่าวในการประชุมสรุปผลงานประจำปี 2557 และกำหนดมาตรฐานในการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส Tenofovir – regimen เพื่อเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา โดยเพิ่มการตรวจ Electrolyte , Calcium & Phosphate เพิ่มเติมจากมาตรฐานการดูแลรักษาตามแนวทางของประเทศไทย (Thailand National Guidelines on HIV/AIDS Treatment and Prevention 2014 ) เพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีและปลอดภัยจากการใช้ยาที่อาจส่งผลต่อชีวิตของผู้ป่วยทั้งในระยะสั้นและระยะยาว และควรมีการศึกษาเพิ่มเติมในประชากรไทยถึงอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาต้านไวรัสสูตร TDF regimen เพื่อจะได้กำหนดเป็นมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยให้ปลอดภัยยิ่งขึ้น

Thailand National Guidelines 2014