คณะตรวจราชการและนิเทศงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
Advertisements

กรอบการวิเคราะห์การพัฒนา ปี 2559 รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์ กลุ่มงานโยบายและ แผน รพ. ชร.
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2561สู่ MOPH 4.0.
ตรวจราชการรอบที่ 2/2559 โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
การดำเนินงาน RTI.
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
งบแสดงสถานะการเงิน รายการ ปีงบ 61 ณ 28 ก.พ. 61
Risk Management System
4 เมษายน 2561 โดย นพ.ธานินทร์ โตจีน ประธาน MCH Board เขตสุขภาพที่ 4
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
Service Plan สาขาโรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2559
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
นายแพทย์ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 2
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
การดำเนินการ CIPO Sepsis เขตสุขภาพที่ 1 ปีงบประมาณ 2560
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
นพ.สมศักดิ์ อุทัยพิบูลย์
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจร และระบบการส่งต่อ จังหวัดมหาสารคาม นพ.เฉลิมพล บุญพรหมธีรกุล.
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
KPI กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่3 Service Plan Heart Q2.
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอแม่ทา
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
เขตสุขภาพที่ 11 นพ. ประกอบ ลือชาเกียรติศักดิ์
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน.
การพัฒนาระบบบริการจังหวัดอำนาจเจริญ
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
เครือข่ายบริการ สุขภาพ อำเภอแม่ฟ้าหลวง
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ECS คุณภาพ โรงพยาบาลยางสีสุราช ปี 2561 (ไตรมาสที่ 1)
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะตรวจราชการและนิเทศงาน ยินดีต้อนรับ คณะตรวจราชการและนิเทศงาน ปีงบประมาณ 2562รอบที่ 1

กรอบการนำเสนอ ข้อมูลทั่วไป ศักยภาพโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไต สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน สาขาอายุรกรรม สาขาการรับบริจาคและการปลูกถ่ายอวัยวะ สาขา One Day Surgery สาขาหัวใจและหลอดเลือด สาขาโรคตา สาขาทารกแรกเกิด สาขาสูติกรรม สาขากุมารเวชกรรม สาขามะเร็ง

เครือข่ายระบบบริการสุขภาพในจังหวัดนราธิวาส รพ. นราธิวาสฯ รับผิดชอบ 9 อำเภอ ประชากร 580,870 คน รพ.สุไหงโก-ลก รับผิดชอบ 4 อำเภอ ประชากร 215,369 คน รพ.สต. 111 แห่ง ศสม. 5 แห่ง ศบท. 1 แห่ง ระแงะ แว้ง สุคิริน จะแนะ สุไหงปาดี ตากใบ เจาะไอร้อง ศรีสาคร รือเสาะ เมือง ยี่งอ บาเจาะ สุไหงโกลก S M1 F1 F2 ระดับ F2 9 แห่ง รพ.จะแนะ รพ.บาเจาะ รพ.รือเสาะ รพ.ศรีสาคร รพ.เจาะไอร้อง รพ.ยี่งอฯ รพ.แว้ง รพ.สุคิริน รพ.สุไหงปาดี ระดับ S 1 แห่ง รพ.นราธิวาสฯ ระดับ M1 1 แห่ง รพ.สุไหงโก-ลก ระดับ F1 2 แห่ง รพ.ระแงะ รพ.ตากใบ ที่มา HDC จังหวัดนราธิวาส ณ ตุลาคม 2561

เครือข่ายระบบบริการสุขภาพในอำเภอเมืองนราธิวาส รพ.สต. 11 แห่ง ประชากร นอกเขตเทศบาล 65,109 คน ศสม. 3 แห่ง ศบท. 1 แห่ง ประชากรในเขตเทศบาล 30,454 คน ระดับ L 2 แห่ง ลำภู กะลุวอเหนือ บือราเป๊ะ โคกเคียน ลำภู สุไหงบาลา บางปอ ตะโล๊ะแน็ง โคกศิลา กะลุวอ กะลุวอเหนือ สะปอม รพ.นราธิวาสฯ มะนังตายอ รพ.ระดับ S 1 แห่ง รพ.นราธิวาสฯ ระดับ M 9 แห่ง สุไหงบาลา โคกเคียน บือราเป๊ะ มะนังตายอ บางปอ ตะโล๊ะแน๊ง โคกศิลา กะลุวอ สะปอม PCC 3 แห่ง กำปงบารู ยะกัง 2 ประชาภิรมย์ ศบท. 1 แห่ง ศูนย์ฯ เทศบาล ระดับ S - แห่ง ไม่มี ที่มา HDC จังหวัดนราธิวาส ณ ตุลาคม 2561

ประชากรในเขตเทศบาล 30,454 คน เครือข่ายระบบบริการสุขภาพในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส ประชากรในเขตเทศบาล 30,454 คน ศสม. 3 แห่ง ศบท. 1 แห่ง ศสม. กำปงบารู ปชก. 10,198 คน ศบท. เทศบาลเมือง ปชก. 6,116 คน ศสม. ประชาภิรมย์ ปชก. 5,666 คน ศสม. ยะกัง2 ปชก. 8,474 คน ที่มา HDC จังหวัดนราธิวาส ณ ตุลาคม 2561

ข้อมูลอัตรากำลังโรงพยาบาลนราธิวาสราชนรินทร์ สัดส่วน บุคลากร 2562 ตำแหน่ง FTE ปีงบประมาณ %กรอบขั้นต่ำ กรอบขั้นสูง กรอบขั้นต่ำ 2558 2559 2560 2561 2562 แพทย์ 105 82 61 62 70 69 73 62.19 ทันตแพทย์ 19 14 9 10 12 13 11 92.86 เภสัชกร 38 30 24 28 27 93.33 พยาบาลวิชาชีพ/พยาบาลเทคนิค 597 477 496 484 465 457 447 93.71 - พยาบาลวิชาชีพ 483 474 459 453 444 - พยาบาลเทคนิค 6 4 3 เจ้าหน้าที่อื่น ๆ 98 103 108 110 ลูกจ้างประจำ 123 107 97 84 71 พนักงานราชการ 35 39 40 45 50 พกส. 282 271 247 237 231 ลูกจ้างชั่วคราว 46 67 ลูกจ้างเหมาบริการ 78 165 174 182 215 1,244 1,297 1,287 1,296 1,301 ที่มา : กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล รพ. นราธิวาสฯ ณ พฤศจิกายน 2561

ขาด (-) / เกิน จากกรอบขั้นสูง ข้อมูลแพทย์เฉพาะทาง ที่ สาขาแพทย์เฉพาะทาง กรอบขั้นสูง ปฏิบัติงานจริง ปีที่จบการศึกษา รวมทั้งสิ้น ขาด (-) / เกิน จากกรอบขั้นสูง 62 63 64 65 รวมศึกษาต่อ 1 สูติ-นรีเวชวิทยา 8 - 2 ศัลยศาสตร์ 6 3 อายุรศาสตร์ 10 7 -3 4 อายุรศาสตร์โรคไต 5 กุมารเวชศาสตร์ -1 ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ -2 เวชศาสตร์ฉุกเฉิน วิสัญญีวิทยา 9 ประสาทศัลยศาสตร์ รังสีวิทยาวินิจฉัย 11 เวชศาสตร์ฟื้นฟู 12 จิตเวชศาสตร์ 13 จักษุวิทยา 14 โสต ศอ นาสิก 15 ศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา 16 ประสาทวิทยา 2  17 เวชศาสตร์ครอบครัว 22 -18 18 แพทย์ GP   19 พยาธิวิทยากายวิภาค 20 กุมารเวชศาสตร์โรคเลือด 21 มะเร็งนรีวิทยา รวม 49 23 72 ที่มา : กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล และงานพัฒนาบุคลากร รพ. นราธิวาสฯ ณ ธันวาคม 2561

ข้อมูลอัตรากำลังพยาบาล หน่วยงานที่มีความเสี่ยงสูง ขั้นต่ำ (คน) จำนวนที่มี (คน) ขาด เกิน ผ่านการอบรม ร้อยละ แผนพัฒนาบุคลากร 2562 หมายเหตุ ICU 23 22 1 - 15 71.42 2 CCU 18 17 9 52.94 RCU 27 25 8 32.00 NICU 19 13 68.42 ER 34 28 6 7 25.00 OR 7.14 4 กำลังศึกษา 1 คน LR 21 9.52 วิสัญญี 16 100 ไตเทียม 12 ที่มา : กลุ่มการพยาบาล รพ. นราธิวาสฯ ณ พฤศจิกายน 2561

อาคารอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ศักยภาพการให้บริการ จำนวนผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในเฉลี่ยต่อวัน ศักยภาพ จำนวน ห้องผ่าตัด 8 ห้อง ห้องผ่าตัดเล็ก 1 ห้อง ห้องตรวจผู้ป่วยนอก 33 ห้อง คลินิกผู้ป่วยนอก 42 คลินิก หอผู้ป่วยหนัก - ICU 10 เตียง - NICU 13 เตียง - RCU 12 เตียง - CCU 8 เตียง - Stroke unit 6 เตียง ไตเทียม 1 16 เตียง ไตเทียม 2 ห้องคลอด 4 เตียง ห้องรอคลอด 15 เตียง อาคารอุบัติเหตุและฉุกเฉิน  - Resuscitate 2 Unit - Observe หอผู้ป่วยใน - เตียงพิเศษ 119 ห้อง (15 หอผู้ป่วย) - เตียงสามัญ 288 เตียง (11 หอผู้ป่วย) ER Overcrowding อัตราครองเตียง ที่มา กลุ่มการพยาบาล และเวชสารสนเทศ ตุลาคม 2561

อันดับโรคผู้ป่วยนอก – ผู้ป่วยในที่มารับบริการที่ รพ.นราธิวาสฯ 2560 2561 2562 โรค จำนวน 1 Essential (primary) hypertension 16,954 Chronic kidney disease 19,151 Dental caries 2,961 2 16,208 17,227 1,711 3 15,641 13,220 1,456 4 Diabetes 9,626 9,820 836 5 Fever 4,937 Diseases of pulp and periapical tissues 4,418 690 OPD IPD อันดับ ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 โรค จำนวน 1 Maternal care for Abnormal 1,204 Pneumonia 1,238 141 2 Diarrhea 918 1,175 124 3 Dengue hemorrhagic fever 914 957 Senile cataract 121 4 Pneumonia, 895 Cerebral infarction 739 101 5 Thalassemia 682 Neonatal jaundice 604 89 ที่มา : เวชสารสนเทศ รพ. นราธิวาสฯ ณ ตุลาคม 2561

อันดับสาเหตุการเสียชีวิต ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 สาเหตุ จำนวน 1 Accident 130 108 Essential (Primary) Hypertension 11 2 Pneumonia 87 9 3 64 Essential Hypertension 72 Malignant Neoplasm Of Ovary 7 4 Ischemic Heart Diseases 56 Leukemia 57 Acute Myocardial Infarction 5 Malignant Neoplasms 50 46 การถูกทำร้ายโดยการใช้กำลังกาย Dead ที่มา : เวชสารสนเทศ รพ. นราธิวาสฯ ณ ตุลาคม 2561

เกณฑ์โรงพยาบาลทั่วไป ≥ 1.2 ดัชนีผู้ป่วยใน CMI ของสถานบริการ เกณฑ์โรงพยาบาลทั่วไป ≥ 1.2 ปีงบประมาณ ผลการดำเนินงาน Sum Adj.RW Case (N) CMI 2557 33,811.74 29,907 1.14 2558 33,686.72 30,147 1.06 2559 35,321.89 31,322 1.13 2560 36,821.25 30,297 1.21 2561 36,396.92 29,577 1.22 2562 3,706.52 2,972 1.23 ที่มา : เวชสารสนเทศ รพ. นราธิวาสฯ ณ ตุลาคม 2561

สถานการณ์การเงิน ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี CR QR Cash NWC NI+Depleciation Liquid Index Status Index Survive Index Risk Scoring 2560 1.46 1.36 0.95 82,851,406.24 40,234,867.92 1 2561 1.66 1.52 1.22 115,616,862.98 3,344,056.31 2562 2.01 1.87 1.38 166,256,774.90 45,560,833.11 Unit Cost ปีงบประมาณ ต้นทุน OPD ต้นทุน IPD ค่าเฉลี่ย+1SD ผลงาน การประเมิน 2560 1,104.47 1,137.86 ไม่ผ่าน 15,188.98 14,694.29 ผ่าน 2561 1,097.80 943.23 15,404.03 17,005.66 2562 1,102.25 368.53 15,990.87 16,227.44 ที่มา : กลุ่มงานบัญชีและการเงิน รพ. นราธิวาสฯ ณ ตุลาคม 2561

การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ

สาขาโรคไต สถานการณ์/ปัญหา มาตรการ ปี 2562 ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (ESRD) ต้องรอคิวนานเพื่อฟอกเลือด > 20 ราย ผู้ป่วยปฏิเสธการรักษาบำบัดทดแทนไตมากขึ้น การชะลอการเสื่อมของไตยังไม่ผ่านเกณฑ์ แต่ CKD Clinic สามารถสามารถดูแลผู้ป่วยไม่ให้เพิ่มระยะ และสามารถลดความเสื่อมของไตได้ (75.90%) และ ลดเป็นระยะที่ 2 (10.30%) ระบบสารสนเทศในจังหวัดได้รับข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์ ขยายบริการในเครือข่าย รพ.กัลยาฯ ในปี 2562 โดยมี รพ.นราธิวาสฯ เป็นพี่เลี้ยง ออกนิเทศติดตาม CKD Clinic ทุกแห่ง จัดตั้งทีม IT Management บูรณาการร่วมกับ Service plan ปฐมภูมิ / Service plan NCD ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อ Implement Palliative Care สาหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย แนวโน้มของการชะลอการเสื่อมของไต การค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วย HT/DM ข้อจำกัด โอกาสพัฒนา ผู้ป่วยปฏิเสธการรักษาบำบัดทดแทนไตมากขึ้น ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อ Implement Palliative Care สาหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย การค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วย HT/DM สะท้อนข้อมูล Service plan NCD และปฐมภูมิ เพื่อบูรณาการการคัดกรองและเก็บข้อมูล ระบบสารสนเทศการคัดกรองไต บูรณาการร่วมกับงาน NCD/Palliative Care / ปฐมภูมิ เพื่อพัฒนาด้าน IT

สาขาโรคไต : ผลการดำเนินงาน ปี 2562 ระแงะ แว้ง สุคิริน จะแนะ สุไหงปาดี ตากใบ เจาะไอร้อง ศรีสาคร รือเสาะ เมือง ยี่งอ บาเจาะ สุไหงโกลก สาขาโรคไต : ผลการดำเนินงาน ปี 2562 แนวโน้มของการชะลอการเสื่อมของไต (มากกว่าร้อยละ 66)   เป้าหมาย ผลงาน อัตรา นราธิวาส 60 30 50.00 สุไหงโก-ลก 106 68 64.15 ตากใบ 17 16 94.12 บาเจาะ 93 58 62.37 ระแงะ รือเสาะ 12 8 66.67 ศรีสาคร 28 22 78.57 แว้ง 19 42.10 สุคิริน 6 100 สุไหงปาดี 24 70.83 จะแนะ 2 เจาะไอร้อง 90 50 55.56 ยี่งอ 3 รวม 553 346 62.56 แนวโน้มการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วย HT/DM แนวโน้มผู้ป่วยไตเรื้อรัง ระยะที่ 3 คงที่

อัตราการตายของผู้ป่วย (Triage Level 1) ภายใน 24 ชม. ใน รพท. สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน สถานการณ์/ปัญหา มาตรการปี 2562 อุบัติเหตุจราจรยังเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิต ER crowding เป็นกลุ่มไม่ฉุกเฉิน (ช่วง OPD นอกเวลาปิด) ผู้ป่วย Level 1, 2 มาโดยระบบ EMS น้อย (ร้อยละ 13.03) Ambulance เกิดอุบัติเหตุขณะส่งต่อ 6 ครั้ง (ไม่มีการเสียชีวิต) อัตราการเสียชีวิตใน 24 ชม. พบมากในผู้ป่วย Level 1, 2 มีการทบทวนผู้บาดเจ็บที่เสียชีวิต PS >0.75 ทุกราย การจัดตั้ง TEA Unit ยังไม่เป็นรูปธรรมอยู่ระหว่างการพัฒนา มีศูนย์การส่งต่อระหว่างประเทศที่ รพ.สุไหงโกลก เฝ้าระวังสถานการณ์จากภัยอื่นๆ เช่น โรคระบาดหัด น้ำท่วม มีทีม Mini MERT ทุกอำเภอและทีม MERT ในระดับจังหวัด ECS คุณภาพในระดับจังหวัดผ่านเกณฑ์ ดำเนินงาน ECS คุณภาพ ER คุณภาพ (ลด ER Crowding/พัฒนา CPG/CNPG, พัฒนาบุคลากร) EMS คุณภาพ (Entry 1669, ลด response time) ปรับปรุง Care Process Improvement พัฒนามาตรฐาน TEA Unit ข้อจำกัด โอกาสพัฒนา อัตราการตาย (triage L1) ภายใน 24 ชม. ทบทวนการตาย (triage L1) อย่างเป็นระบบ ปรับปรุง care process ในL1 เป็นระบบทั้งเครือข่าย ER crowding สูง พัฒนาคุณภาพการ Triage การเข้าถึงบริการ EMS น้อย/ขาดการประชาสัมพันธ์เชิงรุก พัฒนารูปแบบการประชาสัมพันธ์ลงชุมชน/คลินิกพิเศษ ลด response time ข้อมูลขาดการวิเคราะห์และการนำไปใช้ พัฒนามาตรฐาน TEA Unit อัตราการตายของผู้ป่วย (Triage Level 1) ภายใน 24 ชม. ใน รพท.

สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน : ผลการดำเนินงาน 2562 อัตราของผู้ป่วย Triage Level 1, 2 อยู่ในห้องฉุกเฉิน < 2 ชั่วโมง ในรพ.ระดับ S, M1 >60 % ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (Triage Level 1, 2) > 22% อัตราตายผู้ป่วยบาดเจ็บรุนแรงต่อสมอง <45 % TEA Unit ใน รพ. ระดับ S, M1 ผ่านเกณฑ์ประเมิน >80 %

สาขาอายุรกรรม สถานการณ์/ปัญหา อัตราตายด้วย sepsis แบบรุนแรง (CI) เท่ากับ ร้อยละ 36.34 ในเครือข่ายนราธิวาสมีกระบวนการดูแลผู้ป่วย มีการใช้ Protocol sepsis, standing order sepsis /ใช้เครื่องมือในการ early warning sign ได้แก่ SOS score, SOFA, qSOFA ทั้งเครือข่ายนราธิวาส เครื่องมืออุปกรณ์ มีเครื่องเจาะ lactate มีจำนวน 5/13 ของรพ.เครือข่ายนราธิวาส มีการใช้ยา inotrope (ยา levophed) จำนวน 5ใน13 ของรพ.เครือข่ายนราธิวาส อัตราตายผู้ป่วย Sepsis แบบรุนแรงชนิด community-acquired มาตรการ ปี 2562 ติดตามลงนิเทศหน้างานตึกที่เกี่ยวข้อง และนิเทศโรงพยาบาลเครือข่ายเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีโรคร่วมและผู้สูงอายุ ผลักดันให้รพ.ในเครือข่ายนราธิวาสมีเครื่องเจาะ lactateและใช้ ยา inotrope (ยา levophed) ทุกรพ ข้อจำกัด โอกาสพัฒนา อัตราการเสียชีวิตยังสูงเกิดจากในกระบวน assessment, miss dx, delay Tx มีโรคร่วม, ผู้สูงอายุ ใช้ยา inotrope (ยา levophed) ยังไม่ครอบคลุม เครื่องเจาะ lactateยังไม่ครอบคลุม การลงข้อมูล ICD 10 ยังพบความไม่สมบูรณ์ใน รพ. ทบทวน case dead ด้วย sepsis เพื่อค้นหาปัญหาและแก้ไขร่วมกัน ผลักดันให้รพ.ในเครือข่ายนราธิวาสมีเครื่องเจาะ lactateและใช้ ยา inotrope (ยา levophed) ทุกรพ ให้ความรู้และกำกับติดตามการลงรหัส ICD 10 ให้ถูกต้อง

สาขาการรับบริจาคและการปลูกถ่ายอวัยวะ สถานการณ์/ปัญหา มาตรการ ปี 2562 มีศูนย์รับบริจาคอวัยวะและดวงตา ที่โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ เพื่อรับแจ้งความจำนงในการบริจาคอวัยวะและดวงตา พัฒนาบุคลากรและระบบจัดเก็บข้อมูล จัดประชุมวิชาการให้บุคลากรและเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง ประชา สัมพันธ์ และรณรงค์ภาคประชาชน ผลการดำเนินงาน 2560 2561 ผู้ขึ้นทะเบียนบริจาคอวัยวะและดวงตา 20 ราย 292 ราย ผู้จำนงบริจาคตา 16 ราย 299 ราย ข้อจำกัด โอกาสพัฒนา เจตคติ ความร่วมมือของบุคลากร และประชาชนในพื้นที่ ศักยภาพ/ความเชี่ยวชาญของแพทย์และพยาบาล อุปกรณ์ทางการแพทย์ในการดูแลผู้รับบริจาคอวัยวะ บุคลากรไม่มั่นใจในการเจรจา ไม่มีการแจ้งวินิจฉัยภาวะสมองตาย สนับสนุนการประชาสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอ อบรมหลักสูตรแพทย์ระยะสั้น 3 เดือน สนับสนุนอุปกรณ์หรืองบประมาณให้มีอุปกรณ์ทางการแพทย์ในการดูแลผู้บริจาคอวัยวะอย่างเหมาะสม ฝึกทักษะการเจรจา พัฒนาควบคู่ระบบ Care Giver

โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ One Day Surgery โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก มีการดำเนินงาน 8 โรค Inguinal hernia Hydrocele Hemorrhoid Vaginal bleeding Esophageal varices สมัครเข้าร่วมโครงการ ODS ดำเนินการ 12 โรค Esophageal stricture Esophageal cancer with obstruction Colorectal polyp ผลการดำเนินการ รพ.สก. ผลการดำเนินการ รพ.นธ รายการโรค ผลการดำเนินงาน 2561 2562 จำนวน ODS 8 15 สำเร็จ 6 13 ร้อยละ 75.00 86.67 จัดวางระบบและดำเนินการ พัฒนาศักยภาพบุคลากร สร้างเครือข่ายการประสานงาน รอรับการประเมินจากเขตสุขภาพ ข้อจำกัด โอกาสพัฒนา การจัดเตรียมสถานที่ แพทย์เฉพาะทาง พยาบาลประจำศูนย์ ODS ศักยภาพการรักษาพยาบาล ODS ระบบการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล รพ.นธ. มีการเตรียมการด้าน ODS สนับสนุน สถานที่ เครื่องมือ ให้บริการได้ตามมาตรฐาน พัฒนาศักยภาพบุคลาการ สร้างความเชื่อมั่นในระบบบริการ ODS ด้าน patient safety

อัตราตายของผู้ป่วย STEMI การรักษาผู้ป่วยSTEMI ได้ตามเวลา 30 นาที สาขาโรคหัวใจและหลอดเลือด สถานการณ์/ปัญหา มาตรการ ปี 2562 มีอัตราการตายสูงเกินเกณฑ์ แนวโน้มการรับยา SK มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น รพ. ทุกแห่งสามารถให้ยา SK ได้ มีบริการคลินิกวาร์ฟาริน ทุกแห่ง มี Heart Failure Clinic ที่ รพท. ยังไม่สามารถส่ง PPCI ที่ รพ ยะลา มุ่งเสริมสร้าง STEMI Alert บูณาการงานร่วมกับ NCD,ปฐมภูมิ และ อุบัติเหตุและฉุกเฉิน พัฒนาศักยภาพบุคลากร ทักษะแปลผลEKG /Echocardiogram นิเทศ กำกับ โดยเครือข่ายสัญจร ที่ รพช. ทำ STEMI สัญจรร่วมกันกับ Cardiologist ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ PNC ACS อัตราตายของผู้ป่วย STEMI ข้อจำกัด โอกาสพัฒนา การรับรู้เรื่องอาการ ความรุนแรงของโรค เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ สู่ชุมชุนให้มากขึ้น ให้ความรู้กับผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรัง (NCD) ในชุมชน เพื่อลดความรุนแรงและลดอัตราตาย ศักยภาพการรักษามีข้อจำกัด ควรมีการขยายขีดความสามารถของ รพ.ศูนย์ยะลา การรักษาผู้ป่วยSTEMI ได้ตามเวลา 30 นาที

สาขาโรคหัวใจและหลอดเลือด : ผลการดำเนินงาน 2562 อัตราตายของผู้ป่วย STEMI (น้อยกว่าร้อยละ 10) ระแงะ แว้ง สุคิริน จะแนะ สุไหงปาดี ตากใบ เจาะไอร้อง ศรีสาคร รือเสาะ เมือง ยี่งอ บาเจาะ สุไหงโกลก   ผู้ป่วย STEMI ตาย อัตรา นราธิวาส 6 สุไหงโก-ลก 3 2 66.7 ตากใบ บาเจาะ ระแงะ 4 รือเสาะ 5 1 20.00 ศรีสาคร 100 แว้ง 50.00 สุคิริน สุไหงปาดี จะแนะ เจาะไอร้อง ยี่งอ รวม 31 16.13 อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ การรักษาผู้ป่วยSTEMI ได้ตามเวลา 30 นาที

แนวโน้มผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรอง สาขาโรคตา สถานการณ์/ปัญหา มาตรการ ปี 2562 ดำเนินงานเชิงรุกร่วมทีมแพทย์ทหาร /พอสว./แพทย์อาสา/มูลนิธิพิทักษ์ดวงตา เจ้าหน้าที่ และ อสม. ร่วมกันคัดกรองผู้สูงอายุ Blinding Cataract ได้การผ่าตัดภายใน 30 วันตามเกณฑ์ ใช้โปรแกรม Vision2020 ในการควบคุมกำกับ คัดกรองที่ครอบคลุม และแก้ปัญหารายกรณี ลดความชุกของผู้สูงอายุที่มีสายตาผิดปกติ โดยเฉพาะตาบอด (VA แย่กว่า 10/200) และสายตาเลือนราง (VA แย่กว่า 20/200) อบรมเจ้าหน้าที่โดยจักษุแพทย์และพยาบาลเวชปฏิบัติทางตา อสม.และเจ้าหน้าที่คัดกรอง โดยมีทีมรพท.เป็นพี่เลี้ยง จักษุแพทย์และพยาบาลฯออกหน่วยรพช.คัดกรองสายตา บันทึกข้อมูลลงโปรแกรม Vision2020 บูรณาการร่วมกันระหว่างทีมสาธารณสุขและภาคีเครือข่าย ผู้ป่วยต้อกระจกระยะบอด (Blinding cataract)ได้รับการผ่าตัดอย่างรวดเร็ว พัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยต้อกระจกเป็นระบบ fast track แนวโน้มผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรอง ข้อจำกัด โอกาสการพัฒนา มีผู้ป่วยยังเข้าไม่ถึงบริการโดยทีมจักษุ ผู้ป่วยปฏิเสธการผ่าตัด ฐานข้อมูลประชากรผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปยังไม่update ขาดการลงข้อมูล Vision2020 ในเขตเทศบาล มีทีมintensive care สำหรับ surgery case มีการติดตามในรายปฏิเสธผ่าตัด Auditการลงข้อมูลอย่างสม่่ำเสมอ(สูงอายุ,vision2020)

แนวโน้มผู้ป่วย Blinding cataractได้รับการผ่าตัดภายใน 30 สาขาโรคตา : ผลการดำเนินงาน 2562 ระแงะ แว้ง สุคิริน จะแนะ สุไหงปาดี ตากใบ เจาะไอร้อง ศรีสาคร รือเสาะ เมือง ยี่งอ บาเจาะ สุไหงโกลก ร้อยละผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสายตา (มากกว่าร้อยละ 75)   เป้าหมาย ผลงาน อัตรา นราธิวาส 8,119 5,818 71.66 สุไหงโก-ลก 6,301 5,235 83.08 ตากใบ 1,283 497 38.74 บาเจาะ 5,484 4,408 80.38 ระแงะ 7,861 6,048 76.94 รือเสาะ 5,359 5,094 95.06 ศรีสาคร 640 374 58.44 แว้ง 4,228 2,165 51.21 สุคิริน 2,217 2,184 89.51 สุไหงปาดี 5,173 3,359 64.93 จะแนะ 3,020 1,898 62.85 เจาะไอร้อง 3,532 2,315 65.54 ยี่งอ 4,369 265 59.05 รวม 57,586 41,975 72.89 แนวโน้มผู้ป่วย Blinding cataractได้รับการผ่าตัดภายใน 30

แนวโน้มการเสียชีวิตของทารกแรกเกิด สาขาทารกแรกเกิด สถานการณ์/ปัญหา ทารก อายุ < 28 วัน ตายจากสาเหตุ (60/12,042) ทารกเกิดก่อนกำหนด /ทารกพิการแต่กำเนิด / ภาวะ MAS (PPHN) เตียง NICU 1: 666.00 (LB 12042) อัตราครองเตียง 91.36 คัดกรองโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด 100 % มีระบบ fast tract newborn referral system ที่สามารถลดภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ ใช้ศาสตร์มณีเวชในกลุ่มทารก Respiratory distress โครงสร้างผิดปกติ ปัญหาการดูดกลืน (นำร่องที่ รพ.นธ.) วิจัยร่วมทารกคลอดก่อนกำหนดและน้ำหนักตัวน้อย Refer back เพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 40.60 มีจำนวน NNP ร้อยละ 50 แนวโน้มการเสียชีวิตของทารกแรกเกิด มาตรการ ปี 2562 สร้างเสริมศักยภาพบุคลากรในเครือข่ายให้มีสมรรถนะในการดูแลทารกแรกเกิด บูรณาการความร่วมมือกับ SP สาขาสูติกรรม ป้องกันทารกพิการแต่กำเนิดและคลอดก่อนกำหนด บูรณาการความร่วมมือกับสาขาปฐมภูมิในการส่งเสริมการใช้ยาธาตุโพลิกแก่หญิงวัยเจริญพันธ์ป้องกันทารกพิการแต่กำเนิด ข้อจำกัด โอกาสพัฒนา ทารก อายุ < 28 วัน ตายจากสาเหตุ ทารกเกิดก่อนกำหนด /ทารกพิการแต่กำเนิด / ภาวะ MAS (PPHN) การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาซับซ้อน ได้แก่ ทารกทางศัลยกรรมและโรคหัวใจ คืนข้อมูลกับ SP สาขาสูติกรรม เพื่อป้องกันการคลอดก่อนกำหนด และภาวะ ภาวะ MAS (PPHN) ทุกไตรมาส Collaboratory ร่วมกับเครือข่าย SP เขตสุขภาพที่ 12 ในการดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาซับซ้อน เพื่อการส่งต่อ

แนวโน้มการเสียชีวิตของทารกแรกเกิด สาขาทารกแรกเกิด : ผลการดำเนินงาน อัตราตายทารกแรกเกิด อายุ < 28 วัน น้ำหนัก > 500 กรัม (ไตรมาส 1 ไม่เกิน 4.1 ต่อพันทารกเกิดมีชีพ)   เป้าหมาย ผลงาน อัตรา นราธิวาส 831 4 4.81 สุไหงโก-ลก 381 2 5.24 ตากใบ 101 - บาเจาะ 95 ระแงะ 132 รือเสาะ 131 ศรีสาคร 85 แว้ง 58 สุคิริน 48 สุไหงปาดี 62 จะแนะ 88 เจาะไอร้อง 35 ยี่งอ 59 รวม 2,106 6 2.85 ระแงะ แว้ง สุคิริน จะแนะ สุไหงปาดี ตากใบ เจาะไอร้อง ศรีสาคร รือเสาะ เมือง ยี่งอ บาเจาะ สุไหงโกลก แนวโน้มการเสียชีวิตของทารกแรกเกิด

มารดาเสียชีวิตจาก PPH ข้อเสนอแนะ/โอกาสพัฒนา สาขาสูติกรรม สถานการณ์/ปัญหา อัตรามารดาเสียชีวิตจากPPH ปี2561 ร้อยละ 0.82 ลดลงจากปี 2560 ใช้ “แนวทางการดูแลรักษาหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะตกเลือด“ Early detection : ใช้ถุงตวงเลือดหลังคลอดทารก คำนวณ SI Score และรายงานแพทย์ทันที Early diagnosis : รายงานแพทย์ทันทีเมื่อเสียเลือด≥300 cc Early Refer : PPH Fast Track with Standing Order สูติแพทย์ zoning and consulting มีPNC สาขามารดาและทารกแรกเกิด ใช้ PPH Fast track ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2560 มารดาเสียชีวิตจาก PPH มาตรการ ปี 2562 ใช้ PPH Fast track ทุกโรงพยาบาล วินิจฉัย และส่งต่อผู้ป่วยที่มีภาวะตกเลือด ใช้แนวทาง Early detection / Early diagnosis รายงานแพทย์ทันทีเมื่อเสียเลือด≥300 cc Early Refer : PPH Fast Track PNC ปัญหา / ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ/โอกาสพัฒนา บุคลากรขาดความมั่นใจในการช่วยเหลือผู้ป่วยภาวะวิกฤตทางสูติกรรม เนื่องจากมีการหมุนเวียนแพทย์ประจำโรงพยาบาลชุมชน และพยาบาลใหม่เข้ามารับงานห้องคลอด จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะวิกฤตทางสูติกรรมเป็นประจำทุกปี โดยมีเป้าหมายหลัก คือ แพทย์ประจำโรงพยาบาลชุมชน และพยาบาลห้องคลอด

การเสียชีวิตโรคปอดบวมในเด็ก 1 เดือน – 5 ปี ข้อเสนอแนะ/โอกาสพัฒนา สาขากุมารเวชกรรม สถานการณ์/ปัญหา มาตรการ ปี 2562 อัตราตาย pneumonia 0-5 ปี เกินเกณฑ์ ทบทวนจากเวชระเบียน พบ Delay access/entry อาการทรุดขณะส่งต่อ การดูแลผู้ป่วย severe pneumonia ต้องอยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤต และใช้เครื่องช่วยหายใจที่ ward ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อร่วมวิเคราะห์ค้นหาปัญหาร่วมกับเครือข่ายเพื่อนำแนวทางการพัฒนาลงลงสู่การปฏิบัตินำไปสู่ความรอบรู้ด้านสุขภาพ คัดเลือกแพทย์/พยาบาลวิชาชีพในหน่วยงานเพื่อเป็นแกนนำในการดำเนินงาน ติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการดำเนินงานในเครือข่าย Service Plan สาขา กุมารเวชกรรมในจังหวัดนราธิวาส การเสียชีวิตโรคปอดบวมในเด็ก 1 เดือน – 5 ปี ปัญหา / ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ/โอกาสพัฒนา ผู้ป่วยเสียชีวิตส่วนใหญ่รับ Refer จากโรงพยาบาลในเครือข่าย สาเหตุจากการเข้าถึงสถานพยาบาลล่าช้าและมีอาการทรุดหนักขนาดนำส่งโรงพยาบาล คิดเป็นร้อยละ 30.30(10 ราย), 29.16 (7 ราย) ตามลำดับ ปรับปรุงแนวทางการปฏิบัติในการวินิจฉัยและการดูแลให้มีมาตรฐานและติดตามตัวชี้วัดแก้ไขปัญหาและอุปสรรคร่วมกับโรงพยาบาลเครือข่ายนราธิวาส

แนวโน้มของการคัดกรองมะเร็ง การรักษาตามระยะเวลาที่กำหนด สาขามะเร็ง สถานการณ์/ปัญหา มาตรการ ปี 2562 การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม ต่ำ (ร้อยละ38.24) ร้อยละผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการรักษาภายในระยะเวลาที่กำหนด ต่ำ เยี่ยมบ้านเชิงรุกโดยนำร่องในผู้ป่วยคลินิกศัลยกรรม มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ โดยพยาบาลเวชกรรมชุมชน สามารถให้การวินิจฉัย ยาเคมีบำบัด และการผ่าตัดได้ มีการใช้ฐานข้อมูลจาก Thai Cancer Based Refer นอกเขตสุขภาพลดลง เพิ่มการออกหน่วยบริการเชิงรุก ปรับเปลี่ยนทัศนคติประชาชนในพื้นที่ จัดทีมคัดกรองระดับจังหวัดช่วยพื้นที่ผลงานต่ำ จัดการและพัฒนาระบบข้อมูล/ทะเบียนมะเร็ง และ ระบบส่งต่อผู้ป่วยโรคมะเร็ง เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน แนวโน้มของการคัดกรองมะเร็ง การรักษาตามระยะเวลาที่กำหนด ข้อจำกัด โอกาสพัฒนา คัดกรองมะเร็งปากมดลูกมีรายใหม่เพิ่มมาน้อย ปฏิเสธการคัดกรอง กลัว อาย สามีไม่ยินยอม ผู้ป่วยมะเร็งบางส่วนปฏิเสธการรักษา ร่วมบูรณาการกับหน่วยงานอื่นๆ ในการออกคัดกรอง ส่วนกลางสนับสนุนการให้ความรู้เพื่อปรับทัศนคติของประชาชน/ญาติ/ผู้นำชุมชน พัฒนาแนวทางการคืนข้อมูลให้ชุมชน เพิ่มการติดตามใช้ COC

สาขามะเร็ง : ผลการดำเนินงาน 2562 การคัดกรองมะเร็งเต้านมและปากมดลูก การรักษาตามระยะเวลาที่กำหนด สัดส่วนของผู้ป่วยระยะ 1 และ 2 refer นอกเขตสุขภาพ (ลดลง)

ขอบคุณ