Midterm workshop สานพลังสร้างมาตรการองค์กรเพื่อถนนปลอดภัย 16-17 ตุลาคม 2017 นายแพทย์วิทยา ชาติบัญชาชัย WHO expert advisory panel for injury prevention and control
ปฐมนิเทศแผนงานมาตรการองค์กร เพื่อความปลอดภัยทางถนน 8-9 กุมภาพันธ์ 2017 นายแพทย์วิทยา ชาติบัญชาชัย WHO expert advisory panel for injury prevention and control
1. สภาพปัญหาสถานการณ์ อุบัติเหตุทางถนน
Every hour, 3 Thais will die on the road Every hour, 200 Thais will get serious injured Every hour, 8 Thais will become permanent handicap
2. สถานการณ์การจัดการกับปัญหาอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทย
Thailand Road Safety Network Local Provinces 5E strategic work plans Central Government MOI MOT MOH MOJ MOE National Police Bureau NIEM NHSO NGO Private sector Experts P Public media Consumer protection foundation GRSP Thai roads National Health foundation ATRANS Road accident victim protection company
ผลลัพธ์ของการดำเนินการ ที่ผ่านมาของประเทศไทย
สถานการณ์การเสียชีวิตของคนไทย จากอุบัติเหตุทางถนน ปี พ.ศ. จำนวนเสียชีวิต จาก 3 ฐานข้อมูล (คน)* จำนวนประชากร (ล้านคน)** อัตรา ต่อแสน(3ฐาน) WHO global status report*** อัตรา ต่อแสน(WHO) 2553 63.9 26312 38.1 2554 23390 64.1 36.4 2555 22841 64.5 35.4 24237 36.2 2556 22438 64.8 34.6 2557 21429 65.1 32.9 2558 19479 65.7 29.6 2559 22356 65.9 33.9 กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข :รวบรวมจาก 3 ฐานข้อมูล คือ จากใบมรณะบัตร, สำนักงานตำรวจแห่งชาติ และบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (http//rti.doc.moph.go.th/RTDDI/modules/Report/Report06.aspx)
เราจะยอมรับความจริงกันมั้ยว่า ยุทธศาสตร์ที่เราใช้กันอยู่ในวันนี้ มันไม่ได้ผล
International Coordination Road Safety Management WHO framework for decade of action(2011-2020) UNGA ,2 March 2010 , New York International Coordination National activities Road Safety Management Infra structure Safe Vehicle Road user behavior Post crash care
ทบทวนยุทธศาสตร์ ที่เราจะต้องปรับ นับจากนี้ไป
Adnan ได้เสนอว่า จะต้องมีองค์กรนำในระดับชาติ ต้องเน้นการบังคับใช้ กม – นำเทคโนโลยีมาเสริมการทำงาน เรียนรู้จากกันและกัน ต้องเอาจริงเอาจังกับการขยายผล-scale up จะต้องมีมาตรการองค์กร เริ่มต้นจากฐานราก จากชุมชน สู่นโยบาย – big bottom up ชื่นชมกับความหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นปัญหา และวิธีการ เนื่องจากปัญหาการบาดเจ็บเป็นปัญหาที่สลับซับซ้อน วิธีการ แก้ปัญหา พื้นๆ ที่เป็นสูตรสำเร็จ ไม่สามารถแก้ปัญหา วิเคราะห์หาความเสี่ยงที่แตกต่างไม่ว่า จะเป็นพื้นที่ หรือกลุ่ม ประชากร เชื่อมั่นในเครือข่าย เสริมพลังเครือข่าย ดึงศักยภาพของ เครือข่ายมาสนับสนุนการดำเนินงาน- partnership
หลายๆคนถามว่า เราต้องทำไปทำไมกับการป้องกัน อุบัติเหตุทางถนน คำตอบมันอยู่ในหัวใจนี้คือ บ้านนี้เป็นบ้านเราเอง เรารู้อยู่เต็มอก ว่าเราทุกคน เมื่อต้องออกมาสัญจรบน ท้องถนน มันเสี่ยงทุกวินาที คนเมา คนบ้า คนฝ่าไฟแดง คนขับรถย้อนศร คนขับรถ เร็ว เต็มบ้านเต็มเมือง ถ้าเราไม่ลงมือแก้ไขกันเอง จะมีใครมาแก้ให้ เราจะปล่อยให้มันเป็นอยู่อย่างนี้ไปเรื่อยๆได้อย่างไร จะปล่อยให้ลูกหลานของเรา ต้องอยู่ด้วยความเสี่ยง อย่างนี้ได้อย่างไร เราจะรอคอยให้หน่วยงานส่วนกลางมาแก้ไขให้ ถามว่า เราจะฝากความหวังได้แค่ไหนกัน
การผลักดันมาตรการองค์กร ยุทธศาสตร์สำคัญ ของ สอจร 26/06/62
ยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อน O A U E I
Organzation enforcement มีส่วนร่วมดำเนินการ 3 องค์กรประกันสังคม,บริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ทีมสนับสนุนสอจร. การและภาคีเครือข่ายของแต่ละจังหวัดมี การดำเนินการอย่างน้อย 5 องค์กร/จังหวัด
ความปลอดภัยจากอุบัติภัยบนท้องถนน แม้ลมหายใจเดียวก็มีค่า ความปลอดภัยจากอุบัติภัยบนท้องถนน แม้ลมหายใจเดียวก็มีค่า
1 ธันวาคม 2557
มาตรการองค์กรเพื่อการป้องกันอุบัติเหตุจราจร ตัวของเราเอง คนในครอบครัว บุคลากรทุกคนในสถานประกอบการของเรา ออกระเบียบปฏิบัติภายในพื้นที่ของเรา เข้าร่วมรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุของจังหวัด
มาตรการองค์กรเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน จะใกล้จะไกลขี่มอเตอร์ไซค์ต้อง เปิดไฟ ใส่หมวก ดื่มไม่ขับเด็ดขาด ไม่ขับเร็ว ขับรถคาดเข็มขัดนิรภัย ง่วงไม่ขับ ขับขี่รถตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด เดินทางกับหมู่คณะ ไม่ใช้รถสองชั้น ติดตั้งเข็มขัดในรถตู้ของสถานประกอบการ ติดตั้งกล้องวงจรปิดในรถทุกคัน ติด GPS ในรถพยาบาลทุกคัน เป็นเรื่องง่ายๆใช่ไหมครับ
แผนงานประชารัฐเพื่อสังคม นโยบาย ของรัฐบาล แผนงานประชารัฐเพื่อสังคม
การประชุมจัดตั้งคณะกรรมการประชารัฐเพื่อสังคม (เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2559 ณ โรงแรมดุสิตธานี) นโยบายสานพลังประชารัฐตลอด 1 ปีที่ผ่านมา เป็นไปได้ดีมาก แต่ส่วนใหญ่เป็นประเด็นด้านเศรษฐกิจ รองนายกรัฐมนตรี ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ จึงได้หารือร่วมกับ ศ.นพ.ประเวศ วะสี ราษฎรอาวุโส เพื่อเริ่มต้นนโยบายประชารัฐด้านสังคมอย่างจริงจัง จึงนำไปสู่การตั้งคณะทำงานประชารัฐเพื่อสังคม ศ.นพ.ประเวศ วะสี ราษฎรอาวุโส กล่าวบรรยายพิเศษเรื่อง “ภาคีธุรกิจ เพื่อการพัฒนาประเทศไทย” ว่า แนวทางประชารัฐเป็นการเปลี่ยนวิธีคิดครั้งใหญ่ในประวัติศาสตร์ไทย ซึ่งภาคเอกชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมเป็นกลไกทำงานเพื่อประโยชน์ของประเทศได้ อาทิ การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เด็ก และเยาชน ด้านนายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจ กล่าวว่า นโยบายประชารัฐตลอด 1 ปีที่ผ่านมาเป็นไปได้ดีมาก แต่ส่วนใหญ่เป็นไปในด้านเศรษฐกิจ ตนจึงได้หารือร่วมกับ ศ.นพ.ประเวศ วะสี ราษฎรอาวุโส อยากให้มีการเริ่มต้นนโยบายประชารัฐด้านสังคมอย่างจริงจัง ซึ่งมีหลายเรื่องที่ภาคเอกชนสามารถเข้ามาร่วมผลักดันไปได้ เช่น การผลักดันการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ นายอิสระ ว่องกุศลกิจ ประธานหอการค้าไทย และประธานสภาหอการค้าไทย กล่าวว่า ในส่วน 5 ประเด็นที่ นำเสนอมีความเป็นไปได้สูง ในการที่ภาคธุรกิจจะเข้ามาเป็นกลไกร่วมพัฒนาขุมขน สร้างความเข้มแข็งในพื้นที่ โดยแนวทางการดำเนินงานของคณะทำงานประชารัฐเพื่อสังคมประกอบด้วย 5 เรื่อง ได้แก่ (1) การพัฒนา สุขภาวะเด็กปฐมวัย / (2) การจ้างงานคนพิการ / (3) การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ / (4) การลดอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ / (5) การสร้างเครือข่ายชุมชนเพื่อการแก้ปัญหาในพื้นที่
โครงสร้างการขับเคลื่อนตามนโยบายสานพลังประชารัฐ ลดความเหลื่อมล้ำ พัฒนาคุณภาพคน เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์หลัก (Grand Strategy) 4 เสาหลัก 1. ธรรมาภิบาล 2. นวัตกรรมและผลิตภาพ 3. การยกระดับคุณภาพทุนมนุษย์ 4. การมีส่วนร่วมในความมั่งคั่ง 7 ตัวขับเคลื่อน 1. การยกระดับนวัตกรรมและผลิตภาพ 2. การส่งเสริม SMEs & Start-up 3. การส่งเสริมการท่องเที่ยวและ MICE 4. การส่งเสริมการส่งออกและการลงทุนในต่างประเทศ 5. การพัฒนาคลัสเตอร์ภาคอุตสาหกรรม ที่เป็น New S-curve 6. การพัฒนาการเกษตรสมัยใหม่ 7. การสร้างรายได้และการกระตุ้นการใช้จ่ายของประเทศ 6 ปัจจัยสนับสนุน 1. การดึงดูดการลงทุนและการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานของประเทศ 2. การยกระดับคุณภาพวิชาชีพ 3. การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ 4. การปรับแก้กฎหมายและกลไกภาครัฐ 5. การศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ 6. ประชารัฐเพื่อสังคม (E6) ***
ประเด็นดำเนินงานคณะทำงานประชารัฐเพื่อสังคม (E6) การพัฒนาสุขภาวะเด็กปฐมวัย การจ้างงาน คนพิการ การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ การลดอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ การสร้างเครือข่ายชุมชนเพื่อการแก้ปัญหาในพื้นที่ ประเด็นขับเคลื่อนในระยะสั้น (Quick Win) *** การจ้างงานคนพิการ การออมเพื่อการเกษียณอายุ ความปลอดภัยบนท้องถนน การจ้างงานผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยเพื่อผู้สูงอายุ เสริมพลัง (Empower) กลไกแก้ไขปัญหาในพื้นที่ สร้างความเข้มแข็ง (Strengthen) ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การขับเคลื่อนเชิงพื้นที่ ผ่านการสร้างเครือข่ายชุมชน
แนวทางการทำงานและกลไกขับเคลื่อนการพัฒนาสังคม
กรอบแนวคิดหลัก Know-How Exit Strategy ใช้การดำเนินงานประชารัฐ เพื่อร่วมแก้ปัญหาที่มี ผลกระทบทางสังคม Social Impact-Oriented มีทุนเดิมและฐานการทำงานที่ต่อยอดได้ Know-How มีความยั่งยืนในการทำงานที่ต่อเนื่อง ไม่ก่อให้เกิดปัญหา การสนับสนุนโครงการในระยะยาว Exit Strategy
ต้นแบบความร่วมมือประชารัฐเพื่อสังคม 1.การทำงานเชิงประเด็น ผ่านภาคีเครือข่าย/องค์กรตัวกลาง คนพิการ ศพด. ผู้สูง อายุ กลไกชุมชน 2.การทำงานเชิงพื้นที่ ผ่านกลไกการมีส่วนร่วม ลดอุบัติเหตุ Happy 8 ชุมชนสุขภาวะ สสส. และภาคี บริบทพื้นที่ ศพด.
ต้นแบบเพื่อการขยายผล การพัฒนาสุขภาวะเด็กปฐมวัย ศูนย์เรียนรู้ 15 แห่ง งานพัฒนาเด็กและเยาวชนตำบลสุขภาวะ 200 แห่ง คนพิการมีงานทำ ฐานนโยบาย 100:1 เป้าหมาย 10000 คน การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ฐานความร่วมมือ ศพอส 878 แห่ง ตำบลสุขภาวะ 300 แห่ง ชุมชนเมือง 20 แห่ง การลดอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ ฐานงานโรงงานสีขาว ชุมชนน่าอยู่ 100++ แห่ง เครือข่าย Happy Work Place 8000++ แห่ง การสร้างเครือข่ายเพื่อการแก้ปัญหาในพื้นที่ (เน้นการมีส่วนร่วม รัฐ เอกชน ประชาสังคม) ฐานงานตำบลสุขภาวะ 2600 แห่ง ชุมชนน่า อยู่ แห่ง การพัฒนาเด็กเล็ก ท้องไม่พร้อม สิ่งแวดล้อม (ขยะ) อาหารปลอดภัย ส่งเสริมอาชีพกลุ่ม ประชากร คนไร้บ้าน เด็กเร่ร่อน ฯลฯ
มาตรการองค์กรเพื่อความปลอดภัยทางถนน สวมหมวกนิรภัย 100%
นโยบาย สวมหมวก 100% อำ นวย การ ปฏิบัติ การ
ผู้ใหญ่ วัยรุ่น เด็ก
MOU หน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน 2 สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายของ ตำรวจ ตัวอย่าง... การขับเคลื่อน การสวมหมวกนิรภัย 100 % โดย ตำรวจ ผ่าน “มาตรการองค์กร เพื่อความปลอดภัยทางถนน” MOU หน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน นำผู้ไม่สวมหมวก มาดูหนัง + ppt case คนภูเก็ต ที่เสียชีวิตจากไม่สวมหมวก 2 ป้าย ประชาสัมพันธ์ 3 อุ่นเครื่อง : บังคับใช้ + ให้ข้อมูล เตรียมข้อมูล + ประชุมชี้แจงหน่วยงาน 1 4 จัดทำข้อมูล (ปริมาณ + case สำคัญ) เชิงรุก : นำเสนอสถานการณ์ ความรุนแรง ชักชวนมีส่วนร่วม .. “มาตรการองค์กร” D-day : บังคับใช้จริง ..
1 2 3 4 MODEL “มาตรการองค์กรเพื่อความปลอดภัยทางถนน” เสริมพลังประชารัฐ “ขยายมาตรการองค์กรเพื่อความปลอดภัยทางถนน” ในภาคเอกชน สถานประกอบการ โรงงาน นิคมอุตสาหกรรม ทั้งเรื่อง การสวมหมวกนิรภัย 100% การขับขี่ปลอดภัย (ดื่มไม่ขับ ไม่ขับรถเร็ว คาดเข็มขัดนิรภัย) 2 กระตุ้นให้องค์กร เห็นความสำคัญในการ ออกนโยบาย/กฎระเบียบ/ประกาศ ขององค์กร เพื่อกระตุ้นให้บุคลากรเกิดการใช้รถใช้ถนนที่ปลอดภัย ด้วยความห่วงใย 3 ผลักดันให้เกิดมาตรการองค์กรดูแลพนักงานในหน่วยงานอย่างจริงจัง มีหน่วยงาน/เจ้าหน้าที่ในองค์กรกำกับดูแล เพื่อให้พนักงานใช้รถใช้ถนนความความปลอดภัย เช่น สวมหมวกนิรภัย 100% ดื่มไม่ขับ ไม่ขับรถเร็ว คาดเข็มขัดนิรภัย เป็นต้น 4 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดหา สนับสนุน และบำรุงรักษาเครื่องมืออุปกรณ์สำหรับการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และบุคลากร เช่น เครื่องตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอล์ เครื่องตรวจ จับความเร็ว กล้องวงจรปิด (CCTV) กล้องติดรถยนต์ และอุปกรณ์บันทึกพฤติกรรม การขับขี่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้ตามกฎระเบียบขององค์กร เป็นต้น
ประโยชน์ของ “มาตรการองค์กรเพื่อความปลอดภัยทางถนน” ประโยชน์ของ “มาตรการองค์กรเพื่อความปลอดภัยทางถนน” องค์กรสามารถรักษาชีวิตบุคลากร/พนักงาน ลดค่าใช้จ่ายขององค์กรในการดูแลบุคลากร/พนักงาน ลดความสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศ ลดจำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ลดจำนวนผู้พิการ ผู้สูงอายุมีคนดูแล (ปัจจุบันวัยรุ่น วัยทำงาน พิการจากอุบัติเหตุ เป็นของภาระผู้สูงอายุที่ต้องดูแลลูกหลาน)
Facebook : ห่วงใครให้ใส่หมวก โทร. 081-5440206
มาตรการองค์กร phase 2 Phase 1 58 จังหวัด สวมหมวกนิรภัย 100% จำนวน 152 แห่ง คิดเป็น 52% Phase 2 ทุกจังหวัด
หลักการและแนวทางในการดำเนินงาน หลักการดำเนินงาน : 5 ช. วิธีดำเนินงาน : 5 ส. WHO safe community
ยุทธวิธีการขับเคลื่อนกระบวนทัพ อปริหานิยธรรม 7 ธรรมะแห่งความเจริญ สมาชิกร่วมกันประชุมเป็นนิตย์ สมาชิกหมั่นเริ่มประชุมและเลิกประชุมโดยพร้อม เพรียงกัน สมาชิกยอมรับมติส่วนใหญ่ของที่ประชุมโดยพร้อม เพรียงกัน สมาชิกให้การยอมรับและเคารพผู้อาวุโส สมาชิกดูแลและสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส สมาชิกส่งเสริมและรักษาวัฒนธรรมและประเพณีที่ดี งาม สมาชิกช่วยกันส่งเสริมและทำนุบำรุงพระศาสนา
ภาคีเครือข่ายการทำงาน ยึดหลักการทำบุญ ด้วยใจ จะมีสุข ไม่มีกุศลใดจะยิ่งใหญ่ เท่าการได้ช่วยชีวิต เพื่อนมนุษย์ด้วยกัน