เทคนิคให้คำปรึกษาในการเลิกสูบบุหรี่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
… FACEBOOK … ..By Peerapon Wongpanit
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
โครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
โครเมี่ยม (Cr).
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
กลุ่มออกแบบและก่อสร้าง สำนัก อำนวยการ สพฐ.
องุ่น สตอ เบอร์รี่ เชอร์รี่ แอปเปิ้ล แดง แอปเปิ้ล ชมพู แอปเปิ้ล เขียว แอปเปิ้ล เหลือง โกโก้ บลูเบอร์รี่ ส้มเขียวหวาน ส้มมะปิด ( ส้มจิ๊ด ) สับปะรด แตงโม.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
การตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหาร ณ ด่านอาหารและยา
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
เรื่อง อันตรายของเสียง
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
มาฝึกสมองกันครับ.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคนิคให้คำปรึกษาในการเลิกสูบบุหรี่ โดย นางธนันธร แพงจักร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ปัญหาการเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ สถานการณ์/ปัญหา ปัญหาการเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ 1. ยาสูบคร่าชีวิต หนึ่งในสองของผู้ที่ไม่เลิกสูบ 2. มีผู้เสียชีวิตไปแล้ว 100 ล้านคน ในศตวรรษที่ 20 3. ขณะนี้ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตปีละ 5.4 ล้าน 4. ผู้เสียชีวิตจะเพิ่มเป็น 8 ล้านคนต่อปี ในปี พ.ศ. 2573 5. โดยกว่าร้อยละ 80 ของผู้เสียชีวิตอยู่ในประเทศกำลังพัฒนา 6. คาดการณ์ว่าจะมีผู้เสียชีวิตจากยาสูบ 1,000 ล้านคนในศตวรรษที่ 21 โดยเฉลี่ยแต่ละคน - ป่วยจนสูญเสียคุณภาพชีวิต = 2 ปี - เสียชีวิตก่อนเวลา = 12 ปี - ครึ่งหนึ่งจะเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ (ในประเทศที่พัฒนาแล้ว) - หนึ่งในสามจะเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ (ในโลกที่กำลังพัฒนา) - เกือบ 1 ใน 3 เสียชีวิตก่อนอายุ 60 ปี

บุหรี่รูปแบบต่างๆ บุหรี่สายรุ้ง บุหรี่ชูรส บุหรี่ไร้ควัน บารากู่ บุหรี่แบบของการเคี้ยว และ การนัดยาเข้าทางจมูกหรือปาก บุหรี่รูปแบบต่างๆ

บุหรี่ไฟฟ้า

1. นิโคติน สารพิษอย่างแรงมีฤทธิ์เสพติดได้ โทษของบุหรี่ 1. นิโคติน สารพิษอย่างแรงมีฤทธิ์เสพติดได้ 2. ทาร์หรือน้ำมันดิน สารก่อมะเร็ง ทำให้เล็บมีสีเหลือง 3. คาร์บอนไดซัลไฟด์ โรคผนังเส้นเลือดแดงหนาและแข็งตัว สารพิษในควันบุหรี่ 1. ทาร์หรือน้ำมันดิบ : เป็นคราบเหนียวที่ทำให้เล็บมีสีเหลือง เป็นสารก่อมะเร็ง ร้อยละ 50 ของทาร์จะจับที่ปอด 2. คาร์บอนไดซัลไฟด์ : ทำให้ผนังเส้นเลือดแดงหนาและแข็งขึ้น 3. คาร์บอนมอนออกไซด์ : เหมือนควันจากท่อไอเสียรถยนต์ ทำให้เลือดข้นและหนืดมากขึ้น เป็นสาเหตุ หนึ่งของโรคหัวใจ 4. ไนโตรเจนไดออกไซด์ : ทำลายเยื่อบุถุงลม เป็นสาเหตุหนึ่งของโรคถุงลมโป่งพอง 5. ไฮโดรเจนไซยาไนด์ : ก่อให้เกิดอาการไอ มีเสมหะ หลอดลมอักเสบเรื้อรัง 6. ฟอร์มาลดีไฮด์ : ใช้ดองศพ เป็นสารก่อมะเร็งอย่างแรง

คนสูบ ภาวะจิตใจ พฤติกรรม ทางร่างกาย ทำไมถึงติดบุหรี่ได้ง่าย 1. บุหรี่ทำให้เสพติดสูงกว่าเฮโรอีน 2. สารเสพติด นิโคติน สารปรุงแต่ง ช่วยให้อรรถรสในการสูบดีขึ้น 3. นิโคตินเข้าสู่ปอดเป็นส่วนใหญ่และออกฤทธิ์ที่สมอง กลไกการติดบุหรี่ 1. ทางสังคมหรือความเคยชิน - วงเหล้า กาแฟ - หลังรับประทานอาหาร 2. ภาวะเสพติดทางจิตใจ - ทัศนะความเชื่อ ความรู้สึก - ผ่อนคลาย ความกังวล มีสมาธิ - ความสุขที่ได้จากการสูบบุหรี่ 3. ทางร่างกาย (ติดนิโคติน) เกิดอาการถอนยา คนสูบ พฤติกรรม ภาวะจิตใจ ทางร่างกาย

อาการถอนยา 1. อาการรุนแรงในช่วง 3 – 4 วัน และจะหมดไปใน 2 สัปดาห์ 2. อาการทางด้านอารมณ์และจิตใจ 3. อยากยา ซึมเศร้า วิตกกังวล กระวนกระวาย หงุดหงิด 4. อาการทางด้านร่างกาย 5. หัวใจเต้นช้าลง และอยากอาหาร น้ำหนักตัวขึ้น 3 กิโลกรัม 6. ไม่มีเรี่ยวแรง ปวดศีรษะ ท้องผูก เหงื่ออก

การป้องกันวัยรุ่นไม่ให้ติดบุหรี่ - อัตราการสูบบุหรี่ของประชาชน การเจ็บป่วยและการเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ จะไม่ลด หรือ ลดน้อย ใน 20 ปี การช่วยให้คนที่ติดบุหรี่อยู่แล้วเลิกสูบ - จะลดอัตราการสูบบุหรี่ จะลดอัตราการเจ็บป่วยและเสียชีวิตในปัจจุปัน ต้องทำทั้งสองอย่าง 1. การป้องกันวัยรุ่นไม่ให้ติดบุหรี่ 2. การช่วยให้คนที่ติดบุหรี่อยู่แล้วเลิกสูบ

ผลเสียของการติดบุหรี่ในเด็กนักเรียน 1 ผลเสียของการติดบุหรี่ในเด็กนักเรียน 1. ยิ่งติดเมื่ออายุน้อย จะยิ่งติดมาก และเลิกได้ยาก - มีโอกาสที่จะติดยาเสพติดอื่นมาก มีโอกาสที่จะป่วยจากการสูบบุหรี่สูง 2. เป็นสื่อนำไปสู่อบายมุขอื่น - เที่ยวกลางคืน/เล่นการพนัน - เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร 3. ผลการเรียนจะไม่ดี เกรดเฉลี่ยต่ำกว่า 2 4. เสียบุคลิกภาพ ตัวเหม็น ปากเหม็น

หลักสำคัญ 3 ประเด็น ที่ต้องทำพร้อมๆกัน 1 หลักสำคัญ 3 ประเด็น ที่ต้องทำพร้อมๆกัน 1. ทำอย่างไรให้คนสูบบุหรี่เลิกสูบ 2. ทำอย่างไรที่จะไม่ให้มีผู้สูบบุหรี่ใหม่ 3. ทำอย่างไรที่จะสร้างค่านิยมสังคมปลอดบุหรี่ให้เข้มแข็ง

สิ่งที่ต้องเฝ้าระวัง 1. การห้ามขายบุหรี่แก่เด็ก อายุต่ำกว่า 20 ปี 2 สิ่งที่ต้องเฝ้าระวัง 1. การห้ามขายบุหรี่แก่เด็ก อายุต่ำกว่า 20 ปี 2. การห้ามแสดงสินค้า ณ จุดขาย 3. การโฆษณาและส่งเสริมการขายบุหรี่ สิ่งที่สำคัญที่ต้องจำไว้ในฐานะการเป็นตัวอย่างสุขภาพ 1. การช่วยให้คนเลิกสูบบุหรี่ 2. การไม่สูบบุหรี่ในบ้าน

บุหรี่ที่ขายในปัจจุปัน 1. มีอันตรายมากกว่าเมื่อ 50 ปี 2. มีโอกาสเกิดมะเร็งปอดและถุงลมโป่งพองเพิ่มขึ้นแม้จะสูบน้อยมวนกว่า 3. เสพติดง่ายขึ้น 4. มีอำนาจเสพติดสูงขึ้น 5. เลิกสูบได้ยากขึ้น 6. ความเสี่ยงที่จะเกิดโรคและเสียชีวิตเพิ่มขึ้น

บริษัทบุหรี่ออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อดึงดูดนักสูบหน้าใหม่ และให้เกิดการเสพติดยั่งยืน ทำให้เริ่มหัดสูบได้ง่าย โดยเพิ่มความหวาน และลดการระคายเคืองของควันบุหรี่ 1. เติมน้ำตาล 2. เติมกรดเลวูลินิค 3. เติมช็อคโกแลต 4. เติมสารลิควอไรซ์ 5. เติมเมนทอลเพื่อทำให้คอเย็นชา 6. เติมสารขยายหลอดลมเพื่อทำให้สูดควันเข้าปอดได้ง่าย

สิ่งที่ทำให้บุหรี่มีอำนาจเสพติดเพิ่มขึ้น 1. เติมนิโคตินเพิ่ม 2 สิ่งที่ทำให้บุหรี่มีอำนาจเสพติดเพิ่มขึ้น 1. เติมนิโคตินเพิ่ม 2. ปรับระดับกรดด่างเพื่อทำให้มีนิโคตินอิสระมากขึ้น 3. เติมน้ำตาลเพื่อเพิ่มอำนาจการเสพติดของนิโคติน 4. เติมแอมโมเนีย เพื่อทำให้นิโคตินขึ้นถึงสมองเร็วขึ้น 5. เติมกรดเลวูลินิคเพื่อทำให้นิโคตินขึ้นถึงสมองเร็วขึ้น

กลวิธีในการช่วยเลิกบุหรี่ 1 กลวิธีในการช่วยเลิกบุหรี่ 1. วิธีหักดิบ เลิกด้วยตนเองโดยหยุดบุหรี่ทันที 2. การใช้พฤติกรรมบำบัด 3. การใช้ยาช่วยเลิกบุหรี่ 4. การใช้พฤติกรรมและจิตสังคมบำบัด ร่วมกับยา

การเลิกบุหรี่โดยการใช้ยาและสมุนไพร 1 การเลิกบุหรี่โดยการใช้ยาและสมุนไพร 1. ยา เช่น บูโพรไพออน, วาเรนีคลีน,นอร์ทริปไทลีน,ฯลฯ 2. รับประทานผักให้มาก และเลี่ยงอาหารรสเผ็ดจัด (หวาน เค็ม) 3. รับประทานอาหารเท่าเดิม เคี้ยวช้าๆ 4. เมื่อรู้สึกหิวให้ดื่มน้ำหรือรับประทานอาหารผลไม้ที่มีรส เปรี้ยว หรือของขบเคี้ยวที่ไม่หวาน (พระสงฆ์แนะนำมะขามป้อม ลูกสมอ) ขิงแก่ กานพลู มะนาว ยาอม ใบมะขามอ่อน เม็ดมะขามคั่ว มะขามเปียก ไม่แนะนำลูกอมทั่วไป

ตัวอย่างการเตรียมมะนาว 1. เลือกมะนาวเปลือกเขียว ล้างให้สะอาด 2 ตัวอย่างการเตรียมมะนาว 1. เลือกมะนาวเปลือกเขียว ล้างให้สะอาด 2. ฝานตามยาว แล้วหั่นตามขวางเป็นชิ้นเล็ก พกติดตัว 3. วิธีใช้ทุกครั้งที่อยากสูบยา ให้นำมะนาวมาอม ดูดจน รสเปรี้ยวหมดแล้วจึงเคี้ยวเปลือกช้าๆจนละเอียด จิบน้ำเล็กน้อย หลังกลืน 4. ระยะเวลา 14 วัน หรือไม่อยากยาสูบอีกต่อไป

หลัก 6 ประการในการช่วยให้คนเลิกบุหรี่ 1 หลัก 6 ประการในการช่วยให้คนเลิกบุหรี่ 1. สร้างแรงจูงใจ/หากำลังใจ(สิ่งที่รัก/กลัวมากที่สุด คนใกล้ชิด) 2. กำหนดวัน (วันนี้ดีที่สุด ไม่เกิน 14 วัน) 3. เลือกวิธี (ทิ้งหมด/ค่อยๆลด วางแผนลดให้หมดใน 3 เดือน) 4. วิธีบรรเทาอาการ(ยา+พฤติกรรมบำบัด) 5. ออกกำลังกาย(รีดเหงื่อ สร้างสารสุข) 6. ไม่ท้าทายบุหรี่(ป้องกันการกลับไปสูบ การวางแผนสู้ ทักษะการปฏิเสธ)

ทำอย่างไร ถ้ามีอาการหิวบุหรี่ 1 ทำอย่างไร ถ้ามีอาการหิวบุหรี่ 1. อย่าสูบบุหรี่ทันทีที่อยากสูบ ยืดเวลาออกไป 3–5 นาที 2. สูดลมหายใจเข้าออกลึกๆและช้าๆ 2-3 ครั้ง เพื่อคลายเครียด 3. ดื่มน้ำ อมน้ำ อาบน้ำหรือล้างหน้า จะช่วยผ่อนคลาย หงุดหงิด กระวนกระวาย 4. อมน้ำแข็ง ผ้าเย็นเช็ดหน้า/ตัว จะทำให้หายง่วง ดมยาดม ตราส้มโอมือ 5. ให้ทำกิจกรรมอื่น เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ

บุหรี่ที่ปลอดภัยที่สุดมีชนิดเดียว คือ บุหรี่ที่ไม่จุดไฟ

เทคนิคการให้คำปรึกษาในการเลิกสูบบุหรี่ของบุคลากรสาธารณสุข เทคนิคที่เรียกว่า STAR หรือ 4 ล และ 5 D 1. Set a target quit date (เลือกวัน) ควรกำหนดวันภายใน 2 สัปดาห์ 2. Tell family and others (ลั่นวาจา) 3. Remove all to tobacco correlated products (ละอุปกรณ์) 4. Anticipate challenges (พร้อมลงมือ) ด้วยวิธี 5 D 1. delay อย่าสูบบุหรี่ทันทีที่อยากสูบ ยืดเวลาออกไป 3-5 นาที 2. deep breathe สูดลมหายใจเข้าออกลึกๆและช้าๆ 2-3 นาที คลายเครียด 3. drink water ดื่มน้ำ อาบน้ำ หรือล้างหน้า 4. do something else ทำกิจกรรมอื่น เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ 5. destination คุยกับคนที่รู้ใจ/บอกตัวเองเสมอว่า ตั้งใจเลิกสูบแน่นอน

การบริการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ในสถานพยาบาลทุกระดับ นอกสถานพยาบาล 1. คลินิกฟ้าใส หรือ คลินิกเลิกบุหรี่ 1. Quitline 1600 2. บริการเลิกบุหรี่ใน จิตเวช/ 2. ร้านขายยา “เภสัชอาสาพาเลิก” คลินิกจิตเวช / ยาเสพติด 3. ทีมเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3. ส่วนหนึ่งของบริการใน คลินิก NCD 4. โครงการ 3 ล้าน 3 ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทย 4. บริการเลิกบุหรี่สำหรับ ผู้ป่วยใน เทิดไท้องค์ราชัน

ขอขอบพระคุณ แพทย์หญิงนันทพร เมฆสวัสดิชัย ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดสระบุรี นางสาววราภรณ์ อึ้งพานิช รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดสระบุรี ผศ.พว.กรองจิต วาทีสาธกกิจ อาจารย์จากมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่