การป้องกันควบคุมโรค NCDs

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
Service plan สาขาโรคไม่ติดต่อ NCD คปสอ. ลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี กิจกรรมที่ให้บริการ 1. คัดกรองค้นหากลุ่มเสี่ยง.
Performance Agreement พญ.ประนอม คำเที่ยง รองปลัดกระทรวงสาธารณสุขภารกิจด้านการแพทย์ 27 พฤศจิกายน 2558.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
พญ.จุรีพร คงประเสริฐ รองผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 – 2564
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
NCDs การจัดทำแผนงาน ปี สิงหาคม 2560.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับอำเภอรอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561 อำเภอวิเศษชัยชาญ วันที่ 13 มิถุนายน 2561.
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561
Update data NCD มีนาคม 2560 Update data NCD เดือน มีนาคม 2559.
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
แนวทางการตรวจราชการ ปี 2562
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การป้องกันควบคุมโรค NCD
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัดตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562 โดย นางปัจฉิมา บัวยอม รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่
Best Practice คพสอ.สันทราย
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การป้องกันควบคุมโรค NCDs 4 การป้องกันควบคุมโรค NCDs

เป้าหมายระดับประเทศ : 9 เป้าหมายเพื่อลดโรค NCDs วัดผลลัพธ์ปี 2568 (ปี 2553-2568_UN) , 1/3 (ปี2553-2573_SDG) ลดปัจจัยเสี่ยง 6 ตัวชี้วัด, การเข้าถึงและครอบคลุมระบบบริการ 2 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด : DM รายใหม่จากกลุ่ม Pre-DM ไม่เกินร้อยละ 2.4 ตัวชี้วัด : กลุ่มสงสัยป่วย HT ได้ทำ Home BP ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10

สถานการณ์ : ร้อยละผู้ป่วย DM รายใหม่จากกลุ่ม Pre-DM ปี 58-60 เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 2.4

การดำเนินงานของจังหวัด และเครือข่ายอำเภอ -4- -พัฒนาศักยภาพการเข้าถึงข้อมูล HDC -ปรับปรุงฐานข้อมูลผู้ป่วย -5- -พัฒนาคุณภาพคลินิก NCD Clinic Plus -6- -จังหวัดกำกับติดตามการแก้ไขปัญหาผู้ป่วย กลุ่มUncontrolled และกลุ่ม Loss F/U -1- ยังไม่มีดำเนินการ -2- -คัดกรอง ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยง 3 อ 2 ส + MI -Home BP -3- - พชอ. -ลดเสี่ยง ลดโรคในสถานประกอบการ/สถานที่ทำงาน

ผลลัพธ์ : ร้อยละผู้ป่วย DM รายใหม่จากกลุ่ม Pre-DM ณ วันที่ 14 ส.ค.61 เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 2.4 เขต 2 พบ DM รายใหม่ จากกลุ่ม Pre-DM ร้อยละ 1.6 ไม่เกินเกณฑ์ อยู่อันดับ 5 ของประเทศ และไม่เกินเกณฑ์ทุกจังหวัด พบ 4 อำเภอที่เกินเกณฑ์ บ้านตาก 3.36 พบพระ 3.27 วิเชียรบุรี 3.27 น้ำหนาว 3 ข้อค้นพบ ผู้ป่วย DM รายใหม่ ปี 61 มาจากกลุ่ม Pre-DM เพียง 14.3% (2,165 จาก 15,127 ราย) ส่วนใหญ่มาจากผู้ป่วย HT เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 2.4 manage ได้

ผลลัพธ์ : ร้อยละกลุ่มสงสัย HT ได้รับการทำ Home BP ณ วันที่ 14 ส.ค.61 เกณฑ์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 เกณฑ์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 manage ได้

ข้อเสนอแนะ อำเภอบ้านตาก, พบพระ ,วิเชียรบุรี,น้ำหนาว ควรพัฒนา Model การจัดการเรื่องอ้วนซึ่งเป็นสาเหตุของเบาหวานรายใหม่ คลินิก HT ควรป้องกันการเกิด DM ในกลุ่มป่วย HT

การควบคุมผู้ป่วย DM, HT 5 การควบคุมผู้ป่วย DM, HT ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมได้ ≥40% (เขต 2 = 50%) ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ ≥50% (เขต 2 =60%)

ผลการดำเนินงาน : ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมได้ (≥40%) ฐาน HDC กระทรวง 15 ส.ค.61

ผลการดำเนินงาน : ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ (≥50%) ฐาน HDC กระทรวง 15 ส.ค.61

ปัญหาที่พบ สาเหตุที่ผู้ป่วย Uncontrolled 1. ประเด็นเรื่องข้อมูล - ผู้ป่วย Loss F/U สาเหตุ วินิจฉัยผิด, คีย์ผิด และ Loss จริง (ตรวจสอบได้จากโปรแกรม I data) 2. ประเด็นคุณภาพบริการ - เนื่องจากผู้ป่วยมีจำนวนมากในแต่ละคลินิก บุคลากรมีไม่เพียงพอต่อการสนับสนุน เพื่อให้ผู้ป่วยเกิด Self management Best Practice จังหวัดพิษณุโลก - การพัฒนาคุณภาพบริการคลินิก NCD (ทั้ง DM, HT) - โรงเรียนเบาหวาน อำเภอบางระกำ (คุม DM ได้สูงสุดในเขต 2 ร้อยละ 49.9 ข้อเสนอแนะการพัฒนางานปี 2562 - ขยาย Best practice ทั้ง DM, HT ไปหน่วยบริการที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ เพื่อพัฒนาระบบSelf management Support

สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและญาติ กระบวนหลักเพื่อการดูแล และจัดบริการผู้ป่วยกลุ่ม Uncontrolled เขตสุขภาพที่ 2 วางแผนการดูแลที่จำเพาะแต่ละด้าน ร่วมกับผู้ป่วยและญาติ (ส่วนใหญ่เป็นเรื่องอาหาร,ยา) สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและญาติ ประเมินสถานการณ์ปัญหา ภาวะเสี่ยงที่สำคัญ ของผู้ป่วย หาสาเหตุสำคัญของการ Uncontrolled (พยาบาล screen ทำหน้าที่เป็น CM ทุกคน) สื่อสาร สร้างความเข้าใจ เสริมแรงจูงใจ (MI) ให้ผู้ป่วย สนับสนุน เสริมทักษะ ให้เกิด Self management (SMBG, Home BP) รพ.ที่ผ่านเกณฑ์สามารถปรับระบบบริการ ตาม Core Process นี้ได้ สรุป ภาพรวมของผู้ป่วยก่อนกลับบ้าน - สถานะสุขภาพ, ความเสี่ยงสำคัญ - พฤติกรรมอะไรที่ทำดีอยู่แล้ว อะไรที่ต้องปรับ - ครั้งหน้าจะติดตามเรื่องอะไร ,วันนัดครั้งต่อไป ติดตามผล การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตรวจ HbA1c ซ้ำ วัด BP ซ้ำ

ให้เกิด Self management Best Practice การดูแลผู้ป่วย DM กลุ่ม Uncontrolled (โรงเรียนเบาหวาน) อ.บางระกำ กลุ่มแนวโน้มน้ำตาลดีขึ้น/ขึ้นๆลงๆ 167 คน กลุ่มแนวโน้มน้ำตาลสูงขึ้น/สูงลอย 43 คน คัดเลือกกลุ่ม Uncontrolled DM 210 คน ช่วง HbA1c จำนวน ร้อยละ 7.0 – 7.9 122 58.10 8.0 – 8.9 45 21.42 9.0 – 9.9 27 12.86 10 ขึ้นไป 16 7.62 รวม 210 สนับสนุน เสริมทักษะ ให้เกิด Self management โดยทำ SMBG เพื่อให้ผู้ป่วยเรียนรู้พฤติกรรม Plate model อาหาร ประเด็นเรื่องยา วางแผนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้เครื่องมือ “แผนของฉัน” ใช้กระบวนการ MI เพื่อสร้างแรงจูงใจ ให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ติดตามประเมิน goal (พฤติกรรม) และค่าระดับน้ำตาล 4 ครั้ง