งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Best Practice คพสอ.สันทราย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Best Practice คพสอ.สันทราย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Best Practice คพสอ.สันทราย
1

2 การดำเนินงาน หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แบบมีส่วนร่วม ปี 2561

3 การคัดกรอง โรค เบาหวาน ปี จำนวนประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง
พบกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรอง เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ คน 2559 47,145 28,906 61.31 2,252 7.79 2560 46,124 39,174 84.93 2,214 5.65 ที่มา : ข้อมูล HDC ณ วันที่ 18 มิถุนายน 2562 3

4 อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่
สถานการณ์การป่วย โรค เบาหวาน ปี อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยรายใหม่ (คน) อัตรา 2559 455 349.55 2560 708 538.76 ที่มา : ข้อมูล HDC ณ วันที่ 18 มิถุนายน 2562 4

5 การคัดกรอง โรค ความดันโลหิตสูง ปี
จำนวนประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง พบกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรอง เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ คน 2559 47,145 28,906 61.31 NA 2560 46,124 39,174 84.93 6,064 15.48 ที่มา : ข้อมูล HDC ณ วันที่ 18 มิถุนายน 2562 5

6 อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
สถานการณ์การป่วย โรค ความดันโลหิตสูง ปี อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ (คน) อัตรา 2559 787 603.91 2560 1,587 1,207.63 ที่มา : ข้อมูล HDC ณ วันที่ 18 มิถุนายน 2562 6

7 สาเหตุการรับไว้รักษาที่พบมากที่สุดในผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลสันทราย เรียงตามลำดับ 5 กลุ่มโรค
2558 2559 2560 1 DM HT 2 3 Common cold DLP 4 HIV 5 Dyspepsia 7

8 นโยบายการพัฒนาตำบลจัดการคุณภาพชีวิต : สุขกาย/สุขใจ/สุขเงิน
Health Literacy (HL) : สูง ปรับพฤติกรรม(ดี) ลดโรค (ไม่ป่วย) ลดค่าใช้ จ่าย สุขกาย สุขเงิน สุขใจ 8

9 การวิเคราะห์บริบทงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
Complex diseases Behaviors& Environment Outbreak 9

10 วางขั้นตอนการทำงานในชุมชน
กระบวนการดำเนินงาน วางขั้นตอนการทำงานในชุมชน การวางแผน ประชุมมอบนโยบาย/พัฒนาศักยภาพ ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหา คัดเลือกหมู่บ้านเป้าหมาย ดำเนินกิจกรรมตามบริบทพื้นที่ PDCA 1) Plan คือ การวางแผน ) DO คือ การปฏิบัติตามแผน 3) Check คือ การตรวจสอบ ) Act คือ การปรับปรุงการดำเนินการอย่างเหมาะสม แนวคิด รพ.สต.ละ 1 หมู่บ้าน รวม 15 หมู่บ้าน “7 แนวคิด”: การพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 10

11 ขั้นที่1-3การบริหารจัดการ
“7 แนวคิด”: การพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ขั้นที่1-3การบริหารจัดการ แนวคิดที่1 : การสร้างและพัฒนาทีมแกนนำพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แนวคิดที่ 2 : การมีและใช้ข้อมูลพื้นฐานหมู่บ้านและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน แนวคิดที่ 3 : การเข้าใจปัญหาและวางแผนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ขั้นที่1 : สร้างทีมดำเนินงาน ขั้นที่ 2 : ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน ขั้นที่ 3 : การจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน 11

12 ขั้นที่4-6กระบวนการดำเนินงาน
“7 แนวคิด”: การพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ขั้นที่4-6กระบวนการดำเนินงาน แนวคิดที่ 4 : การจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน แนวคิดที่ 5 : การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ แนวคิดที่ 6 : การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสุขภาพ แนวคิดที่ 7 : การประเมินผลสำเร็จและการถอดบทเรียน ขั้นที่ 4 : จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเพิ่มความฉลาดทางสุขภาพของประชาชน ขั้นที่ 5 : เฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ ขั้นที่ 6 : จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ขั้นที่7ผลผลิต/ผลลัพธ์ ขั้นที่ 7 : ประเมินการพัฒนาหมู่บ้าน 12

13 กรอบกิจกรรมการดำเนินงาน หมู่บ้านปรับพฤติกรรมสุขภาพ
กิจกรรม ในชุมชน กรอบกิจกรรมการดำเนินงาน หมู่บ้านปรับพฤติกรรมสุขภาพ 1. ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัว/ผักปลอดสาร/ผักริมทาง 2. สร้างบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. 3. จัดทำข้อตกลงงดบุหรี่ สุรา/อาหารหวาน มัน เค็ม/ชา-กาแฟ ในงานศพ งานบุญ 4. ลดการใช้สารปรุงรสในบ้าน งานบุญ งานศพ

14 กรอบกิจกรรมการดำเนินงาน หมู่บ้านปรับพฤติกรรมสุขภาพ
กิจกรรม ในชุมชน กรอบกิจกรรมการดำเนินงาน หมู่บ้านปรับพฤติกรรมสุขภาพ 5. สร้างบุคคลต้นแบบ หรือบ้านต้นแบบเป็นตัวอย่างในการดำเนินงาน3อ.2ส. 6. อสม. นักจัดการสุขภาพจับคู่กลุ่มเป้าหมายเพื่อชักชวนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อย 1 คนต่อปี 7. จัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น สถานที่ออกกำลังกาย เวทีเสวนา กิจกรรมส่งเสริม มาตรการทางสังคม ฯลฯ

15 กรอบกิจกรรมการดำเนินงาน หมู่บ้านปรับพฤติกรรมสุขภาพ
กิจกรรม ในชุมชน กรอบกิจกรรมการดำเนินงาน หมู่บ้านปรับพฤติกรรมสุขภาพ 8. ส่งเสริมให้เกิดการตั้งชมรมเพื่อนช่วยเพื่อน หรือชมรมผู้ป่วย เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือดูแลซึ่งกันและกัน 9. จัดให้มีแหล่งอาหารปลอดภัยในชุมชน เช่น แปลงปลูกผักปลอดสาร ตลาดนัดผักปลอดสาร การส่งเสริมให้ปลูกผักกินเอง 10. ส่งเสริมการทำเมนูชูสุขภาพ/เมนูสาธิต/อาหารที่เหมาะสมตามกลุ่มวัย/กลุ่มเสี่ยง 11. รณรงค์ลดการบริโภคอาหารหวาน อาหารขยะ หรือเพิ่มการดื่มนม ใช้เกลือไอโอดีนในชุมชน

16 กรอบกิจกรรมการดำเนินงาน หมู่บ้านปรับพฤติกรรมสุขภาพ
กิจกรรม ในรพ.สต. กรอบกิจกรรมการดำเนินงาน หมู่บ้านปรับพฤติกรรมสุขภาพ 1.ประเมินความเสี่ยงและตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง 2.การจัดแผนแก้ปัญหากลุ่มเป้าหมายตามหลักปิงปองจราจรเจ็ดสี

17 กรอบกิจกรรมการดำเนินงาน หมู่บ้านปรับพฤติกรรมสุขภาพ
กิจกรรม ในรพ.สต. กรอบกิจกรรมการดำเนินงาน หมู่บ้านปรับพฤติกรรมสุขภาพ 3.รณรงค์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้หลัก 3 อ. 2 ส. 4.ใช้การแพทย์แผนไทย แพทย์พื้นบ้าน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน สมุนไพร ฯลฯ ในการแก้ปัญหาร่วมกับการแพทย์แผนปัจจุบัน

18 กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ปัจเจกบุคลล/กลุ่ม/ชุมชน
หัวใจสำคัญ

19 กระบวนการดำเนินงานระดับรพ.สต.
กำหนดนโยบายสู่การปฏิบัติการ คัดเลือกกิจกรรมตามกรอบที่ร่วมกันกำหนดตามความเหมาะสมของพื้นที่ การวางแผน วิเคราะห์ข้อมูลชุมชนรอบด้าน กำหนดบทบาทภาคีเครือข่าย ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหา วางระบบทีมทำงานในพื้นที่ 19

20 ผลการดำเนินงาน 20

21 ผลการดำเนินงานโซนเหนือ
รางวัลตำบลจัดการสุขภาพระดับเขต นำร่อง ม.2 รพ.สต.บ้านหนองมะจับ ทีมแกนนํา/แผนงาน-โครงการ/จัดกิจกรรม 3อ.2ส./การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ /บุคคล-ครัวเรือนต้นแบบ รางวัลหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพระดับสายกลาง นำร่อง ม.4 รพ.สต.บ้านร่มหลวง รับสมัครหลังคาเรือนร่วมกิจกรรม/คณะกรรมการ/มีมาตรการและการดำเนินงานของหมู่บ้านตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง นวัตกรรม 5 เซียนอาหารปลอดภัยไม่ใส่เครื่องปรุงรส นำร่อง ม.2 รพ.สต.เจดีย์แม่ครัว ประชุมกลุ่มผู้นำ-ทีมอสม./หาแนวทางแก้ปัญหาในกลุ่มผู้ป่วยDM-HTและกลุ่มเสี่ยง/จัดกิจกรรมสาธิตการปรุงอาหารไม่ใส่เครื่องปรุงรส /ประเมินผลในกลุ่มผู้ป่วย-กลุ่มเสี่ยง

22 ยังไม่มีการประเมินผล
ผลลัพธ์งานNCD นำร่อง ม.2 รพ.สต.บ้านหนองมะจับ Pre DM :ปี =18/67/77รายขึ้นทะเบียน 1 ราย Pre HT :ปี =19/28/39รายขึ้นทะเบียน 3 ราย นำร่อง ม.4 รพ.สต.บ้านร่มหลวง ยังไม่มีการประเมินผล นำร่อง ม.2 รพ.สต.เจดีย์แม่ครัว ผู้ป่วยDM 13 รายควบคุมระดับน้ำตาลได้ จาก 86% เป็น 93% ผู้ป่วยHT 29 รายควบคุมความดันได้ จาก 72% เป็น 79%

23 ผลการดำเนินงานโซนกลาง
ศูนย์เรียนรู้ เกษตรปลอดสารอินทรีย์ 2 แห่ง นำร่อง ม.4 PCU หนองหาร รวมกลุ่มผู้ป่วย2-กลุ่มเสี่ยงโรคDM-HT/จัดกิจกรรม 3อ.2ส./ ส่งเสริมเรื่องการปลูกพืชผักสวนครัว ผักปลอดสารพิษ นำร่อง ม.6 รพ.สต.ศรีบุญเรือง สร้างความรอบรู้DM/HT การแพทย์แผนไทยความรู้อาหารเป็นยา กายบริหาร ฤาษีดัดตน นวัตกรรม “กระเป๋าเบาหวานสำราญใจ” นำร่อง ม.1 รพ.สต.ป่าเหมือด บูรณาการกับโครงการหมู่บ้านศีล 5/สร้างธนาคารอาหารปลอดภัย ลดการใช้สารเคมี /ส่งเสริมชมรมการออกกำลังกาย นำร่อง ม.4 รพ.สต.หนองไคร้ บูรณาการกับโครงการหมู่บ้านศีล 5/ส่งเสริมครัวเรือนจัดจำหน่ายสวนผักอินทรีย์บุฟเฟ่ต์ 10 หลังคาเรือน/งดจำหน่ายบุหรี่ สุราในชุมชนทุกวันพระ

24 ยังไม่มีการประเมินผล
ผลลัพธ์งานNCD นำร่อง ม.4 PCU หนองหาร ยังไม่มีการประเมินผล นำร่อง ม.6 รพ.สต.ศรีบุญเรือง จำนวนครัวเรือนที่มีการปลูกผักปลอดสารพิษ เพิ่มขึ้นจาก 58 เป็น 98 หลังคาเรือน /แต่ผู้ป่วยDM/HTมีภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น จาก 13 คน เป็น 28 คน นำร่อง ม.1 รพ.สต.ป่าเหมือด หลังคาเรือนเข้าร่วมกิจกรรม % ผลการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเพิ่มขึ้นจาก 86% เป็น 91 % ผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ DM 1 คน / HT 1 คน นำร่อง ม.4 รพ.สต.หนองไคร้ ยังไม่มีการประเมินผล

25 ผลการดำเนินงานโซนตะวันออก
นำร่อง ม. 6 รพ.สต.ร้องเม็ง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงด้วย 3 อ 2 ส/ส่งเสริมเรื่องการปลูกพืชผักสวนครัว ผักปลอดสารพิษ /ทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร นวัตกรรม “ตาลยืดหยุ่น”ลดอาการ ปวดเมื่อย นำร่อง ม.9 รพ.สต.แม่ฮักฯ รวมกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มผู้ป่วยDM-HT/จัดกิจกรรม 3อ.2ส./สาธิตการปรุงอาหารโดยไม่ใส่เครื่องปรุงรส ต้นแบบการปลูกพืชภายใต้สภาพโรงเรือน นำร่อง ม 3. รพ.สต.เมืองวะ สร้างทีมงานกลุ่มแม่บ้าน /จัดกิจกรรม 3อ.2ส./ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรอินทรีย์ นำร่อง ม.3 รพ.สต.ป่าก้าง บูรณาการกับโครงการหมู่บ้านศีล 5/สร้างทีมทำงานในชุมชน/ส่งเสริมการปลูกพืชผักสวนครัว ผักปลอดสารพิษ

26 ยังไม่มีการประเมินผล
ผลลัพธ์งานNCD นำร่อง ม. 6 รพ.สต.ร้องเม็ง ยังไม่มีการประเมินผล นำร่อง ม.9 รพ.สต.แม่ฮักฯ ผู้ป่วยDM 3 รายควบคุมระดับน้ำตาลได้ จาก 0% เป็น 100% ผู้ป่วยHT 68 รายควบคุมความดันได้ จาก 12% เป็น 58.82% นำร่อง ม 3. รพ.สต.เมืองวะ หลังคาเรือนเข้าร่วมกิจกรรม 50 หลังคาเรือน ผลการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเพิ่มขึ้นจาก 87% เป็น 93 % ผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ DM 1 คน / ไม่พบผู้ป่วย HT นำร่อง ม.3 รพ.สต.ป่าก้าง ยังไม่มีการประเมินผล

27 ผลการดำเนินงานโซนใต้
นวัตกรรม “แบบบันทึกความตั้งใจในการควบคุมDM-HTให้ได้” รับสมัครครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ/ส่งเสริมการปลูกพืชผักสวนครัวผักปลอดสารพิษ/กิจกรรม DPAC / จัดกิจกรรม3 อ 2 ส ในกลุ่มเสี่ยง-ป่วย นำร่อง ม.4 รพ.สต.บ้านท่อ นำร่อง ม.7 รพ.สต.สันคะยอม ผู้ใหญ่บ้านสร้างครัวเรือนตนเองเป็นต้นแบบ/รวมกลุ่มครัวเรือนสมัครใจปลูกผักสวนครัว ผักปลอดสารพิษ/รวมกลุ่มเยาวชนสร้างสุขภาพ นำร่อง ม.7 รพ.สต.สันพระเนตร ใช้ทุนเดิมเป็นต้นแบบการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมสะอาด น่าอยู่/จัดกิจกรรม 3 อ.2ส./ส่งเสริมพื้นที่ปลูกผักสวนครัว นำร่อง ม.2 ศสส.ทต.สันนาเม็ง จัดโครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชน ออกกำลังกาย อาหารปลอดภัย

28 ยังไม่มีการประเมินผล
ผลลัพธ์งานNCD นำร่อง ม.4 รพ.สต.บ้านท่อ ปี จำนวนผู้ป่วยDM มีเท่าเดิม ผลA1C< 7 จำนวนผู้ป่วย HT เพิ่มขึ้นจาก 68 รายเป็น 71 ราย ร้อยละการควบคุมความดันโลหิตสูงขึ้นจาก51.47% เป็น70.42% นำร่อง ม.7 รพ.สต.สันคะยอม ยังไม่มีการประเมินผล นำร่อง ม.7 รพ.สต.สันพระเนตร ผู้ป่วยNCD รายใหม่ ลดลง DM ปี 2560 จาก 18 รายเหลือ 8 รายเป็นรายใหม่ 2 ราย HT ปี 2560 จาก 15 รายเหลือ 6 รายเป็นรายใหม่ 0 ราย นำร่อง ม.2 ศสส.ทต.สันนาเม็ง ยังไม่มีการประเมินผล

29 ภาพรวมการพัฒนา คิลนิคNCD:ส่งเสริมการทำเมนูชูสุขภาพ/เมนูสาธิต/อาหารที่เหมาะสมตามกลุ่มวัย/กลุ่มเสี่ยง เทศบาลทุกแห่งจัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น สถานที่ออกกำลังกาย เวทีเสวนา กิจกรรมส่งเสริม มาตรการทางสังคม ฯลฯ มีแหล่งจำหน่ายอาหารปลอดภัยในชุมชน เช่น รพ.สันทราย ตลาดบายพาสหนองมะจับ/ตลาดบ้านหัวฝาย/ตลาดท่าเกวียน/ตลาดม.แม่โจ้/ตลาดสถานีวิจัยพืชไร่/ตลาดป่าลาน 29

30 ภาพรวมการพัฒนา ชุมชนต้นแบบ:กลุ่มเกษตรอินทรีย์ เช่นกลุ่มเพียงดิน/กลุ่มเกษตรอินทรีย์แพะป่าห้า งานแพทย์แผนไทยพัฒนากิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 4 ตำบล (แม่แฝกใหม่/หนองหาร/แม่แฝก/ป่าไผ่) 1.นวดกดจุดปรับสมดุลร่างกายเพื่อการใช้ยา 2.ส่งเสริมเมนูอาหารตามภูมิปัญญาพื้นบ้าน 3.ดุลยภาพบำบัด/สมาธิบำบัด/ฤาษีดัดตน 4.สาธิตการทำน้ำสมุนไพรตามฤดูกาล 30

31 ภาพรวมการพัฒนา 31

32 ภาพรวมการพัฒนา 32

33 ผลลัพธ์ 33

34 การคัดกรอง โรค เบาหวาน ปี จำนวนประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง
พบกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรอง เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ คน 2559 47,145 28,906 61.31 2,252 7.79 2560 46,124 39,174 84.93 2,214 5.65 2561 57,664 39,570 68.62 2,708 6.84 2562 56,487 50,434 89.28 2,968 5.88 ที่มา : ข้อมูล HDC ณ วันที่ 18 มิถุนายน 2562 34

35 อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่
โรค เบาหวาน สถานการณ์การป่วย ปี อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ต่อแสนประชากร คน อัตรา 2559 455 349.55 2560 708 538.76 2561 812 610.24 2562 (9เดือน) 462 352.31 ที่มา : ข้อมูล HDC ณ วันที่ 18 มิถุนายน 2562 35

36 การคัดกรอง โรค ความดันโลหิตสูง ปี
จำนวนประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง พบกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรอง เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ คน 2559 47,145 28,906 61.31 NA 2560 46,124 39,174 84.93 6,064 15.48 2561 48,052 33,418 69.55 3,528 10.56 2562 46,378 41,923 90.39 2,787 6.65 ที่มา : ข้อมูล HDC ณ วันที่ 18 มิถุนายน 2562 36

37 อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
โรค ความดันโลหิตสูง สถานการณ์การป่วย ปี อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ต่อแสนประชากร คน อัตรา 2559 787 603.91 2560 1,587 1,207.63 2561 1,737 2562 (9เดือน) 971 740.45 ที่มา : ข้อมูล HDC ณ วันที่ 18 มิถุนายน 2562 37

38 ปัจจัยความสำเร็จ (Key Success Factors)
ผู้บริหารให้ความสำคัญและสนับสนุน มีการขับเคลื่อนไปพร้อมกันทั้งอำเภอ ผู้ปฏิบัติมีความพร้อม ทำงานอย่างเป็นระบบทั้งการบริหารจัดการ บริการและวิชาการ ชุมชน/ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนา มีการสื่อสารสาธารณะ และการเข้าถึงข้อมูลของประชาชน 38

39 พัฒนากิจกรรมเป็นนวัตกรรม
สิ่งที่จะพัฒนาต่อไป ขยายหมู่บ้านเพิ่ม พัฒนากิจกรรมเป็นนวัตกรรม นำรูปแบบการดำเนินงานไปพัฒนางานอื่นๆ 39

40 โครงการต่อยอดปี 2562 โครงการเสริมสร้างการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง กิจกรรมที่ 1 : รู้ก่อนชนะก่อน กิจกรรมที่ 2 : หมอน้อยประจำตัว กิจกรรมที่ 3 : นัดหมายติดตาม กิจกรรมที่ 4 :การเยี่ยมบ้าน กิจกรรมที่ 5 : การเปลี่ยนแปลง 40

41 ด้วยจิตคารวะ


ดาวน์โหลด ppt Best Practice คพสอ.สันทราย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google