การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวนรินรัตน์ กล้าหาญ
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความ สนใจของนักศึกษาให้สนใจต่อการ เรียนให้มากขึ้น.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้หนังสืออ่านนอกเวลา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่1 แผนกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่องานวิจัยในชั้นเรียน การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 และความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักศึกษาแผนกการบัญชีระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่
The Students’ Opinion on Learning Management of Report Financial Analysis Course นายวิทยา ยิ่งนคร ผู้วิจัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ( การบัญชี ) วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ.
การใช้แบบฝึกทักษะเกม Spelling Bee เพื่อพัฒนาความสามารถในการสะกด คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 (ปวช.1) สาขา เทคนิคคอมพิวเตอร์

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้ยานพาหนะเพื่อการจัดส่ง สินค้า เรื่องการดูแลรักษาเครื่องยนต์ เบื้องต้น ของนักเรียนชั้น ปวช. ปีที่ 3 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้รถยนต์
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8 การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8 ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย สมจิต ไชยมุง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8 ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย 2. เพื่อการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา โดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง  ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโยลีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 63 คน ซึ่งเป็นกลุ่มเดียวกัน การกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างตามสะดวก   ตัวแปรต้น วิธีการสอนโดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย(Small Group Discussion) ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 8 และความพึงพอใจของนักศึกษาจากการใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย  

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8 ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูล ได้ดังนี้ 1. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังการเรียน ของนักเรียนที่เรียน โดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย วิชาวิทยาศาสตร์ 8 ตามตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงผลคะแนนก่อนเรียนกับหลังเรียน ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ที่เรียนโดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย วิชาวิทยาศาสตร์ 8

การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน) ลำดับ การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน) การพัฒนาผลการเรียน ก่อนเรียน ร้อยละ(%) หลังเรียน คะแนน 1 15 50 25 83.33 10 33.33 2 11 36.67 22 73.33 3 12 40 20 66.67 8 26.67 4 6 19 63.33 13 43.33 5 18 76.67 7 23.33 9 24 80 23

การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน) ลำดับ การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน) การพัฒนาผลการเรียน ก่อนเรียน ร้อยละ(%) หลังเรียน คะแนน 11 14 46.67 23 76.67 9 30 12 36.67 22 73.33 13 10 33.33 20 66.67 19 63.33 15 18 26.67 16 60 17 50 56.67 2 6.67 5 16.67

การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน) ลำดับ การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน) การพัฒนาผลการเรียน ก่อนเรียน ร้อยละ(%) หลังเรียน คะแนน 21 8 26.67 25 83.33 17 56.67 22 70 13 43.33 23 9 30 20 66.67 11 36.67 24 12 40 80 73.33 26 27 76.67 28 10 33.33 29 14 46.67

การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน) ลำดับ การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน) การพัฒนาผลการเรียน ก่อนเรียน ร้อยละ(%) หลังเรียน คะแนน 31 9 30 21 70 12 40 32 33.33 33 20 66.67 11 36.67 34 17 56.67 8 26.67 35 18 60 36 10 7 23.33 37 38 13 43.33 19 63.33 6 39 15 50 4 13.33 14 46.67 5 16.67

การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน) ลำดับ การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน) การพัฒนาผลการเรียน ก่อนเรียน ร้อยละ(%) หลังเรียน คะแนน 41 11 36.67 20 66.67 9 30 42 43 12 40 18 60 6 44 7 23.33 45 10 33.33 46 13 43.33 22 73.33 47 8 26.67 14 46.67 48 23 76.67 15 50 49 21 70

การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน) ลำดับ การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน) การพัฒนาผลการเรียน ก่อนเรียน ร้อยละ(%) หลังเรียน คะแนน 51 7 23.33 22 73.33 15 50 52 9 30 23 76.67 14 46.67 53 16 53.33 54 11 36.67 20 66.67 55 10 33.33 56 57 12 40 21 70 58 19 63.33 59 8 26.67 60 44.67 61 13 43.33 62 63 36.37 รวม 651 34.44 1307 69.15 656 34.71   10.33 20.75 10.41

สรุปผลการวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8 ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย สรุปผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังการเรียน ของนักเรียนที่เรียน โดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย วิชาวิทยาศาสตร์ 8 พบว่า นักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 20.75 คิดเป็นร้อยละ 69.25 สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 10.33 คิดเป็นร้อยละ 34.44 ซึ่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าเท่ากับ 10.41 คิดเป็นร้อยละ 34.71 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า การใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อยสามารถส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนดีขึ้น

2. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลังการใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย วิชาวิทยาศาสตร์ 8 พบว่า นักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีความพึงพอใจที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย วิชาวิทยาศาสตร์ 8 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.09 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า มีโอกาสอธิบายหรืออภิปรายเนื้อหาในกลุ่มทำให้เข้าใจมากขึ้นโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.59 ผู้เรียนให้ความช่วยเหลือและให้ความร่วมมือกันภายในกลุ่ม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.52 พึงพอใจและยอมรับการประเมินผลจากครูและเพื่อนร่วมชั้นเรียน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.36  

ข้อเสนอแนะ 1. ควรทำวิจัยเพื่อศึกษาผลการสอนที่ใช้กิจกรรมอภิปรายกุ่มย่อยจากวิชาวิทยาศาสตร์ 8 ในวิชาอื่น ๆ บ้างให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น 2. ควรมีการวิจัยด้วยการสอนแบบกิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย วิชาวิทยาศาสตร์ 8 โดยใช้สื่อการสอนอื่น ๆ ที่หลากหลายมากขึ้นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาสนใจการเรียนมากยิ่งขึ้น 3. ในรายวิชาต่างๆควรใช้กิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย สื่อที่มีความทันสมัยและมีความหลากหลายเพื่อเสริมสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้และเป็นการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและมีความพึงพอใจของผู้เรียนด้วย