แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
วัตถุประสงค์การจัด นิทรรศการ พุทธพิสัย ความรู้ ความจำ ความเข้าใจ วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินคุณค่า เจตพิสัย ความรู้สึก ความสนใจ อารมณ์ ทัศนคติ ค่านิยม.
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
การฝึกปฏิบัติการตรวจประเมิน รายงานการประเมินตนเองของสหกรณ์
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีการศึกษา. แนวคิดแบบดั้งเดิม -เน้นทักษะการจดจำ ท่องจำอย่างเดียว เท่านั้น แนวคิดยุคปฏิรูป -ให้คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น และสามารถ.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
กิจกรรมแนะแนวการศึกษาและ อาชีพ ม.5 โปรแกรมการพัฒนาการตระหนักรู้และ ความสามารถในการตัดสินใจเลือก อาชีพและศึกษาต่อ คุณครูสุนันท์ ปรารมย์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
ที่มา : ศ. ดร. ชาญ ณรงค์ พรรุ่งโรจน์. 6 จุดเริ่มต้น ของการประกัน คุณภาพ การประกันคุณภาพ เริ่มต้นที่ความ พยายามของ ผู้บริหาร ครู และ ผู้เข้ารับการอบรม.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความคืบหน้า การจัดทำฐานข้อมูลด้าน ความมั่นคง ระเบียบวาระ ที่ ๓. ๑.
แนวทาง การวัดและประเมินผล “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
ฝ่ายนโยบาย แผน และประกันคุณภาพการศึกษา งานนโยบาย แผน งานข้อมูล สารสนเทศ งานมาตรฐาน การศึกษาและ งานประกัน คุณภาพ การศึกษา งานนิเทศ กำกับ ติดตามและ ประเมินผล.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
จำลอง บุญเรืองโรจน์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต ๑วันที่ ๒ มิถุนายน พ. ศ. ๒๕๕๘.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
มาตรฐานที่ ๓ ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ชุมชนปลอดภัย.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ผลการประเมินระดับชาติและ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ความหมายของการประกันคุณภาพการพยาบาล
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การสอนควบคู่กับการเรียน
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ หน่วยที่ 2 แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) แนวคิดของ ซิมป์ซัน (Simpson,1966) แนวคิดของบลูม (Bloom ,1956)

แนวคิดของ ซิมป์ซัน (Simpson,1966) จำแนกพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติจากง่ายไปซับซ้อนตามลำดับดังนี้ การรับรู้ (Perception) การเตรียมพร้อมปฏิบัติ (Set) การตอบสนองตามแนวทางที่ให้ (Guided Response)    - การเร้าอวัยวะสัมผัส - การมองหาแนวทางปฏิบัติ - การแปลเป็นการปฏิบัติ - ความพร้อมทางสมอง - ความพร้อมทางกาย - ความพร้อมทางอารมณ์ - การเลียนแบบ - การลองผิดลองถูก

การตอบสนองที่ซับซ้อน (Complex Overt Response) แนวคิดของ ซิมป์ซัน (Simpson,1966) (ต่อ) จำแนกพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติจากง่ายไปซับซ้อนตามลำดับดังนี้   ขั้นกลไก (Mechanism) การตอบสนองที่ซับซ้อน (Complex Overt Response) มีการเรียนรู้การตอบสนองจนเป็นนิสัย มั่นใจในสิ่งที่ทำ ชำนาญและคล่องแคล่ว - การตัดสินใจกระทำอย่าง เด็ดเดี่ยว ไม่ลังเล - การตอบสนองแบบอัตโนมัติ

การปรับตัว (Adaptation) การริเริ่ม (Origination) แนวคิดของ ซิมป์ซัน (Simpson,1966) (ต่อ) จำแนกพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติจากง่ายไปซับซ้อนตามลำดับดังนี้ การปรับตัว (Adaptation) การริเริ่ม (Origination)   การเปลี่ยนกิจกรรมการเคลื่อนไหวได้เหมาะสมกับความต้องการหรือสถานการณ์ของปัญหา การริเริ่มรูปแบบการเคลื่อนไหวใหม่ๆ ที่เหมาะสมกับสถานการณ์หรือปัญหาเฉพาะเรื่อง เน้นการสร้างสรรค์บนพื้นฐานของทักษะขั้นสูง

แนวคิดของบลูม (Bloom ,1956) ทักษะ พิสัยเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้ที่บ่งถึงความสามารถในการปฏิบัติงาน 1. การรับรู้ (Imitation) รู้หลักการปฏิบัติที่ถูกต้องหรือเป็นการเลือกหาตัวแบบที่สนใจ 2. การกระทำตามแบบหรือเครื่องชี้แนะ (Manipulation) พยายมฝึกตามแบบที่ตนสนใจและพยายามทำซ้ำ 3. การหาความถูกต้อง (Precision) สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องชี้แนะ 4. การกระทำอย่างต่อเนื่อง (Articulation) การกระทำตามรูปแบบนั้นอย่างต่อเนื่อง สามารถปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว 5. การกระทำได้อย่างเป็นธรรมชาติ (Naturalization) การฝึกอย่างต่อเนื่อง คล่องแคล่วว่องไว โดยอัตโนมัติ

แนวคิดของ ซิมป์สัน (Simpson,1966) 1. การรับรู้ 2. การเตรียมพร้อมปฏิบัติ 3. การตอบสนองแนวทางที่ให้ 4. ขั้นกลไก 5. การตอบสนองที่ซับซ้อน 6. การปรับตัว 6. การริเริ่ม ค้นหาตัวตนของเด็กแต่ละคน และพัฒนาพฤติกรรม ให้มีระดับที่สูงขึ้น

แนวคิดของ บลูม (Bloom, 1956) ค้นหาตัวตนของเด็กแต่ละคน และพัฒนาพฤติกรรม ให้มีระดับที่สูงขึ้น 1. การรับรู้ 2. การกระทำตามแบบหรือเครื่องชี้แนะ 3. การหาความถูกต้อง 4. การกระทำอย่างต่อเนื่อง 5. การกระทำได้อย่างเป็นธรรมชาติ

แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ (Performance Assessment) แนวคิดของ วิกกิ้นส์ (Wiggins ,2002)

แนวคิดของ วิกกิ้นส์ (Wiggins ,2002) งานที่ให้ผู้เรียนปฏิบัติในการประเมินภาคปฏิบัติ หรือการประเมินตามสภาพจริง ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้ เกิดขึ้นในชีวิตจริง (Realistic) ต้องปฏิบัติ (Do the subject) ทำในสถานปฏิบัติงาน (Workplace) เป็นงานที่ซับซ้อน (Complex task) ผู้เรียนมีโอกาสปฏิบัติ (Appropriate opportunities) ได้รับการแนะนำ มีผลย้อนกลับเพื่อแก้ไขปรับปรุงผลงาน ต้องใช้การตัดสิน และ สร้างนวัตกรรม (Judge and innovation)

หลักการพื้นฐานการประเมินภาคปฏิบัติ ตามเป้าหมายการเรียนรู้ที่ตั้งไว้ กำหนดงานให้มีความสอดคล้องกับตัวชี้วัด ยุติธรรม กำหนดเกณฑ์การตรวจให้คะแนนอย่างเป็นปรนัย พิจารณาตัดสินจากหลายองค์ประกอบ