ฝ่ายรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

Slides:



Advertisements
Similar presentations
ขั้นตอนที่ 1 การแต่งตั้งคณะทำงานด้านการจัดการพลังงาน (การตรวจสอบ)
Advertisements

การพัฒนา งานวิจัยของ ภาควิชา เวชศาสตร์ชุมชน. Benchmark for KPI1 KPI1 = no. of publication x journal weight/no. of staff.
Standard requirements
1 การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษนครพนม.
การขับเคลื่อน ด้านการตลาดเกษตรอินทรีย์ไทย
Report การแข่งขัน.
การบริหารงานพัสดุภายใต้ พ. ร. บ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
หน่วยงานราชการและภาคเอกชน จังหวัดกาฬสินธุ์ และ
Market System Promotion & Development Devision
สถานการณ์การผลิตและการตลาด พืชตระกูลถั่ว
องค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
สถาบันรับรองระบบการผลิตผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ __________________________________________________________________________________________________________________________________________.
Value Chain and Supply Chain ห่วงโซ่คุณค่า และห่วงโซ่อุปทาน
เอกสารเพื่อการขนส่งทางรถ
ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA
GATT & WTO.
GOOD FARMING MANAGEMENT (GFM)
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ สำนักงานเกษตรจังหวัดสตูล
AEC ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต่อนายจ้างและแรงงานไทย
Roadmap AUNQA หลักสูตร
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
รายงานความก้าวหน้า การประชุมครั้งที่ 7/2555
การเปลี่ยนแปลงบริษัทและควบรวมกิจการ
บทบาทและอำนาจหน้าที่ของสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นโยบายรัฐบาลกับยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) ด้านการประมง
แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส.
KPI กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
ถ่ายทอดเกณฑ์ และแนวทางการประเมิน การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ
แนวทางและนโยบาย การบริหารความเสี่ยง
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
แผนกิจกรรมการสร้างการรับรู้ และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากเน็ตประชารัฐ
วันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559 เวลา น.
รายงานการประเมินตนเอง
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
การขออนุมัติดำเนินโครงการ ภายใต้ข้อบังคับฯ 2559
กระบวนการเรียกร้องสิทธิและการดำเนินคดีผู้บริโภค
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
กลุ่มควบคุมโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ
การสื่อสารจากกระทรวงไปสำนักงานพาณิชย์จังหวัด
นางสาวนนทิชา วรรณสว่าง ผู้อำนวยการสำนักบริหารกลาง กรมการข้าว
2017 edition of "The World of Organic Agriculture"
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
Logistics : a Key for Thailand’s Food Hub การสัมมนา “Food Challenges Toward AEC” (Bitec Bangna) โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.
International Marketing
การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของโครงการ
การจัดทำรายงาน ของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ อาจารย์ ณัฐเสกข์ เทพหัสดิน
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย
การมอบนโยบายการขับเคลื่อน
ทิศทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
การเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียน
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์
แปลงใหญ่ทั่วไป (ข้าว) ตำบลสองห้อง อำเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แปลงใหญ่ทั่วไป ข้าว ตำบลหันสัง อ.บางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Management Review Based On ISO 9001 : 2008
เกษตรกร 4.0 กับ Application ส่งเสริมการผลิต
ใบงานกลุ่มย่อย.
ORGANIC TOURISM.
Presentation transcript:

ฝ่ายรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ การตรวจประเมินปศุสัตว์อินทรีย์  ตรารับรองเกษตรอินทรีย์ระบบต่าง ๆ ฝ่ายรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

หลักการของปศุสัตว์อินทรีย์ การผลิตใช้แนวทางเกษตรผสมผสาน รักษาความหลากหลาย รักษาความสมดุลของระบบนิเวศในฟาร์ม และความยั่งยืนของระบบนิเวศโดยรวม รักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินและคุณภาพน้ำ ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม รักษาความเป็นอินทรีย์ตลอดห่วงโซ่การผลิต แปรรูป เก็บรักษา และจำหน่าย หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีสังเคราะห์ตลอดกระบวนการผลิต แปรรูปและเก็บรักษา ผลิตผล ผลิตภัณฑ์ หรือส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ต้องไม่ผ่านการดัดแปรพันธุกรรม และไม่ผ่านการฉายรังสี สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

หลักการของปศุสัตว์อินทรีย์ (ต่อ) ต้องอยู่บนพื้นฐานการจัดการให้มีความสัมพันธ์ที่ดีเกื้อกูลกันระหว่างผืนดิน พืช สัตว์ และให้ความสำคัญกับความต้องการทางสรีระของร่างกาย คำนึงถึง สวัสดิภาพของปศุสัตว์ รักษาระบบนิเวศท้องถิ่นและความหลากหลายทางชีวภาพของพื้นที่การผลิต สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

หลักการของปศุสัตว์อินทรีย์ (ต่อ) จำนวนปศุสัตว์ต้องพอเหมาะกับพื้นที่ การจัดการกับปศุสัตว์ มุ่งเน้นขยายพันธุ์ตามธรรมชาติ รักษาสุขภาพสัตว์ ป้องกันโรค หลีกเลี่ยงการใช้ยาเคมี ดูแลสวัสดิภาพของสัตว์ และการ ลดความเครียด หลีกเลี่ยงการใช้ผลพลอยได้จากสัตว์เป็นอาหารสัตว์ การเลี้ยงแบบคู่ขนาน ผู้ผลิตต้องแยกระบบอย่างชัดเจน การจัดการผลิตสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ต้องคำนึงถึงความปลอดภัย ของผู้ผลิตและผู้บริโภค

มาตรฐานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ที่ใช้รับรอง มาตรฐานสินค้าเกษตร ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : เกษตรอินทรีย์ (มกษ. 9000) เล่ม 1 : การผลิต แปรรูป แสดงฉลาก และจำหน่ายผลิตผลและผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ พ.ศ.2552 เล่ม 2 : ปศุสัตว์อินทรีย์ พ.ศ.2554 เล่ม 6 : ผึ้งอินทรีย์ พ.ศ.2556 อ้างอิงตาม สมาพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (International Federation of Organic Agriculture Movement - IFOAM)

กระบวนการตรวจประเมินปศุสัตว์อินทรีย์ ยื่นแบบคำร้องขอรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ (ปศอ.1) ผู้ประกอบการ สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ เสนอปศุสัตว์จังหวัด ตรวจแบบ ปศอ.1 พร้อมหลักฐาน ไม่ผ่าน แจ้งเมื่อแก้ไขแล้วเสร็จ ผ่าน สำนักงานปศุสัตว์เขต (คณะผู้ตรวจประเมิน) 90 วัน นัดหมายวันตรวจประเมิน ไม่ผ่าน แจ้งแก้ไขข้อบกพร่อง แก่ผู้ประกอบการ Minor Major ผ่าน กรมปศุสัตว์ คณะกรรมการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

กระบวนการตรวจประเมินปศุสัตว์อินทรีย์ (ต่อ) กรมปศุสัตว์ คณะกรรมการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ พิจารณาผลการรับรอง สำนักงานปศุสัตว์เขต แจ้งแก้ไขข้อบกพร่อง ผู้ประกอบการ ไม่ผ่าน แจ้งผล ผ่าน กรมปศุสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ ออกใบรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ ผู้ประกอบการ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

สรุปผลการดำเนินงานปศุสัตว์อินทรีย์ คำสั่งและประกาศเสนออธิบดีเพื่อลงนามวันที่ 2 มิถุนายน 2558 คำสั่งกรมปศุสัตว์ ที่ 393/2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายปศุสัตว์อินทรีย์ คำสั่งกรมปศุสัตว์ ที่ 394/2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ คำสั่งกรมปศุสัตว์ ที่ 395/2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะผู้ตรวจประเมินปศุสัตว์อินทรีย์ ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการวิชาการด้านปศุสัตว์อินทรีย์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

สรุปผลการดำเนินงานปศุสัตว์อินทรีย์ (ต่อ) สรุปผลการดำเนินงานปศุสัตว์อินทรีย์ (ต่อ) การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ หลักสูตร “ผู้ตรวจประเมิน ตามมาตรฐานสินค้าเกษตร (ปศุสัตว์อินทรีย์)” โดยจัดอบรมระหว่าง วันที่ 17- 19 มิถุนายน 2558 ณ โรงแรมมวกเหล็กพาราไดส์รีสอร์ท อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี มีผู้ผ่านการฝึกอบรมจำนวน 61 ราย จัดทำระเบียบกรมปศุสัตว์ว่าด้วยการขอรับและออกใบรับรอง ปศุสัตว์อินทรีย์ พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึ่งอยู่ในระหว่างการพิจารณาตรวจ แก้ไขจากสำนักกฎหมาย สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

สรุปผลการดำเนินงานปศุสัตว์อินทรีย์ (ต่อ) สรุปผลการดำเนินงานปศุสัตว์อินทรีย์ (ต่อ) จัดสรรงบประมาณการดำเนินการตรวจประเมินฟาร์มปศุสัตว์ อินทรีย์ สำหรับเป็นงบดำเนินงานให้สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้า ปศุสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์เขต และสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ดำเนินงานตามโครงการปศุสัตว์อินทรีย์ ดำเนินการตรวจประเมินฟาร์มตามเป้าหมายโครงการปศุสัตว์ อินทรีย์ จำนวน 50 ฟาร์ม ตามแบบฟอร์มและเอกสารประกอบการ ปฏิบัติงาน ที่สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์กำหนด รวบรวมปัญหาและอุปสรรคในการตรวจประเมินฟาร์มปศุสัตว์อินทรีย์ เสนอกรมภายในเดือนตุลาคม 2558 สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

เป้าหมายดำเนินการ (ฟาร์ม) ฟาร์มที่ตรวจแล้ว (ฟาร์ม) สรุปผลการตรวจรับรองฟาร์มปศุสัตว์อินทรีย์ ปีงบประมาณ 2558กิจกรรมตรวจรับรองฟาร์มปศุสัตว์อินทรีย์ พื้นที่ดำเนินการ เป้าหมายดำเนินการ (ฟาร์ม) ฟาร์มที่ตรวจแล้ว (ฟาร์ม) ปศุสัตว์เขต 1 5 ปศุสัตว์เขต 2 6 ปศุสัตว์เขต 3 10 ปศุสัตว์เขต 4 12 ปศุสัตว์เขต 5 8 ปศุสัตว์เขต 6 1 ปศุสัตว์เขต 7 ปศุสัตว์เขต 8 ปศุสัตว์เขต 9 2 4 รวม 50 42 หมายเหตุ ข้อมูล ณ วันที่ 7 กันยายน 2558 สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

ปัญหาและอุปสรรคในการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ 1. เกษตรกรขาดแคลนแหล่งอาหารสัตว์และพืชอาหารสัตว์อินทรีย์ ไม่มีการรับรองอาหารสัตว์สำเร็จรูปอินทรีย์ (อาหารข้น อาหารไก่ไข่ การรับรองแปลงหญ้าหรือแปลงพืชอาหารสัตว์อินทรีย์ยังมีความไม่ชัดเจนของหน่วยงานรับรอง (กรมวิชาการเกษตร - กรมปศุสัตว์) วัตถุดิบที่เป็นอินทรีย์มีราคาสูงกว่าวัตถุดิบที่ไม่เป็นอินทรีย์ แนวทางการแก้ไข ผลักดัน มกอช. ในการกำหนดมาตรฐานอาหารสำเร็จรูปอินทรีย์ ส่งเสริมให้สำนักพัฒนาอาหารสัตว์จัดทำแปลงพืชอาหารสัตว์อินทรีย์ - หาแหล่งวัตถุดิบที่เป็นอินทรีย์ราคาถูกให้แก่เกษตรกร

ปัญหาและอุปสรรคในการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ 2. ผู้ตรวจประเมินขาดความรู้และประสบการณ์ ในการตรวจประเมินปศุสัตว์อินทรีย์ เป็นขอบข่ายใหม่ที่มีการรับรอง มีหลักการแตกต่างจาก GAP ที่เคยรับรอง แนวทางการแก้ไข อบรมเพื่อสร้างความรู้และประสบการณ์แก่ผู้ตรวจประเมิน เชิญผู้เชี่ยวชาญร่วมตรวจประเมินด้วย หรือ ปรึกษาคณะกรรมการวิชาการด้านปศุสัตว์อินทรีย์ในกรณีที่สงสัย

ปัญหาและอุปสรรคในการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ 3. เกษตรกรที่ขอการรับรองระบบการผลิตปศุสัตว์อินทรีย์ไม่มีความรู้เรื่องปศุสัตว์อินทรีย์ แนวทางการแก้ไข จัดการฝึกอบรม ให้ความรู้แก่เกษตรกร พร้อมทั้งช่วยเหลือในเรื่องการจัดทำเอกสาร และบันทึกข้อมูลการผลิตปศุสัตว์อินทรีย์

ปัญหาและอุปสรรคในการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ 4. ตลาดสินค้าปศุสัตว์อินทรีย์ยังมีจำกัด ผู้บริโภคยังรู้จักสินค้าปศุสัตว์อินทรีย์น้อย ผลผลิตที่ได้จากระบบปศุสัตว์อินทรีย์จะมีปริมาณน้อยกว่าฟาร์มอื่นๆ ราคาผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์อินทรีย์ไม่มีความแตกต่างจากราคาสินค้าปศุสัตว์อื่น แนวทางการแก้ไข ประชาสัมพันธ์เพื่อเน้นตลาดของปศุสัตว์อินทรีย์ สร้างมูลค้าเพิ่มของสินค้าปศุสัตว์อินทรีย์ทดแทนปริมาณการผลิตที่มี ต่ำกว่าสินค้าปศุสัตว์อื่น ควรมีการประกันผลตอบแทนผลิตผลและผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์อินทรีย์

ปัญหาและอุปสรรคในการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ 5. การกล่าวอ้างสินค้าปศุสัตว์อินทรีย์โดยที่ไม่ได้รับการรับรอง แย่งส่วนแบ่งตลาดของสินค้าปศุสัตว์อินทรีย์ที่ได้รับรองตาม มกษ. มีการรับรองจากหลาย CB เช่น สำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท.) ผู้บริโภคขาดความเชื่อมั่นในระบบการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ แนวทางการแก้ไข ประชาสัมพันธ์เครื่องหมายรับรองอินทรีย์ที่ถูกต้องและรายชื่อของผู้ที่ได้รับการรับรอง ตรวจสอบการกล่าวอ้างอินทรีย์ของสินค้าปศุสัตว์ในท้องตลาดเพื่อ แจ้งแก่ มกอช. ในการควบคุมการแสดงฉลากอินทรีย์ตาม มกษ

ปัญหาและอุปสรรคในการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ 6. การใช้ยาปฏิชีวนะในฟาร์มปศุสัตว์อินทรีย์ การตกค้างของยาปฏิชีวนะในพืชอาหารสัตว์อินทรีย์ แนวทางการแก้ไข ควรมีการสุ่มตรวจผลผลิตที่มาจากผลิตผลและผลิตภัณฑ์จากระบบ ปศุสัตว์อินทรีย์ ควรมีการสุ่มตรวจสารเคมีตกค้าง ยาฆ่าแมลงในพืชอาหารสัตว์ที่จะ นำมาทำเป็นพืชอาหารสัตว์อินทรีย์

แนวทางผลักดันปศุสัตว์อินทรีย์ สร้างบทบาทของหน่วยส่งเสริมและหน่วยรับรองด้านปศุสัตว์อินทรีย์ หน่วยส่งเสริมฯ เน้นการสร้างเกษตรกรปศุสัตว์อินทรีย์ ถ่ายทอดความรู้ เช่น การอบรม ปราชญ์ชาวบ้าน ศูนย์เรียนรู้ปศุสัตว์อินทรีย์ สร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มเกษตรกร เช่น กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ จัดหาแหล่งปัจจัยการผลิตเพื่อระบบปศุสัตว์อินทรีย์ เช่น พืชอาหารสัตว์อินทรีย์ ลดต้นทุนการผลิตให้แก่ปศุสัตว์อินทรีย์ หน่วยรับรองฯ เน้นการรับรองมาตรฐานและตรวจสอบสินค้า สร้างความรู้และประสบการณ์แก่ผู้ตรวจฯ การรับรองอาหารสัตว์อินทรีย์ ตรวจสอบการกล่าวอ้างสินค้าปศุสัตว์อินทรีย์ที่ไม่ได้รับรอง ประชาสัมพันธ์สินค้าที่มาจากการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์

แนวทางผลักดันปศุสัตว์อินทรีย์ การส่งเสริมตลาดปศุสัตว์อินทรีย์ ประชาสัมพันธ์สินค้าที่มาจากการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ให้แพร่หลาย การสร้างตลาดจำเพาะของสินค้าปศุสัตว์อินทรีย์ เช่น Green market ตามโรงพยาบาล หรือตลาดเกษตรกร ตลาดในกลุ่ม Modern trade หรือ Lemon farms สร้างความเข้าใจให้แก่ผู้บริโภคเรื่องสินค้าปศุสัตว์อินทรีย์ เนื่องจากเป็นสินค้าที่ไม่สามารถแข่งขันด้านราคากับสินค้าทั่วไปได้ จึงต้องเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้ากลุ่มนี้โดยเฉพาะ ให้เป็นทางเลือกแก่ผู้บริโภค

แผนดำเนินงานปศุสัตว์อินทรีย์ ปีงบประมาณ 2559 สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ จัดอบรมผู้ตรวจประเมินปศุสัตว์อินทรีย์ จำนวน 2 รุ่น รุ่นละ 30 คน รุ่นที่ 1 สำหรับผู้ที่เคยผ่านการฝึกอบรมปศุสัตว์อินทรีย์ เพื่อทบทวนความรู้ทางด้านตรวจประเมินปศุสัตว์อินทรีย์ รุ่นที่ 2 สำหรับผู้ที่ยังไม่เคยผ่านการฝึกอบรมปศุสัตว์อินทรีย์ สำนักงานปศุสัตว์เขต และสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ตรวจประเมินฟาร์มปศุสัตว์อินทรีย์เป้าหมาย 50 ฟาร์ม (กสส. กำหนดเป้าหมาย) สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ผู้ตรวจประเมินปศุสัตว์อินทรีย์สามารถให้การตรวจประเมินด้านปศุสัตว์อินทรีย์อย่างมีมาตรฐานสากล สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของผู้ตรวจประเมิน เพื่อได้รับการยอมรับจากผู้ใช้บริการ/ผู้บริโภค ผู้ตรวจประเมินได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะการตรวจประเมินอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดความมั่นใจในการปฏิบัติงาน

เป้าหมายและแผนการดำเนินการ ปี 2559 พื้นที่ดำเนินการ ตรวจรับรองฟาร์ม อบรมเกษตรกร รายชนิดสัตว์ เป้าหมาย(ฟาร์ม) เป้าหมาย(ราย) สระบุรี 5 30 โคนม สระแก้ว 10 ไก่ไข่ จันทบุรี 5/4 10/10 ไก่ไข่/โคนม นครราชสีมา 15 สุรินทร์ 8 อำนาจเจริญ เชียงใหม่ 6 30/10 เป็ดไข่/ไก่ดำ เพชรบุรี 2 แพะนม สุราษฏร์ธานี 5/2 20/20 ไก่เป็ด/แพะนม ภูเก็ต รวม 67 225

ขอบคุณ

แผนการดำเนินงานปศุสัตว์อินทรีย์ประจำปีงบประมาณ 2559

เอกสารรูปเล่ม เสนอกรมปศุสัตว์เพื่อให้คณะกรรมการรับรองพิจารณา แบบฟอร์มสำหรับใช้ในตรวจประเมิน แบบยื่นคำขอฯ ของผู้ประกอบการ พร้อมหลักฐาน บันทึกหลักฐานการปฏิบัติงาน

สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ จังหวัด ยื่นที่ สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ จังหวัด

กำหนดทีมตรวจประเมินตามคำสั่งกรมปศุสัตว์ ที่ ๓๙๕/๒๕๕๘

กำหนดวันที่ เวลาตรวจ

พิจารณา Checklist

พิจารณา Checklist

พิจารณา Checklist

แบบฟอร์มบันทึกข้อบกพร่อง ( CAR ) รหัส FM-OR-AUD-03 ข้อบกพร่องที่ตรวจพบไม่สอดคล้อง ตามข้อกำหนดใดบ้าง

ระยะเวลาแก้ไข 2 ครั้ง ภายใน 3 เดือน

แบบฟอร์มรายงานผล( Audit Report )รหัส FM-OR-AUD-02

มีการปฏิบัติสอดคล้องตามข้อกำหนด สรุปรายงานผลการตรวจประเมิน เมื่อแก้ไขข้อบกพร่องแล้วเสร็จ เสนอกรมปศุสัตว์เพื่อให้คณะกรรมการรับรองพิจารณา

แบบฟอร์มการขอยกเลิกการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ รหัส FM-OR-FAM-00

ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการวิชาการด้านปศุสัตว์อินทรีย์

คำสั่งกรมปศุสัตว์ เรื่องแต่งตั้งคณะผู้ตรวจประเมินปศุสัตว์อินทรีย์

ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์

ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายปศุสัตว์อินทรีย์

จากการสำรวจสินค้าการเกษตรในตลาดในประเทศไทยโดยกรีนเนท ในช่วงกลางปี 2554 พบว่ามีการใช้ตรารับรองผลผลิตเกษตร ดังนี้