งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

AEC ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต่อนายจ้างและแรงงานไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "AEC ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต่อนายจ้างและแรงงานไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 AEC ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต่อนายจ้างและแรงงานไทย
นรา รัตนรุจ 10 กรกฎาคม 2557

2 ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
ปี 2558 (2015) ชุมชนอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) ASEAN Charter พิมพ์เขียว AEC (AEC Blueprint) One Vision One Identity One Community ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)

3 ASEAN Economic Community ASEAN Socio-Cultural Community
โครงสร้างอาเซียนใหม่ภายใต้กฎบัตรฯ Roadmap for ASEAN Community ประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558 ประชาคม การเมือง ความมั่นคง ASEAN Political- Security Community เศรษฐกิจ ASEAN Economic Community ประชาคมสังคม วัฒนธรรม ASEAN Socio-Cultural Community ภาคประชาสังคม AIPA, CSO, ABAC+ 3

4 ความร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับด้านแรงงานในเสาหลักที่หนึ่ง
ความร่วมมือด้านแรงงานได้มีการระบุไว้อย่างชัดเจนในพิมพ์เขียว ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASCC Blueprint) ในหมวดดังต่อไปนี้ A การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Development) A2 การลงทุนด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ A3 การส่งเสริมงานที่มีคุณค่า A6 การเสริมสร้างทักษะการเป็นผู้ประกอบอาชีพให้แก่สตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้ทุพพลภาพ B การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) B2 เครือข่ายทางสังคมและการคุ้มครองจากผลกระทบของการบูรณาการและกระแสโลกาภิวัตน์ C สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights) C2 การคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของแรงงานย้ายถิ่น

5 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
เป้าหมาย: เพื่อให้เป็นสังคมเป็นเอกภาพ เอื้ออาทรต่อกัน มีความเป็นอยู่ที่ดี พัฒนาทุกด้าน และมีความมั่นคงทางสังคม โดย เน้นการบูรณาการด้านการศึกษา สร้างสังคมความรู้ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ส่งเสริมการจ้างงานที่เหมาะสม ส่งเสริม ICT การเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การพัฒนามนุษย์ ขจัดความยากจน สร้างเครือข่ายความปลอดภัยทางสังคม ส่งเสริมความมั่นคงและความปลอดภัยด้านอาหาร การควบคุมโรคติดต่อ การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม ความยุติธรรมและสิทธิ คุ้มครองสิทธิผู้ด้อยโอกาส แรงงานย้ายถิ่นฐาน ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมองค์กรธุรกิจ การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก ปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อม ข้ามแดน การเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ ส่งเสริมการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม สร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของ อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรม ลดช่องว่างด้านการพัฒนา การสร้างอัตสักษณ์อาเซียน

6 ความร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับด้านแรงงานในเสาหลักที่สอง
เสาหลักด้านประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community-AEC) ซึ่งมีจุดมุ่งหมายหลัก คือ การนำอาเซียนไปสู่การเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน (Single Market and Production Base) ภายใต้หลักการดังกล่าว อาเซียนจะมีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรี ใน 5 สาขา ประกอบด้วย 1) สินค้า 2) บริการ 3) การลงทุน 4) แรงงานฝีมือ 5) เงินทุน ความร่วมมือด้านแรงงานได้มีการระบุไว้อย่างชัดเจนในพิมพ์เขียวประชาคมเศรษฐกิจ (AEC Blueprint) ในหมวดดังต่อไปนี้ A2 การเคลื่อนย้ายธุรกิจบริการเสรี (Free flow of service) ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียนจะต้องอนุญาตให้ผู้ประกอบกิจการ การบริการของอาเซียนเข้ามาทำธุรกิจ และในปี พ.ศ สมาชิกอาเซียนสามารถมีสัดส่วนการถือหุ้นได้ถึงร้อยละ 70

7 A5 การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี (Free flow of skilled labour) ซึ่งอยู่ภายใต้การเจรจาเรื่องการเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา (Movement of Natural Persons) และเป็นเรื่องของบุคลากรวิชาชีพที่ต้องมีการจัดทำข้อตกลงร่วมกัน (Mutual Recognition Arrangement : MRA) ซึ่งเป็นการยอมรับคุณสมบัติในการมีใบอนุญาตทำงานในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งภายในปี 2015 จะมีการเคลื่อนย้ายเสรีใน 7 สาขาวิชาชีพ ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล สถาปนิก วิศวกร บัญชีและช่างสำรวจ ส่วนสาขาวิชาชีพ/อาชีพอื่น จะทยอยให้มีการเคลื่อนย้ายเสรีต่อไปในอนาคต

8 ความร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับด้านแรงงานในเสาหลักที่สาม
เสาหลักด้านประชาคมการเมืองและความมั่นคง (ASEN Political and Security Community – APSC) ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสร้างค่านิยมและแนวปฏิบัติร่วมกันของอาเซียนในด้านต่างๆ เสริมสร้างขีด ความสามารถของอาเซียนในการเผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคงทั้งในรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่ บนพื้นฐานของหลักการว่า ด้วยความมั่นคงของมนุษย์ และให้ประชาคมอาเซียนมีปฏิสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นและสร้างสรรค์กับประชาคมโลก โดยให้อาเซียนม บทบาทนำในภูมิภาค ความร่วมมือด้านแรงงานเป็นเพียงการสนับสนุน เพื่อสร้างให้เกิดความมั่นคงในภูมิภาคอาเซียน ได้แก่ เรื่อง การค้ามนุษย์ (การลักลอบเข้ามาทำงานของแรงงานต่างด้าว) และยาเสพติด เป็นต้น

9 สัดส่วนแรงงาน และ ค่าแรงขั้นต่ำของสมาชิกอาเซียน
1. จำนวนแรงงานรวมในอาเซียน ปี 2558 มีทั้งหมด ล้านคน แบ่งเป็นเพศชาย 58% เพศหญิง 42% 2. อัตราการว่างงานในอาเซียน: ผู้มีงานทำ = 94.3% และ ผู้ว่างงาน = 5.7% 3. ค่าแรงขั้นต่ำ/ต่อวัน (เหรียญสหรัฐ) (1 เหรียญสหรัฐ = 31 บาท) - กัมพูชา = 2 เหรียญสหรัฐ - ลาว และ พม่า = 3 เหรียญสหรัฐ - เวียดนาม = 3.2 เหรียญสหรัฐ - อินโดนีเซีย = 5 เหรียญสหรัฐ - ไทย = 10 เหรียญสหรัฐ - ฟิลิปปินส์ = 11 เหรียญสหรัฐ - มาเลเซีย = 17 เหรียญสหรัฐ - สิงคโปร์ = 62 เหรียญสหรัฐ

10 อัตราการว่างงานจำแนกรายประเทศอาเซียน
ตัวเลขการว่างงาน (Unemployment rate) ของประเทศไทย ถือว่าอยู่ในระดับต่ำมาก เมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆในเอเชีย และอาเซียน ถ้ามองในแง่ดีก็ คือเศรษฐกิจของไทยเรามีการเติบโตที่ดี จนสามารถ Absorb แรงงานเข้าไปทำงานระบบได้ จนแทบจะไม่มีปัญหาเรื่องอัตราการว่างงานเลย (ลองนึกภาพบางประเทศในยุโรปที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจ ส่งผลให้มีการว่างงานสูงกว่า 20% ) แต่ถ้ามองในแง่ลบก็คือ ตัวเลขการว่างงานระดับต่ำขาดนี้หมายถึงสภาวะแรงงานที่อยู่ในสภาวะตึงตัวมากๆ หมายความว่าใครที่คิดจะลงทุน หรือขยายกิจการอาจจะต้องประสบปัญหาเรื่องการหาแรงงานสักหน่อย ทั้งนี้ปัญหาแรงงานของไทยภายใต้ตัวเลขที่เห็น คือ แรงงานของไทยปัจจุบันไม่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน ล่าสุดจากข้อมูลของสภาพัฒน์ พบว่าในไตรมาสสอง ของปี 2555 มีผู้จบการศึกษาในสาขาบริหารธุรกิจ บริหารและพาณิชยศาสตร์ ศิลปกรรมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วารสารศาสตร์และสารสนเทศ รวมถึงสาขาคอมพิวเตอร์ มีอัตราว่างงานสูงมาก หรือคิดเป็น 1ใน 3 ของอัตราการว่างงานทั้งหมด ที่มา: tradingeconomics.com, Bank of Thailand

11 ทางเลือกในการการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงาน
1. การบริหารกำลังคน / ลดการพึ่งพาแรงงานต่างด้าว 2. ใช้เทคโนโลยี/และการย้ายฐานการผลิต 3. ใช้แรงงานต่างด้าว 2/22/2019

12 ทางเลือกนโยบายแรงงาน
I. เพิ่มประสิทธิภาพ แรงงาน คาดการณ์ ความต้องการแรงงาน ประชากร ประชากรวัยแรงงาน II. เพิ่มต่างด้าว กำลังแรงงาน+ต่างด้าว กำลังแรงงาน

13 อัตราเพิ่มของแรงงานลดลงหรือเป็นลบ ทำให้ขาดแคลนแรงงาน
เหตุผลด้านแรงงาน (องค์การสหประชาชาติ2550) อัตราเพิ่มของแรงงานลดลงหรือเป็นลบ ทำให้ขาดแคลนแรงงาน จะกระทบต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและ สวัสดิการ แนวทางแก้ไข ใช้แรงงานต่างด้าว ส่งช่วงการผลิต เพิ่มอัตราสู่กำลังแรงงานสตรี ยกเลิกการเกษียณเร็ว ปรับปรุงสภาพการทำงานของผู้สูงอายุ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของแรงงาน 31/03/53

14 ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ

15 ASEAN :กับเงื่อนไขการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีใน AEC.
General Agreement on Trade in Services GATT General Agreement on Tariffs and Trade ด้านการค้าบริการ GATS AEC FREE Flows of Skills Labour ภายใต้ MRA : Mutual Recognition Agreement FRIF : Flows of Trade in Services AFAS : ASEAN Framework Agreement on Services

16 ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อความต้องการแรงงาน
งานอาเซียน/ตปท กิจการในประเทศ เพิ่มการส่งออก/ลดต้นทุน เพิ่มการผลิตเพื่อส่งออก ต้องการแรงงานในประเทศ การเคลื่อนย้าย สินค้าเสรี บริการเสรี การย้ายการลงทุนเสรี การย้ายแรงงาน ฝีมือเสรี กิจการ อาเซียนในไทย การเคลื่อนย้ายแรงงาน(ทั้งแรงงานออกและแรงงานเข้า)มี 2 แบบ ตามการค้าการลงทุนและบริการ (เช่น BOI or FDI) การหางานทำ แรงงานทั้งไทยและอาเซียน มี 2 ระดับ แรงงานฝีมือ (Skilled workers: White collar workers & pink collar) แรงงานระดับล่าง (Unskilled: Blue collar workers) ลักษณะการเคลื่อนย้ายแรงงานปัจจุบัน แรงงานไทยไปอาเซียน BOI (Skilled & Unskilled) Employment seeking (Skilled + Unskilled) แรงงานอาเซียนมาไทย ต้องการแรงงานไทย/อาเซียน กิจการไทย ไปอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

17 การเคลื่อนย้ายแรงงานในอาเซียน
การเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าเมืองถูกกฎหมายเพื่อทำงาน ตามกฎหมายไทย มี 2 แบบหลักๆ ตามการลงทุน/การค้า (มาตรา 12 : BOI or FDI) การหางานทำ (มาตรา 9: ทั่วไป ตลอดชีพ MOU) (การเคลื่อนย้ายออกขึ้นกับกฎหมายประเทศปลายทางและกฎระเบียบกระทรวงแรงงาน) แรงงานทั้งไทยและอาเซียน มี 2 ระดับ แรงงานฝีมือ (Skilled workers) แรงงานระดับล่าง (Unskilled) เป้าหมายของการเคลื่อนย้ายแรงงาน AEC 2558 จำกัดอยู่ที่ บุคคลธรรมดา/นักธุรกิจ (Mode 4) ไม่ผูกพันคนหางานทำทั่วไป แรงงานฝีมือ/ระดับวิชาชีพ(ใน 7 สาขาวิชาชีพ + การท่องเที่ยว/โรงแรม)

18 แรงงานอาเซียนในประเทศไทย
แรงงานฝีมือและระดับวิชาชีพปัจจุบันยังค่อนข้างน้อย (14,313คน หรือ ร้อยละ ของแรงงานต่างด้าวถูกกฎหมายทั้งหมด* แยกเป็น มาตรา 9 จำนวน 12,303 คน และมาตรา 12 จำนวน 2,010 คน) ระดับล่างจาก CLM ไม่ต่ำกว่า 3 ล้านคน

19 จำนวนคนต่างด้าวเข้าเมืองถูกกฎหมาย (มาตรา 9 ประเภททั่วไป) จำแนกตามสัญชาติ ธันวาคม 2554 จำนวน คน(ไม่นับ CLM และตลอดชีพ) ที่มา:

20 แรงงานระดับล่าง: แรงงานเข้าเมืองผิดกฎหมายจาก CLM
ที่ขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตทำงานชั่วคราว ขึ้นทะเบียนครั้งแรก คน 2554 ปลายปีน้ำท่วมนิคมฯ วิกฤติเศรษฐกิจ

21 ถาม & ตอบ

22 จบการนำเสนอครับ Q & A

23

24


ดาวน์โหลด ppt AEC ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต่อนายจ้างและแรงงานไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google