งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555

2 แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
ภาพรวมวงเงินลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ผลที่คาดว่าจะได้รับจากแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง กระบวนการการดำเนินโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการบริหารโครงการตามแผนปฏิบัติการ ไทยเข้มแข็ง 2555 พ.ศ. 2552 สบน.

3 + ภาพรวมวงเงินลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
กรอบวงเงิน “โครงการไทยเข้มแข็ง” 1,566,867 ล้านบาท (มติครม. 7 เม.ย. 2552) กลั่นกรองโครงการให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์และความพร้อม 1,435,739 ล้านบาท (มติครม. 6 พค และ 15 มิ.ย. 2552) เสนอโครงการเพิ่ม + กลั่นกรองโครงการเพิ่มเติม กรอบโครงการไทยเข้มแข็ง วงเงิน 1,068,082 ล้านบาท (ประเภทที่ 1 : พร้อมดำเนินการในปี ) โครงการเพิ่มเติมตามกรอบวงเงิน กรอบโครงการไทยเข้มแข็ง เพิ่มเติม 227,939 ล้านบาท (มติ ครม. 13 ตุลาคม 2552) โครงการนำเสนอจากหน่วยงานได้ผ่านการกลั่นกรองเป็นโครงการที่พร้อมดำเนินการทันที่ 1.06 ล้านล้านบาท โครงการที่รัฐบาลลงทุน 824,162 ล้านบาท โครงการลงทุนโดยรัฐวิสาหกิจ 239,497 ล้านบาท โครงการไทยเข้มแข็ง (ครม. อนุมัติให้ดำเนินโครงการแล้ว) วงเงิน 1,296,021 ล้านบาท สบน.

4 ภาพรวมการระดมทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
โครงการที่รัฐบาลรับภาระการลงทุน พร้อมลงทุนทันที 200,000 ล้านบาท พรก. สำหรับโครงการไทยเข้มแข็ง 150,000 ล้านบาท (มติ ครม. 20 ต.ค. 2552) พร้อมลงทุนภายในปี 2553 โอนวงเงินพรก.สมทบเงินคงคลัง ร่าง พรบ. อยู่ระหว่างการพิจารณาของ สภาฯ 400,000 ล้านบาท พรบ. สำหรับโครงการไทยเข้มแข็ง โครงการที่รัฐบาลลงทุน 824,162 ล้านบาท 200,000 ล้านบาท พรก. สำหรับไทยเข้มแข็ง พร้อมลงทุน 100,000 ล้านบาท วงเงินชดเชยเงินคงคลัง พร้อมในเดือนกันยา 400,000 ล้านบาท พรก. สำหรับไทยเข้มแข็ง ภายใน 2-3 เดือน 100,000 – 200,000 ล้านบาท เงินกู้ตาม พรบ. การบริหารหนี้สาธารณะ 2548 มาตรา 20 และ มาตรา 21 เร่งดำเนินการสรุปโครงการ เร่งดำเนินการออกแบบและสรุปรายละเอียดโครงการโดยเร็ว เงินกู้ปกติ พรบ. หนี้สาธารณะ แหล่งเงินกู้ปกติ 100,000 – 200,000 ล้านบาท *พิจารณาตามสภาวะเศรษฐกิจและสถานะรายได้ภาครัฐ สบน.

5 แนวทางการระดมทุน 2553-2555 งปม. เงินกู้กฏหมายปกติ
เงินกู้กฎหมายพิเศษ (พรก./พรบ.)* PPP 1,110 พลบ. รัฐรับภาระการลงทุน (77%) 321 พลบ. เงินรายได้ SOE เงินกู้กฏหมายปกติ SOE รับภาระการลงทุน (23 %) รวม 1,431 พลบ. (100 %)

6 หลักเกณฑ์การเสนอ คกก. กลั่นกรองและการอนุมัติโครงการ
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 1) สร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน รวมทั้งการอนุรักษ์ระบบนิเวศน์ และสิ่งแวดล้อม และการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในภาคการเกษตรและอุตสาหกรรม 2) ปรับปรุงบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมที่ทันสมัยและจำเป็นต่อการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน 3) เร่งรัดและสร้างศักยภาพในการหารายได้จากการท่องเที่ยว 4) สร้างฐานรายได้ใหม่ของประเทศจากเศรษฐกิจความคิดสร้างสรรค์หรือเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ 5) ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ทั้งระบบให้ทันสมัย 6) ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุขที่มีมาตรฐานสูงสำหรับคนไทย 7) สร้างอาชีพและรายได้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในระดับชุมชน สบน.

7 โครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 (2553-2555)
หน่วย : พลบ. สาขา ประเภทที่ 1 ประเภทที่ 2 ประเภทที่ 3 รวม 1. การบริหารจัดการน้ำ 222 7 9 239 2. การขนส่ง / Logistic 336 164 71 572 3. พลังงาน / พลังงานทดแทน 157 49 206 4. การสื่อสาร 25 5. โครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว 6 4 10 6. การศึกษา 129 138 7. สาธารณสุข 98 1 100 8. สวัสดิภาพประชาชน 8 9. วิทยาศาสตร์/เทคโนโลยี 11 12 10. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5 11. การพัฒนาการท่องเที่ยว 12. เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ 14 18 13. การลงทุนชุมชน 60 32 92 1,064 229 139 1,431 ประเภทที่ 1 : พร้อมดำเนินการในปี ประเภทที่ 2 : กำหนดเริ่มดำเนินงานในปี 2553 / ต้องเตรียมความพร้อมเพิ่มเติม ประเภทที่ 3 : กำหนดเริ่มดำเนินงานปี 2554

8 หลักเกณฑ์การเสนอ คกก. กลั่นกรองและการอนุมัติโครงการ
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาแหล่งเงินตาม พ.ร.ก. 1. เป็นโครงการที่เมื่อดำเนินการแล้วประชาชนได้รับประโยชน์โดยตรง 2. เป็นโครงการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและประชาชนได้ใช้ประโยชน์ ทั้งโครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จภายในปีเดียว และโครงการผูกพัน (โครงการประเภทเพิ่มประสิทธิภาพหน่วยงาน หรือพัฒนาบุคลากร (งบประจำ) เช่น โครงการ สร้างที่ทำการ จะจัดไว้ใน พ.ร.บ.) 3. เป็นโครงการที่มีความพร้อมดำเนินงานได้อย่างรวดเร็วและทันที สบน.

9 จัดสรรครั้งแรก 199,960 ล้านบาท
วงเงินโครงการไทยเข้มแข็ง - รายกระทรวง หน่วย: ล้านบาท กระทรวงเกษตรและสหกรณ์48,079 (24.0%) กระทรวงกลาโหม 2,205 (1.1%) กระทรวงศึกษาธิการ 45,390 (22.7%) รัฐวิสาหกิจ 3,125 (1.6%) กระทรวงคมนาคม39,900 (20.0%) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ4,482 (2.2%) จัดสรรครั้งแรก 199,960 ล้านบาท 2,352 โครงการ กระทรวงการคลัง 14,500 (7.3%) กระทรวงหลักที่ได้รับส่วนแบ่งจากวงเงิน พรก. 200,000 ล้านบาท 48,078 ล้านบาท กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 45,389 ล้านบาท กระทรวงศึกษาธิการ 39,900 ล้านบาท กระทรวงคมนาคม 11,515 ล้านบาท กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย6,423 (3.2%) กระทรวงสาธารณสุข11,515 (5.8%) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 11,390 (5.7%) สำนักนายกรัฐมนตรี9,675 (4.8%) *กระทรวงอื่นๆ ,277 (1.6%)

10 แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 (2553-2555)
สาขา โครงการที่สำคัญ ปรับปรุงและฟื้นฟูแหล่งน้ำ/ต้นน้ำ การพัฒนาและเพิมพื้นที่ระบบชลประทานทั่วประเทศ การป้องกันและบรรเทาอุทกภัย การปรับปรุงและกระจายพันธ์ บริหารจัดการน้ำ ปรับปรุงทางระยะที่ 5 ช่วงแก่งคอย-บัวใหญ่ ปรับปรุงทางระยะที่ 6 ช่วงชุมทางบัวใหญ่ – หนองคาย โครงการรถไฟทางคู่แก่งคอย - แหลมฉบัง โครงการถนนไร้ฝุ่น (โครงข่ายทางหลวงชนบท) ทางหลวง 4 ช่อง จราจร เชื่อมโยงประเทศเพื่อนบ้าน งานบำรุงทางหลวง ปรับปรุงท่าอากาศยานในภูมิภาค 4 แห่ง (ปาย หัวหิน กระบี่ นราธิวาส) - โครงการปรับปรุงขยายท่าอากาศยานอู่ตะเภา สุวรรณภูมิระยะที่ 2 โครงการรถไฟฟ้า 5 สายทางระยะแรก สายสีม่วง (บางใหญ่- บางซื่อ) สายสีเขียวอ่อน (แบริ่ง-สมุทรปราการ) สายสีเขียวเข้ม(หมอชิต-สะพานใหม่) สายสีแดง (บางซื่อ-ตลิ่งชัน), (บางซื่อ-รังสิต) ขนส่ง – 10 –

11 แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 (2553-2555)
สาขา โครงการที่สำคัญ การก่อสร้างโรงไฟฟ้าและระบบส่งไฟฟ้า โครงการขยายไฟฟ้าพื้นที่ทำกินทางเกษตร ก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็ก การลงทุนเพื่อพัฒนาก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน/ปิโตรเคมี พลังงาน - โครงการสร้างโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ สื่อสาร -การก่อสร้างประปาตามสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ -โครงการปรับปรุงสถานีรถไฟทั่วประเทศ -โครงการปรับปรุงสถานีขนส่งทั่วประเทศ -โครงการก่อสร้างระบบจำหน่ายด้วยสายเคเบิลใต้น้ำไปยังเกาะต่างๆ ท่องเที่ยว (1) Current distance coverage: 43.5km. – 11 –

12 แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 (2553-2555)
สาขา โครงการที่สำคัญ โครงการพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ โครงการจัดซื้อคอมพิวเตอร์/ระบบ IT ด้านการศึกษา โครงการปรับปรุงวิทยาลัยอาชีวศึกษาทั่วประเทศ โครงการสร้าง/ปรับปรุงสถาบันการศึกษาทุกระดับทั่วประเทศ โครงการพัฒนาและขยายเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา การศึกษา -โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล -โครงการพัฒนาโรงพยาบาลระดับอำเภอ -โครงการพัฒนาโรงพยาบาลระดับจังหวัด/โรงพยาบาลศูนย์ทั่วไป -โครงการพัฒนาโรงพยาบาลศูนย์เฉพาะทาง(หัวใจ/มะเร็ง/อุบัติเหตุ) -พัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ (แพทย์/พยาบาล/บุคลากรทางการแพทย์) สาธารณสุข สวัสดิภาพประชาชน การก่อสร้างและปรับปรุงสถานีตำรวจและที่พักอาศัย ให้แก่ข้าราชการตำรวจและข้าราชการกระทรวงกลาโหม (1) Current distance coverage: 43.5km. – 12 –

13 แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 (2553-2555)
สาขา โครงการที่สำคัญ วิทยาศาสตร์ โครงการวิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนที่เหมาะสม โครงการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อยกระดับอุตสาหกรรมก่อสร้าง - โครงการฟื้นฟูเศรษฐกิจและพื้นที่ป่าต้นน้ำลำธาร - โครงการส่งเสริมการปลูกต้นไม้เพื่อเศรษฐกิจ สังคมและ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร ธรรมชาติ - โครงการเพิ่มศักยภาพในการสร้างรายได้ของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ - โครงการพัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์สัตว์ป่า - โครงการส่งเสริมการปลูกต้นไม้เพื่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม พัฒนาท่องเที่ยว – 13 –

14 แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 (2553-2555)
สาขา โครงการที่สำคัญ โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟูมรดกโลกอยุธยาในสภาวะเร่งด่วน โครงการ Creative City โครงการพัฒนาภูมิปัญญาพื้นบ้านเพื่อต่อยอดธุรกิจ SME เศรษฐกิจสร้างสรรค์ แผนการพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ แผนการสร้างอาชีพและรายได้เพื่อยกระดับคุณภาพ แผนการเพิ่มทุนให้แก่สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ 5 แห่งเพื่อ สนับสนุนการขยายสินเชื่อให้แก่ผู้ประกอบการ ผู้ส่งออก เกษตรกร และประชาชนทั่วไป การลงทุนระดับชุมชน – 14 –

15 โครงการไทยเข้มแข็ง 2555 ที่ได้รับจัดสรรเงิน พ.ร.ก. 1.5 แสน ลบ.*
หน่วย : ล้านบาท สาขา 2553 2554 2555 รวม การบริหารจัดการน้ำ 230 - การขนส่ง / Logistic 2,392 2,126 6,644 พลังงาน / พลังงานทดแทน 58 116 174 โครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว 1,280 สาธารณสุข 1,157 1,777 521 3,455 สวัสดิภาพประชาชน 1,837 339 196 2,373 การพัฒนาการท่องเที่ยว 1,147 1,040 3,228 เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ 1,080 การศึกษา 5,081 2,662 252 7,996 การลงทุนในระดับชุมชน 74,778 130 75,039 - โครงการตามแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 14,687 การประกันรายได้ให้เกษตกร 40,000 เงินสำรองจ่าย 8,500 137,542 8,191 4,266 149,999 หมายเหตุ : * มติ ครม. เมื่อวันที่ 20 ต.ค. 52

16 ผลที่คาดว่าจะได้รับจากแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง
กระตุ้นเศรษฐกิจในประเทศ และการเพิ่มการลงทุนของภาครัฐ โดยคาดว่าจะมีสัดส่วนการใช้สินค้าและบริการภายในประเทศ ประมาณร้อยละ 76 ของวงเงินลงทุนทั้งหมด เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพิ่มการจ้างงานในทุกกลุ่มแรงงาน (1.5 ล้านคน) กระจายการลงทุนครอบคลุมทั่วประเทศ สร้างฐานรายได้ใหม่ให้กับประเทศในอนาคต (Creative Economy) ลดและแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม (Green Economy)

17 ดัชนีผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินโครงการใน 7 สาขาหลัก
1 2 ความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน รักษาสิ่งแวดล้อม เพิ่มประสิทธิภาพทางภาคเกษตร บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน พื้นที่ชลประทาน (ล้านไร่) สัดส่วนถนนลาดยางภายใต้การดูแลของกรมทางหลวงชนบท จำนวนผู้ประสบอุทกภัยเฉลี่ยต่อปี สัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP การฟื้นฟูแหล่งน้ำขนาดเล็ก การปรับปรุงระบบชลประทาน และการปรับปรุงพันธุ์พืชเศรษฐกิจ และปศุศัตว์ พื้นที่ชลประทาน (พื้นที่โครงการส่วนที่สามารถได้รับน้ำชลประทานและสามารถเพาะปลูกได้) เพิ่มขึ้น 1.09 ล้านไร่ จาก 24.5 ล้านไร่ เป็น 25.6 ล้านไร่ ป้องกันบรรเทาภัยจากน้ำประมาณ 2.29 ล้านไร่ เป็นประโยชน์ต่อ 120,000 ครัวเรือน (ประมาณ 360,000 ราย) โดยเฉลี่ย ปี มีผู้ประสบอุทกภัยประมาณ 400,000 รายต่อปี รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน การจัดซื้อหัวรถจักร การบูรณะปรับปรุงทางรถไฟในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การก่อสร้างถนน 4 ช่องจราจร โครงการถนนปลอดฝุ่น งานบำรุงรักษาทางหลวง และการเพิ่มประสิทธิภาพทางหลวง ยกระดับถนนภายใต้การดูแลของกรมทางหลวงชนบททั้งหมด ให้เป็นถนนลาดยาง ลดสัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP จาก 19% เป็น 16% การส่งเสริมการวิจัยในสถาบันอุดมศึกษา การเพิ่มประสิทธิภาพการศึกษา การผลิตกำลังคนที่สอดคล้องกับภาคการผลิต ปรับปรุงโรงเรียน ก่อสร้างศูนย์เด็กเล็ก ปรับปรุงห้องสมุด ห้องทดลองวิทยาศาสตร์ แก้ไขปัญหานักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ 160,330 คน ทั้งหมด ยกระดับ โรงเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินมาตรฐานของสำนักงานรับรองมาตรฐานการศึกษา จำนวน 2,930 แห่ง ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน เพิ่มจำนวนคอมพิวเตอร์ในระบบ 8,288 โรงเรียน ลดอัตราส่วนนักเรียนต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ จาก 38:1 เป็น 20:1 – 17 –

18 ดัชนีผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินโครงการใน 7 สาขาหลัก
3 4 พัฒนาคุณภาพทางการศึกษา ปฏิรูปมาตรฐานระบบสาธารณสุข จำนวนนักเรียนผู้ไม่สามารถอ่านออกเขียนได้ อัตราผู้ป่วยนอกที่เข้าถึงบริการ ร.พ. ระดับตำบล ทุติยภูมิ / ตติยภูมิ จำนวนโรงเรียนที่ต่ำกว่ามาตรฐาน จำนวนเตียงในโรงพยาบาล การส่งเสริมการวิจัยในสถาบันอุดมศึกษา การเพิ่มประสิทธิภาพการศึกษา การผลิตกำลังคนที่สอดคล้องกับภาคการผลิต ปรับปรุงโรงเรียน ก่อสร้างศูนย์เด็กเล็ก ปรับปรุงห้องสมุด ห้องทดลองวิทยาศาสตร์ แก้ไขปัญหานักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ 160,330 คน ทั้งหมด ยกระดับ โรงเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินมาตรฐานของสำนักงานรับรองมาตรฐานการศึกษา จำนวน 2,930 แห่ง ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน เพิ่มจำนวนคอมพิวเตอร์ในระบบ 8,288 โรงเรียน ลดอัตราส่วนนักเรียนต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ จาก 38:1 เป็น 20:1 การผลิตบุคลากรทางการแพทย์ทุกระดับ และการวิจัยพัฒนาเครื่องมือและเทคโนโลยีทางการแพทย์ เพิ่มการเข้าถึงบริการ จากการพัฒนาสถานีอนามัย ให้เป็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (ปฐมภูมิ) จำนวน 9,762 แห่ง ลดความแออัดจากการบริการผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลอำเภอ / โรงพยาบาลจังหวัด ลดความแออัดจากการนอนในโรงพยาบาล จำนวนเตียงเพิ่มขึ้น 10,000 เตียง (ทดแทนเตียงเดิม 5,000 เตียง เพิ่มเตียงใหม่ 10,000 เตียง : จำนวนเตียงทั้งหมด ประมาณ 70,000 เตียง) จำนวนนักเรียนต่อคอมพิวเตอร์ ทดแทน – 18 –

19 ดัชนีผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินโครงการใน 7 สาขาหลัก
5 6 สร้างฐานรายได้ใหม่จากเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ สร้างศักยภาพทางการท่องเที่ยว สัดส่วนต่อ GDP ของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ จำนวนนักท่องเที่ยวในพื้นที่ ที่ได้รับงบประมาณปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน (ล้านคน) 7 สร้างอาชีพเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในระดับชุมชน รายได้ครัวเรือนเฉลี่ยในพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (บาท/ปี) การพัฒนาภูมิปัญญาพื้นบ้านเพื่อต่อยอดธุรกิจ SMEs การพัฒนาเทคโนโลยีใน อุตสาหรรมสิ่งทอ การสร้างมูลค่าเพิ่มจากความหลากหลายทางชีวภาพ เพิ่มมูลค่าของอุตสาหกรรมในส่วนเศรษฐกิจสร้างสรรค์จากเดิม10% ของ GDP (9 แสนล้านบาท) เป็น 20% ของ GDP (1.8 ล้านล้านบาท) ภายในปี 2555 การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่เสื่อมโทรม และการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่ การก่อสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกในอุทยานแห่งชาติ การก่อสร้างสถานีขนส่งผู้โดยสาร ปรับปรุงสถานีรถไฟ ก่อสร้างระบบประปา คาดว่าจำนวนนักท่องเที่ยวใน 7 จังหวัดที่มีการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยวหลักๆ จะเพิ่มขึ้น 20% จาก 8.88 ล้านคน เพิ่มเป็น ล้านคน การส่งเสริมอาชีพทั้งในด้านการเลี้ยงสัตว์ การเพาะปลูก การฟื้นฟูอาชีพในท้องถิ่น และการพัฒนาน้ำอุปโภคบริโภคในท้องถิ่น ยกรายได้ครัวเรือนเฉลี่ยของ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จาก 64,000 บาท/ปี เป็นไม่ต่ำกว่า 120,000 บาท/ปี ภายในปี 2555 – 19 –

20 กระบวนการดำเนินโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง
การนำเสนอโครงการ จัดทำคำขอที่สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ตามระเบียบไทยเข้มแข็งฯ หน่วยงาน คกก. กลั่นกรอง และบริหารฯ (ก.การคลัง/สศช./สงป./ธปท.) พิจารณากลั่นกรองโครงการ ครม. อนุมัติโครงการ จัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบไทยเข้มแข็งฯ + ระเบียบ/หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ หน่วยงาน สบน.

21 แนวทางในการดำเนินงาน เบิกจ่าย กำกับ ติดตามโครงการ
ขั้นตอนการเบิกจ่ายเงิน ให้หน่วยงานจัดทำแผนปฏิบัติงาน +แผนการใช้จ่ายเงินรายโครงการเข้าระบบ E- budgeting วิเคราะห์แผน+เบิกจ่ายผ่านระบบ GFMIS สงป. กระทรวง การคลังกู้เงิน กู้เงินตาม พรบ./ พรก. ทำการ Mapping รหัสจากระบบ E - budgeting เข้าระบบ GFMIS อนุมัติสั่งจ่ายเงินในระบบ GFMIS โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากของหน่วยงาน กรม บัญชีกลาง หน่วยงานรับเงิน สบน.

22 การเบิกจ่ายเงิน หน่วยงาน กรมบัญชีกลาง ระบบ PFMS ครม. สงป.
บันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบ e - budgeting หน่วยงาน สงป. Mapping รหัส โครงการเข้าสู่ ระบบ GFMIS อนุมัติเงินงวด รายงานผล การดำเนินงาน เบิกจ่ายเงินด้วยระบบ GFMIS กรมบัญชีกลาง รายงาน ระบบ PFMS คกก.กลั่นกรองฯ ครม. คกก.เร่งรัดติดตาม รายเดือน สบน.

23 ขั้นตอนการกำกับ / ติดตาม / ตรวจสอบโครงการ
หน่วยงาน รายงานผลการเบิกจ่ายตามระบบ GFMIS ระบบ GFMIS กระทรวงการคลัง จัดทำ E form/Web Report/Google Map คกก. กลั่นกรองฯ คกก. ติดตามฯ** (ก.การคลัง/สศช./สงป./ธปท.) พิจารณาแนวทางแก้ไขปัญหา รายงานการขอเปลี่ยนแปลง/ยกเลิกโครงการ (ดร.พนัสฯ :ประธาน/สศช./สงป./ก.การคลัง) - ติดตามความก้าวหน้าของโครงการและจัดทำรายงาน ครม. เป็นรายเดือน - รับทราบ/แนวทางแก้ไขปัญหา/รายงานความก้าวหน้าฯ - อนุมัติการขอเปลี่ยนแปลง/ยกเลิกโครงการ ครม. พิจารณา รายงานผลการกู้เงิน / ผลสัมฤทธิ์ / ประโยชน์ที่ได้รับ รัฐสภา สตง. ตรวจสอบหน่วยงานเจ้าของโครงการ สบน.

24 ขั้นตอนการดำเนินการตามแผนไทยเข้มแข็ง 2555
สงป. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลในระบบ e-Budgeting SP หน่วยงานบันทึกในระบบ e-Budgeting (23-29 ก.ค. 52 ) แจ้งหน่วยงานเพื่อเตรียมการจัดทำแผน EvMIS (5 ส.ค. 52) ครม. อนุมัติโครงการที่ได้รับการจัดสรรเงินกู้ตาม พ.ร.ก. 200,000 ล้านบาท (18 ส.ค. 52) แจ้งหน่วยงานที่ได้รับการจัดสรรเงินกู้ตาม พ.ร.ก. 200,000 ล้านบาท (19 ส.ค. 52) หน่วยงานที่ได้รับการจัดสรรเงินกู้ตาม พ.ร.ก. 200,000 ลบ. ขออนุมัติแผนปฏิบัติงาน + แผนการใช้จ่ายเงิน กับ สงป. (28 ส.ค. 52) หน่วยงานบันทึกข้อมูลในระบบ EvMIS (20-28 ส.ค. 52) ระเบียบบริหารโครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา (31 ส.ค. 52) + หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้เงินกู้ - สงป. อนุมัติแผน EvMIS ให้ส่วนราชการ ทราบ (สำเนาส่ง สบน. สศช. บก. สตง.) - สงป. จัดส่งใบจัดสรรให้หน่วยงาน สบน. เตรียมการกู้เงินตามแผน+นำส่ง บช. เงินคงคลังที่ 1 บก. เพิ่มยอดเงินฝากคลังให้ สบน. สบน.

25 แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการบริหารโครงการตามแผนปฏิบัติการ ไทยเข้มแข็ง 2555 พ.ศ. 2552 นายกรัฐมนตรีได้ลงนามในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารโครงการ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 พ.ศ เมื่อวันที่ 18 ส.ค. 2552 ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 ก.ย. 2552 สบน.

26 หน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการบริหารโครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 หน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำนักงบประมาณ : พิจารณาจัดสรรงปม. รายจ่าย/ เงินกู้ และพิจารณาคำขอโอนเปลี่ยนแปลงรายละเอียดในโครงการ รวมทั้งจัดทำหลักเกณฑ์หรือวิธีปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง กรมบัญชีกลาง : รับฝากเงินกู้ไว้ในบัญชีเงินฝากกระทรวงการคลัง และจัดทำระบบบัญชี การเบิกจ่ายเงินรวมทั้งจัดทำหลักเกณฑ์หรือวิธีปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ : จัดหาเงินกู้ และนำฝากเงินกู้ไว้ใน บ/ช เงินฝากกระทรวงการคลัง จัดทำระบบบริหารเงินสดและรายงานสถานะเงินกู้ ประสานงานกับหน่วยงานเจ้าของโครงการเพื่อเร่งรัดการดำเนินโครงการ / เป็นฝ่ายเลขานุการ คกก. กลั่นกรองและบริหารโครงการฯ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ : ติดตามและประเมินผลโครงการ และรายงานผลต่อ คกก. กลั่นกรองและบริหารโครงการฯ สบน.

27 การเสนอ/พิจารณา/อนุมัติโครงการ :
ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการบริหารโครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 การเสนอ/พิจารณา/อนุมัติโครงการ : การเสนอโครงการให้หน่วยงานเจ้าของโครงการ โดยความเห็นชอบของรมว. เจ้าสังกัด เสนอโครงการที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ต่อ คกก. กลั่นกรองฯ เพื่อพิจารณาความเหมาะสม ความพร้อม กรอบวงเงินลงทุน และแผนการระดมทุนของโครงการและเสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ สบน.

28 โครงการที่ได้รับจัดสรร งปม. + เงินกู้
ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการบริหารโครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 การดำเนินโครงการ โครงการที่ได้รับจัดสรร งปม. + เงินกู้ ให้ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณปี 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม/ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการพัสดุ ปี 35/ ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการจัดหาพัสดุด้วย วิธี e-Auction การโอนหรือเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการเสนอคำขอพร้อมเหตุผล ความจำเป็นต่อ สงป. เพื่อนำเสนอ คกก. พิจารณา และเสนอขออนุมัติ ครม. -โครงการที่หน่วยงานเจ้าของโครงการรับภาระการลงทุนเอง : ให้ดำเนินโครงการและจัดหาเงินทุนตามกฎหมาย/ระเบียบที่ให้อำนาจไว้ และรายงานความก้าวหน้าให้ คกก.กลั่นกรองฯ ทราบตามหลักเกณฑ์และระยะเวลาที่กำหนด - โครงการที่หน่วยงานเจ้าของโครงการ/ค.ร.ม. มีมติให้เอกชนร่วมลงทุน :ให้ดำเนินการตามกฎหมาย/ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ และรายงานความก้าวหน้าให้ คกก. กลั่นกรองฯ ทราบตามหลักเกณฑ์และระยะเวลาที่กำหนด ยกเว้น เงินกู้ ตปท. สำหรับโครงการใดโครงการหนึ่งโดยเฉพาะให้ปฏิบัติตามระเบียบของแหล่งเงินกู้ได้ สบน.

29 การจัดหาเงินกู้และการเบิกจ่ายเงินกู้ :
ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการบริหารโครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 การจัดหาเงินกู้และการเบิกจ่ายเงินกู้ : การจัดหาเงินกู้ :ให้ สบน. จัดหาเงินกู้ตามกฎหมาย บริหารหนี้/กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง และนำฝากในบัญชีเงินนอกงบประมาณ “แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555” การใช้จ่ายและการเบิกจ่ายเงินกู้ :ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการกู้เงิน และระเบียบการเบิกจ่ายเงินของทางราชการ รวมทั้ง หลักเกณฑ์หรือวิธีปฏิบัติที่กระทรวงการคลังกำหนด สบน.

30 การติดตาม การประเมินผล การรายงานผลการดำเนินงาน :
ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการบริหารโครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 การติดตาม การประเมินผล การรายงานผลการดำเนินงาน : ให้ กค. จัดทำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการติดตามความก้าวหน้า การเบิกจ่าย และการประเมินผล และให้หน่วยงานรายงานความก้าวหน้า ผ่านระบบ ตามระยะเวลาและหลักเกณฑ์ที่ คกก. กำหนด รวมทั้งให้ สบน. ประสานงานกับหน่วยงานเพื่อเร่งรัดการดำเนินโครงการ / สศช. ติดตามประเมินผลโครงการ เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ ผลกระทบทางเศรษฐกิจ สบน.

31 การบริหารโครงการในพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ :
ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการบริหารโครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 การบริหารโครงการในพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ : การดำเนินโครงการ : ให้หน่วยงานเจ้าของโครงตามที่ได้รับอนุมัติจาก ครม. และการจัดหาพัสดุให้ดำเนินการตามระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการพัสดุ ปี 35/ ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการจัดหาพัสดุด้วยวิธี e-Auction/ ระเบียบหรือข้อบังคับของหน่วยงานเจ้าของโครงการ/ วิธีการจัดหาพัสดุที่ ครม. กำหนดไว้ เป็นการเฉพาะสำหรับพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ การโอนเปลี่ยนแปลงโครงการหรือใช้เงินเหลือจ่าย :ให้ คกก. รัฐมนตรีพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต้มีอำนาจในการพิจารณาอนุมัติ บทเฉพาะกาล : การดำเนินการใดที่เกี่ยวกับโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ที่ได้ดำเนินการไปก่อนวันที่ระเบียบมีผลใช้บังคับ ให้ถือว่าดำเนินการตามที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้ และการดำเนินการต่อไป สำหรับโครงการให้เป็นไปตามที่กำหนดในระเบียบนี้ สบน.

32 การใช้เงินเหลือจ่าย :
ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการบริหารโครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 การใช้เงินเหลือจ่าย : - ในกรณีหน่วยงานดำเนินโครงการเสร็จสิ้นแล้วและมีวงเงินเหลือจ่าย หากโครงการได้ทำสัญญาแบบปรับราคาได้ และมีเงินชดเชยค่างานก่อสร้าง (ค่า K) ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการเสนอขออนุมัติ ต่อ สงป. และใช้เป็นเงินชดเชยค่า K ได้ - เมื่อดำเนินโครงการและเบิกจ่ายเสร็จสิ้นทุกโครงการแล้ว ให้ สบน. ปิดบัญชีแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 และนำเงินที่เหลือในบัญชีส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน บทเฉพาะกาล : การดำเนินการใดที่เกี่ยวกับโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ที่ได้ดำเนินการไปก่อนวันที่ระเบียบมีผลใช้บังคับ ให้ถือว่าดำเนินการตามที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้ และการดำเนินการต่อไป สำหรับโครงการให้เป็นไปตามที่กำหนดในระเบียบนี้ สบน.

33 ระบบการติดตาม&ตรวจสอบโครงการ
ระบบฐานข้อมูลในการติดตามโครงการ ระบบสารสนเทศ PFMS-SP2/ (เริ่มใช้งานระบบได้ปลาย พ.ย. 52) คกก. ในการติดตามตรวจสอบโครงการ คกก. ติดตามเร่งรัดการดำเนินโครงการ (ดร.พนัสฯ) (มติ ครม. วันที่ 26 พ.ค. 52) คกก.กลั่นกรองและบริหารโครงการ (ปลัดกระทรวงการคลัง) (ระเบียบสำนักนายกฯ) คกก. ติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงปม. (รองนายกฯ) (มติ ครม. วันที่ 5 ส.ค. 52) ช่องทางในการแจ้งข้อมูล/ร้องเรียน (ผ่านระบบ PFMS SP2) ตู้ ปณ 1 กระทรวงการคลัง (ผ่านกรมบัญชีกลาง) Hotline 1111 (สำนักนายกรัฐมนตรี) ระบบการตรวจสอบ รัฐสภา (สภาผู้แทน,วุฒิสภา ผ่านคณะกรรมาธิการชุดต่างๆ) สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) (ตรวจสอบรายงานการใช้จ่ายเงิน) ปปช. (ตรวจสอบกรณีที่พบว่ามีข้อมูลการทุจริตเกิดขึ้นแล้ว)

34 ระบบการติดตาม&ตรวจสอบโครงการ
คกก. กลั่นกรองและบริหาร โครงการฯ (ปลัดกระทรวงการคลัง) กำกับการดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ ครม. อนุมัติ รายงานความก้าวหน้าในการดำเนินโครงการ/การเบิกจ่าย เสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการโครงการ คกก. ติดตามเร่งรัดการดำเนิน โครงการฯ (ดร.พนัสฯ) ติดตามเร่งรัดการดำเนินโครงการให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ ครม. อนุมัติ ให้คำแนะนำหน่วยงานในการดำเนินงาน เสนอแนะแนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพของโครงการ เรียกหน่วยงานมาชี้แจงข้อมูลให้แก่ คกก. คกก.ติดตามเร่งรัด การเบิกจ่ายงบประมาณฯ (บัญชีกลาง) ติดตาม/เร่งรัดการใช้จ่ายเงิน SP2 ข้อสังเกต: คกก. ทั้ง 3 ชุด เน้นการติดตามโครงการและการเบิกจ่าย ยังไม่มี คกก. ชุดใดที่ทำหน้าที่ตรวจสอบโดยตรง

35 ระบบติดตามตรวจสอบโครงการภายใต้ปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
External Audit รัฐสภา สตง. ปปช. ระบบตรวจสอบ ระบบติดตามโครงการ ระบบสารสนเทศ PFMS-SP2/ คกก. อิสระ เพื่อตรวจสอบโครงการ (ผู้ทรงคุณวุฒิ) ตรวจสอบเฉพาะโครงการที่ มีความผิดปกติ / ข้อร้องเรียน แก้ไขปัญหา รายงาน รมว. คลัง คกก. กลั่นกรองและบริหาร โครงการฯ (ปลัดกระทรวงการคลัง) คกก. ตรวจสอบ ระดับกระทรวง (ปลัดกระทรวงฯ) พิจารณา ตรวจสอบ รายงาน Audit Report ของกรมต่างๆ การสุ่มตรวจสอบโครงการ คกก.ติดตามเร่งรัด การเบิกจ่ายงบประมาณฯ (บัญชีกลาง) หน่วย ตรวจสอบภายใน ที่มีอยู่เดิม คกก. ติดตามเร่งรัดการดำเนิน โครงการฯ (ดร.พนัสฯ) คกก. ตรวจสอบ ระดับกรม (อธิบดีฯ) Procurement Audit Report Technical Audit Report Disbursement Audit Report

36 การขอความร่วมมือจากหน่วยงาน
เร่งรัดดำเนินโครงการตามแผนงานที่ตกลงไว้ (ในระบบ E-budgeting SP2) รายงานความก้าวหน้าในการดำเนินโครงการ และการเบิกจ่ายเงินผ่านระบบ PFMS-SP2 ของกระทรวงการคลัง ตามระยะเวลาที่กำหนด เพื่อความโปร่งใส และติดตามได้โดยสาธารณชนผ่าน Website : tkk2555.com 37

37 Website ที่เกี่ยวข้อง
ไทยเข้มแข็ง2555 สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กรมบัญชีกลาง สำนักงบประมาณ

38 ขอขอบคุณ www.pdmo.mof.go.th โทร. 02 2658050
39

39 ระเบียบ/หลักเกณฑ์ของสำนักงบประมาณ
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ลงวันที่ 3 ก.ย. 52 (ว 94) สบน.

40 ระเบียบ/หลักเกณฑ์เกี่ยวกับแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ของ สงป.
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 หมวด 1 : บททั่วไป : การรับส่งข้อมูลให้ดำเนินการด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งจะต้องระบุข้อมูลต่างๆ ของโครงการให้ชัดเจน หมวด 2 : การจัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายเงินตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 : หน่วยงานต้องบันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบของ สงป. และมีหนังสือแจ้งเหตุผลความจำเป็น สงป. ทุกครั้งหากมีการแก้ไข สบน.

41 ระเบียบ/หลักเกณฑ์เกี่ยวกับแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ของ สงป.
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 หมวด 3 : การจัดสรรเงินตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 : หน่วยงานจะต้องจัดทำรายละเอียดรายการครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง ประมาณการราคา หรือรายละเอียดอื่นใด ให้แก่ สงป. พิจารณา หากมีการขอพิจารณาเพิ่มเติมวงเงินที่ได้รับอนุมัติแล้ว หน่วยงานต้องขออนุมัติจาก ครม. เป็นรายโครงการไป ในกรณีมีการปรับราคา (ค่าK)/ชดเชยค่าก่อสร้าง ให้ขออนุมัติจาก สงป. ก่อน หมวด 4 : การรายงานผล : รายงานผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของโครงการพร้อมทั้งแจ้งเป็นเอกสารส่ง สงป. สบน.

42 ระเบียบ/หลักเกณฑ์ของกรมบัญชีกลาง
- หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเงินจากคลังตามโครงการหรือแผนงานภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ลงวันที่ 3 ก.ย. 52 (ว 94) - การเพิ่มความคล่องตัวในการปฏิบัติตามระเบียบ E-Auction สำหรับโครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 สบน.


ดาวน์โหลด ppt แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google