งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

2017 edition of "The World of Organic Agriculture"

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "2017 edition of "The World of Organic Agriculture""— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 2017 edition of "The World of Organic Agriculture"
Organic agriculture is practiced in 179 countries, and 50.9 million hectares of agricultural land are managed organically by approximately 2.4 million farmers. The global sales of organic food and drink reached 81.6 billion US dollars in 2015.

3 2.พื้นที่เกษตรอินทรีย์ 50.9 ล้านเฮกเตอร์
3.

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15 มูลค่าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของโลก ปี 2558
สถานการณ์เกษตรอินทรีย์ มูลค่าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของโลก ปี 2558 จำแนกตามกลุ่มประเทศ จำแนกตามรายประเทศ ที่มา : The World of Organic Agriculture 2016

16 สถานการณ์เกษตรอินทรีย์
พื้นที่การผลิตเกษตรอินทรีย์ของไทย ปี 2558 ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน (16, ไร่) (18,666 ไร่) 17.05% (27, ไร่) ( ไร่) 24.87% (39, ไร่) (1, ไร่) ภาครัฐ , ไร่ เอกชน , ไร่ พื้นที่รวม , ไร่ (55, ไร่) ที่มา : สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ

17 ตลาดสินค้าออร์แกนิคไทยในปี 2557 มีมูลค่ารวม 2,331.55 ล้านบาท
ตลาดส่งออก 1, ล้านบาท (77.9%) ตลาดในประเทศ ล้านบาท (22.06%) ช่องทางตลาดออร์แกนิคในประเทศที่ใหญ่ที่สุด โมเดิร์นเทรด (59.48%) ร้านกรีน (29.47%) และร้านอาหาร (5.85%)  การส่งออกปี 2557 ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป มูลค่า 1, ล้านบาท/ปี (66.1%) ข้าว ออร์แกนิค มูลค่า ล้านบาท (30.4%) ตลาดออร์แกนิค ภูมิภาคยุโรปเป็นตลาดส่งออกที่สำคัญ รองลงมาคือ อเมริกาเหนือ ตลาดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและอาเซียน เริ่มมีความสำคัญมากขึ้น ที่มา : วิฑูรย์ ปัญญากุล มูลนิธิสายใยแผ่นดิน / กรีนเนท (2558)

18 สถานการณ์เกษตรอินทรีย์
ประเทศไทยส่งออกข้าวหอมมะลิไทย (ข้าวอินทรีย์) ไปทวีปต่างๆ ปี 2556 (ข้อมูล ณ 1 มกราคม – 8 ตุลาคม 2556) ที่มา : สำนักบริหารการค้าข้าว กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์, 2558

19 คณะกรรมการพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ กษ. ได้เสนอให้ประธานแต่งตั้ง
องค์ประกอบ อำนาจหน้าที่ (1) รองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมาย ประธานกรรมการ (2) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรรมการ (3) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ กรรมการ (4) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการ (5) ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรรมการ (6) ปลัดกระทรวงพาณิชย์ กรรมการ (7) ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการ (8) ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมหรือผู้แทน กรรมการ (9) ปลัดกระทรวงสาธารณสุขหรือผู้แทน กรรมการ (10) เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ กรรมการ สังคมแห่งชาติ (11) ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ กรรมการ (12) เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรรมการ (13-15) ผู้แทนภาคเอกชน (3 คน) กรรมการ (16-18) ผู้ทรงคุณวุฒิ (3 คน) กรรมการ (19) รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรรมการ ที่ได้รับมอบหมาย และเลขานุการ (20-22) ผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (3 คน) กรรมการ (กรมพัฒนาที่ดิน สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร และผู้ช่วยเลขานุการ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ) (23) ผู้แทนกระทรวงพาณิชย์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ (24) ผู้แทนกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติเพื่อผลักดันและขับเคลื่อนการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ของประเทศ ดำเนินการบูรณาการแนวทาง มาตรการ แผนงานและงบประมาณกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ จัดระบบการประสานงานและการดำเนินงานอย่าง เป็นระบบ เพื่อกำกับดูแล และเร่งรัดการดำเนินงานของ ส่วนราชการและองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในทุกระดับ เพื่อให้ดำเนินการเป็นด้วยความเรียบร้อย พร้อมทั้งกำหนดงานของส่วนราชการต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ใน การปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์ให้มีความเหมาะสม แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน หรือบุคคลเพื่อมอบหมายให้ดำเนินการใดตามที่คณะกรรมการกำหนดเพื่อช่วยปฏิบัติงานการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรอินทรีย์ตามความเหมาะสม กษ. ได้เสนอให้ประธานแต่งตั้ง ผู้แทนภาคเอกชน 1) นายปริญญา พรศิริชัยวัฒนา 2) นายพีรโชติ จรัญวงศ์ 3) นายอรุษ นวราช ผู้ทรงคุณวุฒิ 1) นางจินตนา อินทรมงคล 2) นางชยาพร วัฒนศิริ 3) นายชมชวน บุญระหงษ์

20 องค์ประกอบ อำนาจหน้าที่
คำสั่งกระทรวงพาณิชย์ที่ ๘๓๕/๒๕๕๘ เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานบูรณาการภารกิจของกระทรวงพาณิชย์ในการส่งเสริม และพัฒนาตลาดสินค้าอินทรีย์ องค์ประกอบ 1 ที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ที่ปรึกษาคณะทำงาน (นางพิมพาพรรณ ชาญศิลป์) ๒ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ที่ปรึกษาคณะทำงาน (นางดวงกมล เจียมบุตร) ๓ อธิบดีกรมการค้าภายใน ประธานคณะทำงาน 4 หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงพาณิชย์ คณะทำงาน ๕ รองอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ คณะทำงาน ๖ รองอธิบดีกรมการค้าภายใน คณะทำงาน 7 รองอธิบดีกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ คณะทำงาน 8 รองประธานมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก คณะทำงาน สภากาชาดไทย (รศ.ดร.นายแพทย์พิชิต สุวรรณประกร) 9 ผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คณะทำงาน 10 ผู้แทนสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) คณะทำงาน ๑1 นายกสมาคมการค้าเกษตรอินทรีย์ไทย คณะทำงาน ๑2 ผู้แทนชมรมเกษตรอินทรีย์แห่งประเทศไทย คณะทำงาน ๑3 ผู้จัดการสำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ คณะทำงาน ๑4 กรรมการผู้จัดการบริษัท สังคมสุขภาพ จำกัด คณะทำงาน 15 ผู้อำนวยการกองส่งเสริมการพาณิชย์ภูมิภาค คณะทำงาน ๑6 ผู้อำนวยการกองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร ๑ คณะทำงานและเลขานุการ ๑7 ผู้แทนกองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร ๑ คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ อำนาจหน้าที่  ศึกษาวิเคราะห์และจัดทำกรอบยุทธศาสตร์และแผนของกระทรวงฯ  สนับสนุนการดำเนินการตามกรอบยุทธศาสตร์และแผนงาน  เสนอแนะแนวทางใหม่ๆ เพื่อส่งเสริมการตลาดสินค้าอินทรีย์  ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ  บูรณาการดำเนินการส่งเสริมตลาดสินค้าอินทรีย์ร่วมกัน  ประสานหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง  แต่งตั้งคณะทำงานอื่นๆ เพิ่มเติมเพื่อดำเนินงานที่เกี่ยวข้อง  ปฏิบัติงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย

21 ยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ พ.ศ. 2560-2564
วิสัยทัศน์ ประเทศไทยเป็นผู้นำในระดับภูมิภาค ด้านการผลิต การบริโภค การค้าสินค้า และการบริการเกษตรอินทรีย์ ที่มีความยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล พันธกิจ สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมเกษตรอินทรีย์ให้เป็นระบบ เสริมสร้างสภาพแวดล้อม สนับสนุนโครงสร้างพื้นฐาน ปัจจัยการผลิต และการบริโภค สินค้าเกษตรอินทรีย์ ในประเทศให้มากขึ้น ส่งเสริมการใช้ระบบสารสนเทศ การประชาสัมพันธ์และพัฒนาเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ทั้งการผลิตการแปรรูป การตลาด และการบริการให้เข้มแข็งพึ่งพากันอย่างยั่งยืน ส่งเสริมการตลาด ช่องทางการจัดจำหน่าย และระบบโลจิสติกส์ พัฒนามาตรฐาน และระบบการตรวจสอบรับรองเกษตรอินทรีย์ไทยให้เป็นที่ยอมรับ ทั้งในและต่างประเทศ

22 ยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ พ.ศ. 2560-2564
วัตถุประสงค์ เพิ่มพื้นที่และปริมาณการผลิตเกษตรอินทรีย์ เพื่อเพิ่มการค้าและการบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ในประเทศ 3. เพื่อให้สินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค ทั้งใน และต่างประเทศ 4. เพื่อให้ไทยเป็นศูนย์กลาง (Hub) ของสินค้าและบริการด้านเกษตรอินทรีย์ในระดับสากล 5. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมเกษตรอินทรีย์ให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล เป้าหมาย/ตัวชี้วัด พื้นที่เกษตรอินทรีย์ไม่น้อยกว่า 600,000 ไร่ ภายในปี 2564 1 2 เพิ่มจำนวนเกษตรกรที่ทำเกษตรอินทรีย์ไม่น้อยกว่า 30,000 ราย ภายในปี 2564 เพิ่มสัดส่วนตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ในประเทศต่อตลาดส่งออก โดยให้มีสัดส่วนตลาดในประเทศร้อยละ 40 ต่อตลาดส่งออกร้อยละ 60 3 4 ยกระดับกลุ่มเกษตรอินทรีย์วิถีพื้นบ้านเพิ่มขึ้น

23 ยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์
ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผน 12 (สศช.) และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ยุทธศาสตร์เกษตร 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร และยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและยกระดับมาตรฐานสินค้า แผน 12 (สศช.) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน และยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ประเด็นที่ 2 ขจัดความหิวโหย บรรลุความมั่งคงทางอาหารปรับปรุงโภชนาการและสนับสนุนการทำเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน วิสัยทัศน์ ประเทศไทยเป็นแหล่งการผลิต การบริโภค การค้า และการบริการเกษตรอินทรีย์เป็นที่ยอมรับในระดับสากล เป้าหมาย เพิ่มพื้นที่ผลิต เกษตรอินทรีย์ เพิ่มปริมาณสินค้าเกษตรอินทรีย์ เพิ่มมูลค่าสินค้าและผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ เทียบเคียงมาตรฐานไทยกับประเทศคู่ค้า มีกลุ่มเกษตรอินทรีย์วิถีพื้นบ้านและได้รับมาตรฐาน ตัวชี้วัด เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 ต่อปี อย่างน้อย 1 ประเทศ อย่างน้อย จำนวน 760 กลุ่ม ยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมการวิจัย การสร้าง และเผยแพร่องค์ความรู้ และนวัตกรรมเกษตรอินทรีย์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาการผลิตสินค้าและ บริการเกษตรอินทรีย์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาการตลาดสินค้าและบริการและการรับรอง มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ 1 ส่งเสริมการวิจัย การสร้าง และเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ กลยุทธ์ 1 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องเกษตรอินทรีย์แก่เกษตรกร บุคลากรที่เกี่ยวข้องและประชาชนทั่วไป กลยุทธ์ 1 ผลักดันมาตรฐานและระบบการตรวจสอบรับรองเกษตรอินทรีย์ กลยุทธ์ 1 ใช้รูปแบบยโสธรโมเดลในการขับเคลื่อน การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ร่วมกับภาคเอกชน กลยุทธ์ 2 ส่งเสริมการตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์และบริการ ที่เกี่ยวข้องกับเกษตรอินทรีย์ กลยุทธ์ 2 สร้างฐานข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ กลยุทธ์ 2 พัฒนาศักยภาพการผลิตเกษตรอินทรีย์ กลยุทธ์ 2 แหล่งเงินทุน เพื่อพัฒนาเกษตรอินทรีย์ กลยุทธ์ 3 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อการผลิตเกษตรอินทรีย์ กลยุทธ์ 3 การประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์สู่ผู้บริโภค กลยุทธ์ 3 จัดตั้งกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ไปสู่การปฏิบัติ

24 ยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ พ.ศ. 2560-2564
1 4 ยุทธศาสตร์การพัฒนา เกษตรอินทรีย์แห่งชาติ พ.ศ ส่งเสริมการวิจัย การสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ และนวัตกรรมเกษตรอินทรีย์ การขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ 2 3 พัฒนาการผลิตสินค้าและบริการเกษตรอินทรีย์ พัฒนาการตลาดสินค้าและบริการ และการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์

25 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมการวิจัย การสร้าง และเผยแพร่องค์ความรู้
และนวัตกรรมเกษตรอินทรีย์ กลยุทธ์การพัฒนา 3 กลยุทธ์ 2. เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องเกษตรอินทรีย์ แก่ เกษตรกร สถาบันเกษตรกร บุคลากรที่เกี่ยวข้อง และ ประชาชนทั่วไป 1. ส่งเสริมการวิจัย การสร้าง และเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ ส่งเสริมการวิจัยและการสร้างองค์ความรู้ทุกรูปแบบในทุกประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ ส่งเสริมแนวทางการวิจัยที่เชื่อมโยงความรู้ และสร้างนวัตกรรมด้านเกษตรอินทรีย์ ส่งเสริมและพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่เกษตรอินทรีย์เชิงพาณิชย์ - ส่งเสริมงานวิจัยเทคโนโลยี/นวัตกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา คุณภาพสินค้าเกษตรอินทรีย์และผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์แปรรูป เพื่อเข้าสู่การพัฒนาเกษตรอินทรีย์สมัยใหม่สู่ไทยแลนด์ 4.0 ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์อินทรีย์ ให้การสนับสนุนนักวิจัยรุ่นใหม่ด้านเกษตรอินทรีย์ สนับสนุนการให้ความรู้และกระบวนการเรียนรู้เรื่องเกษตรอินทรีย์ทั้งระบบ แก่เยาวชน - ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร จากธรรมชาติ เสริมสร้าง พัฒนาองค์ความรู้ และความเข้าใจในกระบวนการผลิตเกษตรอินทรีย์ แก่เกษตรกร สถาบันเกษตรกร และผู้เกี่ยวข้อง ตลอดห่วงโซ่อุปทานอย่างครบวงจร เสริมสร้างและพัฒนาแกนนำเกษตรกรระดับชุมชนท้องถิ่น พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้มีความสามารถที่จะถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ให้เกษตรกร และผู้เกี่ยวข้อง ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ให้เป็นระบบ สนับสนุนการให้ความรู้และกระบวนการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรม เสริมทักษะและการศึกษาดูงาน

26 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมการวิจัย การสร้าง และเผยแพร่องค์ความรู้
และนวัตกรรมเกษตรอินทรีย์ กลยุทธ์การพัฒนา 3 กลยุทธ์ 3. สร้างฐานข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาเกษตร อินทรีย์ - ให้มีหน่วยงานหลักในการจัดทำระบบฐานข้อมูล ด้านการผลิต การตลาด และองค์ความรู้ ด้านเกษตร อินทรีย์ รวบรวมข้อมูล ประมวลผล และจัดทำฐานข้อมูลด้านองค์ความรู้ในด้านเกษตรอินทรีย์ จากงานวิจัยและภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมถึงนวัตกรรม จัดทำหลักเกณฑ์การสำรวจและจัดทำทะเบียนเกษตรกรของเกษตรอินทรีย์วิถีพื้นบ้าน เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาเข้าสู่ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ รวมทั้งการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างกัน

27 ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาการผลิตสินค้าและบริการเกษตรอินทรีย์
เป้าหมาย กลยุทธ์การพัฒนา 2กลยุทธ์ พื้นที่เกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ต่อปี ในปี และ ร้อยละ 20 ต่อปี ในปี 1. พัฒนาศักยภาพการผลิตเกษตรอินทรีย์ ส่งเสริมศักยภาพของเกษตรกรโดยเน้นการรวมกลุ่ม และขับเคลื่อนโดยระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร ทั้งที่อยู่ในระยะปรับเปลี่ยนและในระบบอินทรีย์ องค์กรเกษตรกรและผู้ประกอบการ ให้ผลิตสินค้าและบริการเกษตรอินทรีย์ให้ได้การรับรอง ตามมาตรฐาน เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน ส่งเสริมให้มีปัจจัยการผลิตเกษตรอินทรีย์ ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ให้มีความหลากหลาย พัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ สัตว์น้ำอินทรีย์ ต่อยอดการพัฒนาเกษตรกรในกลุ่มเดิม หรือ กลุ่มใหม่ เพื่อการขยายผลการบูรณาการเชิงพื้นที่ อย่างต่อเนื่องและครบวงจร ส่งเสริมการสร้างและเชื่อมโยงเครือข่าย รวมทั้งสนับสนุน การบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์ของสินค้าเกษตรอินทรีย์ สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ เพิ่มขีดความสามารถให้กับเกษตรกร ผู้ผลิต และ ผู้ให้บริการ ในการผลิต แปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตรอินทรีย์

28 ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาการผลิตสินค้าและบริการเกษตรอินทรีย์
2. บริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐาน ที่เอื้อต่อการผลิตเกษตรอินทรีย์ อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในการวางระบบโครงสร้างพื้นฐานตั้งแต่ ระบบการบริหารจัดการ ปัจจัยการผลิต ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ำ ให้มีการทำเกษตรอินทรีย์ที่สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ ส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการทรัพยากร และโครงสร้างพื้นฐาน อาทิ โรงสีเครื่องตัดบรรจุ ให้สามารถแปรรูปสินค้าเกษตรอินทรีย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กำหนดมาตรการป้องกันการปนเปื้อนสารเคมีจากแปลงข้างเคียงที่ส่งผลกระทบต่อแปลงเกษตรอินทรีย์ ในระดับนโยบาย และระดับชุมชน สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรอินทรีย์ให้มีความโดดเด่นทั้งคุณภาพ รูปแบบ ความหลากหลาย

29 ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาการตลาดสินค้าและบริการ และการรับรอง
มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ กลยุทธ์การพัฒนา 3 กลยุทธ์ 1. ผลักดันมาตรฐานและระบบการตรวจสอบรับรองเกษตรอินทรีย์ 2. ส่งเสริมและพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์และบริการที่เกี่ยวข้องกับเกษตรอินทรีย์ สร้างความเชื่อมั่นและการยอมรับในตราสัญลักษณ์ และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ไทย สนับสนุนการจัดตั้งศูนย์บริการแบบ One Stop Service ผลักดันมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของไทยให้เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ และจัดทำระบบการตรวจสอบรับรองมาตรฐานและการตรวจสอบย้อนกลับ ส่งเสริมการพัฒนาสินค้าและบริการ เกษตรอินทรีย์ตามมาตรฐานสากลและระบบการควบคุมคุณภาพ (ICS : Internal Contril System) ในระดับชุมชน โดยใช้ระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS) สร้างและส่งเสริมช่องทางการตลาดด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับสินค้าเกษตรอินทรีย์ให้เชื่อมโยงทั้งในประเทศและต่างประเทศ ส่งเสริมการบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ใ โดยการจัดทำโครงการ ส่งเสริมและพัฒนาตลาดเกษตรอินทรีย์ในองค์กรเอกชนและหน่วยงานภาครัฐ พัฒนาระบบโลจิสติกส์สำหรับสินค้าและบริการ สนับสนุนและส่งเสริมการจัดงานแสดงสินค้าเกษตรอินทรีย์โลก ผลักดันให้มีพิกัดศุลกากรสำหรับสินค้าเกษตรอินทรีย์ อำนวยความสะดวกในการส่งออกสินค้าเกษตรอินทรีย์ ส่งเสริม การสร้างตราสินค้า และ อัตลักษณ์ของสินค้าและผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ไทย ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างชุมชนต้นแบบพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่เกื้อกูล เป็นธรรม ทั้งตลาดชุมชน ตลาดท้องถิ่น ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยเชื่อมโยงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น

30 3. ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์
สู่ผู้บริโภค ส่งเสริมและสนับสนุนการประชาสัมพันธ์ในช่องทางต่างๆ ประชาสัมพันธ์ให้ผู้บริโภคเกิดความเข้าใจระบบมาตรฐานการรับรองเกษตรอินทรีย์ของไทยและของต่างประเทศ

31 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์
กลยุทธ์การพัฒนา 3 กลยุทธ์ สร้างกลไกและเครือข่ายการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ไปสู่การปฏิบัติ 1. ใช้รูปแบบยโสธรโมเดล โดยภาคเอกชนเป็นหลักในการขับเคลื่อน การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ 2. สนับสนุนแหล่งเงินทุน เพื่อพัฒนาเกษตรอินทรีย์ จัดให้มีกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ เพื่อกำกับดูแลและดำเนินงาน การผลิตและการตลาดเกษตรอินทรีย์อย่างเป็นระบบครบวงจร ประเมินผลการดำเนินงานการ พัฒนาเกษตร อินทรีย์เป็นระยะๆ สนับสนุนให้สถาบันการศึกษาใน ภูมิภาคเป็นเครือข่ายขับเคลื่อนการ พัฒนาเกษตรอินทรีย์ในอนาคต - แสวงหาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำ หรือใช้เงินจากกองทุนของรัฐที่มีการจัดตั้งไว้แล้วสำหรับเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียน -สนับสนุน Green Credit ผ่านสถาบันการเงิน - ใช้การบูรณาการ โดยภาคเอกชนเป็นหลักร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งส่วนกลาง ระดับจังหวัด กลุ่มเกษตรกร สถาบันการศึกษา ในการพัฒนากลุ่มเกษตรกรเกษตรอินทรีย์ โดยภาครัฐให้การสนับสนุน และจัดตั้งคณะทำงานในระดับพื้นที่ เพื่อการวางแน การผลิต การตลาด มาจรฐาน และงบประมาณ

32


ดาวน์โหลด ppt 2017 edition of "The World of Organic Agriculture"

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google