งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ถ่ายทอดเกณฑ์ และแนวทางการประเมิน การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ถ่ายทอดเกณฑ์ และแนวทางการประเมิน การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ถ่ายทอดเกณฑ์ และแนวทางการประเมิน การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ
ปีงบประมาณ 2560 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างประเทศ สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

2 68 ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
พรมแดนแม่สาย ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ พรมแดนแม่สอด พรมแดนสังขละบุรี (เจดีย์สามองค์) พรมแดนบ้านพุน้ำร้อน ท่าเรือกรุงเทพ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานหัวหิน พรมแดนสิงขร ท่าเรือประจวบคีรีขันธ์ ท่าเรือระนอง ท่าเรือภูเก็ต ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานกระบี่ ท่าเรือกระบี่ พรมแดนปาดังเบซาร์ พรมแดนเบตง พรมแดนสุไหงโก-ลก พรมแดนบูเก๊ะตา ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ท่าเรือสงขลา ท่าเรือนครศรีธรรมราช ท่าเรือเกาะสมุย ท่าอากาศยานเกาะสมุย ท่าเรือเกาะสีชัง ท่าเรือแหลมฉบัง และท่าเรือศรีราชา พรมแดนบ้านหาดเล็ก (คลองใหญ่) ท่าเรือมาบตาพุด ท่าอากาศยานอู่ตะเภา พรมแดนบ้านผักกาด พรมแดนบ้านแหลม พรมแดนคลองลึก พรมแดนช่องจอม (กาบเชิง) พรมแดนภูสิงห์ (ช่องสะงำ) พรมแดนช่องเม็ก พรมแดนเทศบาลท่าเรือมุกดาหาร พรมแดนสะพานมิตรภาพ ๒ พรมแดนเทศบาลท่าเรือนครพนม พรมแดนสะพานมิตรภาพ ๓ พรมแดนบึงกาฬ ท่าอากาศยานอุดรธานี พรมแดนท่าลี่ พรมแดนท่าเรือวัดหายโศก พรมแดนสะพานมิตรภาพ ๑ พรมแดนสถานีรถไฟหนองคาย พรมแดนห้วยโก๋น ท่าอากาศยานแม่สอด พรมแดนตากใบ พรมแดนสะพานมิตรภาพ 4 ท่าเรือเชียงแสน พรมแดนสะเดา พรมแดนบ้านประกอบ พรมแดนเชียงคาน ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง ด่านควบคุมโรคฯ ใน พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ จำนวน 26 แห่ง ท่าอากาศยาน 3 แห่ง / ท่าเรือ 2 แห่ง/ พรมแดน 21 แห่ง ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ 68 ท่าอากาศยาน 17 แห่ง พรมแดน 33 แห่ง ท่าเรือ 18 แห่ง ท่าอากาศยานนราธิวาส

3 ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
ช่องทางเข้าออกประเทศที่มีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด (ขั้นพื้นฐาน) (มีคะแนนประเมิน>50 % ของ CCAT) ตัวชี้วัด ข้อมูลพื้นฐาน 2556 2557 2558 2559 ร้อยละของช่องทางเข้าออกประเทศที่มีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด (แห่ง) ร้อยละ 94.4 (17 แห่ง) เป้าหมาย 18 แห่ง (IHR Designated PoE) ร้อยละ 79.3 (46 แห่ง) เป้าหมาย 58แห่ง ร้อยละ 74.6 (50 แห่ง) เป้าหมาย 67แห่ง ร้อยละ 80.6 (54 แห่ง)

4 ผลการประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลัก
ของช่องทางเข้าออกประเทศ ตาม IHR ปี 2559 ประเมินสมรรถนะหลัก 3 ด้าน ได้แก่ ปี 2559 ผ่านเกณฑ์ 54 แห่ง ( 80.6%) สมรรถนะด้านการติดต่อสื่อสาร ช่องทางเข้าออกประเทศที่มีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด (ขั้นพื้นฐาน) (มีคะแนนประเมิน > 50 % ของ CCAT) สมรรถนะต้องมีตลอดเวลา (ในสภาวะปกติ) ไม่ผ่านเกณฑ์ 13 แห่ง (19.4%) สมรรถนะในภาวะฉุกเฉิน โดยมีคะแนนเฉลียของการประเมินฯ ดังนี้ ช่องทางเข้าออกประเทศ สมรรถนะด้านสื่อสาร สมรรถนะต้องมีตลอดเวลา (ในสภาวะปกติ) สมรรถนะในภาวะฉุกเฉิน รวม ภาพรวมทั้ง 67 แห่ง (ไม่ประเมิน 1 แห่ง) 67.13 70.24 65.57 67.65 ช่องทางฯ พรมแดน (33 แห่ง) 67.11 71.39 68.54 ช่องทางฯ ท่าเรือ (18 แห่ง) 67.67 70.61 61.56 66.61 ช่องทางฯ อากาศ (17 แห่ง) 66.56 67.44 66.88 66.96

5 ข้อเสนอแนะ ปัญหาและอุปสรรค
ปัจจัยสนับสนุน ต่อการดำเนินงาน ข้อเสนอแนะ 1. ผู้บริหารให้ความสำคัญ สนับสนุนงบประมาณ รวมทั้งมีการควบคุม กำกับ และติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง 2. พ.ร.บ. โรคติดต่อ 2558 มีความสอดคล้องกับการใช้กฏอนามัยระหว่างประเทศ IHR 2005 3. หน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทุกหน่วยงาน ให้ความสำคัญกับการพัฒนาฯ 4. ผู้เชี่ยวชาญในทีมนิเทศติดตามผล ให้การสนับสนุน พัฒนาฯ 5. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานด่าน และเจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคฯ มีความมุ่งมั่นและตั้งใจประสานความร่วมมือกันในการดำเนินอย่างมีประสิทธิภาพ 1. จัดสรรบุคลากรให้เพียงพอและพัฒนาสมรรถนะศักยภาพ ทั้งด้านองค์ความรู้ และทักษะในการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐาน IHR 2005 ที่กำหนดอย่างต่อเนื่อง 2. สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาด่านควบคุมโรคฯ ทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐาน วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นและงบประมาณในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3. การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศตาม IHR 2005 และเป็นไป พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ และสนับสนุนและสร้างความเข้าใจในการพัฒนาช่องทางฯ ร่วมกันกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง 4. การประเมินเชิงคุณภาพ เพื่อแสดงความเชี่ยวชาญระดับดี โดยแสดงผลลัพธ์ของการพัฒนา (Outcome) ตามข้อกำหนดของ CCAT 5. ควรมีระบบการนิเทศติดตามสนับสนุนการปฏิบัติงาน อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะช่องทางฯที่เริ่มบูรณาการงานในรูปแบบของคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก หรือคณะทำงานพัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศ ปัญหาและอุปสรรค 1. ด้านบุคลากรปฏิบัติงานด่านควบคุมโรคฯ เช่น บุคลากรไม่เพียงพอ/ ไม่มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานประจำบางด่านฯ บุคลากรขาดประสบการณ์/ทักษะในการดำเนินงาน เป็นต้น 2. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ความไม่ชัดเจนของที่ตั้งสำนักงานของบางช่องทางฯ เช่น ด่านท่าเรือนครศรีธรรมราช ด่านท่าเรือสุราษฎร์ธานี ทำให้มีความยากในการประเมินตนเองและการหาบุคลากรเพื่อแต่งตั้งเป็นคณะทำงานประจำช่องทางฯ 3. งบประมาณไม่เพียงพอและขาดแคลนเครื่องมือสำหรับการคัดกรองผู้เดินทาง 4. กระบวนการประเมินสมรรถนะช่องทางฯ เช่น ทีมประเมินฯ ไม่ครอบคลุมทุกหน่วยงานขาดความน่าเชื่อถือ ช่องทางฯ นำเสนอผลการดำเนินงานที่ไม่ครบถ้วนชัดเจน และไม่เป็นปัจจุบัน เป็นต้น ปัญหา อุปสรรค ดังนี้ 1. ด้านบุคลากรปฏิบัติงานด่านควบคุมโรคฯ - บุคลากรไม่เพียงพอ/ ไม่มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานประจำ โดยเฉพาะด่านฯ สังกัด สสจ. เป็นการบริหารจัดการแบบหมุนเวียนของบุคลากรในพื้นที่ (สสอ. /รพ.สต.ในพื้นที่) บุคลากรจึงมีขีดจำกัดในการปฏิบัติงานและไม่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างคลอบคลุม นอกจากนี้ด่านฯ สังกัดกรมควบคุมโรคบางแห่งไม่มีเจ้าหน้าที่ประจำ ปฏิบัติงานโดยเจ้าหน้าที่ของสคร.ซึ่งมีภาระงานอย่างอื่น เช่น ท่าอากาศยานสุโขทัย ท่าอากาศยานพิษณุโลก รวมทั้งเจ้าหน้าที่ด่านฯ 1 คน รับผิดชอบด่านฯ มากกว่า 1 แห่ง ทำให้การพัฒนาช่องทางฯ ขาดความต่อเนื่องและเป็นไปด้วยความยากลำบาก และไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด - บุคลากรขาดประสบการณ์/ทักษะในการดำเนินงาน ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร ขาดขวัญและกำลังใจในการดำเนินงาน 2. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ความไม่ชัดเจนของที่ตั้งสำนักงานของบางช่องทางฯ เช่น ด่านท่าเรือนครศรีธรรมราช ด่านท่าเรือสุราษฎร์ธานี ทำให้มีความยากในการประเมินตนเองและการหาบุคลากรเพื่อแต่งตั้งเป็นคณะทำงานประจำช่องทางฯ 3. งบประมาณไม่เพียงพอและขาดแคลนเครื่องมือสำหรับการคัดกรองผู้เดินทาง 4. ด่านท่าอากาศยานอุบลราชธานี ไม่สามารถเข้าไปดำเนินงานได้ ควรพิจารณาตัดออกจากด่านเป้าหมาย * 5. กระบวนการประเมินสมรรถนะช่องทางฯ โดยทีมประเมินของสคร. ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ดังนี้ 5.1 ทีมประเมินฯ ไม่ครอบคลุมทุกหน่วยงานขาดความน่าเชื่อถือ 5.2 ทีมประเมินฯ มีจำนวนน้อย ไม่สามารถเก็บรายละเอียดในการตรวจสอบ ประเมินไม่ครอบคลุมครบถ้วน 5.3 ในการประเมิน ช่องทางฯ นำเสนอผลการดำเนินงานที่ไม่ครบถ้วนชัดเจน ไม่เป็นปัจจุบัน ทำให้ทีมประเมินฯ ต้องใช้เวลานานในการตรวจสอบ

6 แผนพัฒนาช่องทางฯ ปีงบประมาณ 2560
แผนพัฒนาช่องทางฯ ปีงบประมาณ 2560 เป้าหมาย ช่องทางเข้าออกประเทศ จำนวน 68 แห่ง ได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามแนวทางของกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ (IHR, 2005) ร้อยละ 90 ของช่องทางเข้าออกประเทศที่มีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ตัวชี้วัด ช่องทางเข้าออกประเทศ สรต สำนักงานป้องกันควบคุมโรค รวม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 จำนวนช่องทางฯ 4+2 - 9+5 68 (แห่ง) หมายเหตุ: ช่องทางหลังเครื่องหมาย +หมายถึง ช่องทางฯ ที่มีด่านควบคุมโรคฯ สังกัด สสจ.(เชียงราย ตรัง สตูล ปัตตานี นราธิวาส) มาตรการที่สำคัญ มาตรการที่ 1 พัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ เพื่อการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพระหว่างประเทศ มาตรการที่ 2 ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ และกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ (IHR,2005)

7 แผนการดำเนินงานพัฒนาช่องทางฯ ปีงบประมาณ 2560
แผนการดำเนินงานพัฒนาช่องทางฯ ปีงบประมาณ 2560 มาตรการที่ 1 พัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ เพื่อการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพระหว่างประเทศ เป้าหมาย สำนักโรคติดต่อทั่วไป พัฒนาศักยภาพบุคลากร พัฒนาระบบเฝ้าระวังของด่านควบคุมโรคที่ช่องทาง พัฒนาระบบบริหารจัดการที่ช่องทางอย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนการดำเนินงาน (ทั้งภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน) ภารกิจพื้นฐาน ช่องทางเข้าออกประเทศได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ (IHR 2005) สำนักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) ช่องทางเข้าออกประเทศ ร่วมพัฒนาสมรรถนะบุคลากรด่านฯ/เครือข่าย สนับสนุนการปรับปรุง พัฒนา คู่มือการปฏิบัติงานประจำด่านฯ สนับสนุนการพัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพของช่องทางเข้าออกประเทศ สนับสนุนการฝึกซ้อม/ถอดบทเรียนแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ ของช่องทางในพื้นที่รับผิดชอบ สนับสนุนการดำเนินงานภารกิจพื้นฐาน (เฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ/พาหะนำโรค/สุขาภิบาลยานพาหนะ/สวล. ) ประชุมคณะทำงานประจำช่องทาง/ คณะทำงานพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ ประเมินตนเอง โดยใช้ คู่มือ CCAT จัดทำแผนพัฒนาช่องทางฯ ตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ และสอดคล้องกับผลการประเมินตนเอง ดำเนินการพัมนาช่องทางฯ ตามแผนฯ ทั้งภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน (ตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ มาตรา 37 และ ตามภาคผนวก 1ข ของ IHR 2005) จนท.ด่านควบคุมโรค ปรับปรุง พัฒนาคู่มือการปฏิบัติงานด่านควบคุมโรคฯ

8 แผนการดำเนินงานพัฒนาช่องทางฯ ปีงบประมาณ 2560 (ต่อ)
แผนการดำเนินงานพัฒนาช่องทางฯ ปีงบประมาณ 2560 (ต่อ) มาตรการที่ 2 ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ และกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ (IHR,2005) สำนักโรคติดต่อทั่วไป ช่องทางเข้าออกประเทศ ชี้แจงเกณฑ์และแนวทางการประเมินฯ ติดตามและประเมินผลการพัฒนาฯ ช่องทางในความรับผิดชอบและสุ่มประเมินช่องทางฯ ในส่วนภูมิภาคโดยทีมประเมินจากส่วนกลาง วิเคราะห์จัดทำแผนพัฒนาในภาพรวม ช่องทางฯ เตรียมการรองรับและสนับสนุนการติดตามและประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางจากโดยทีมติดตามและประเมินจากส่วนกลาง และ สคร. ช่องทางฯ จัดเตรียมข้อมูลและเอกสารการปฏิบัติงานตามข้อกำหนดของCCAT เจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคฯ จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานประจำเดือนและลงข้อมูลในระบบฐานข้อมูลด่านควบคุมโรคฯ สำนักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) ชี้แจงแผนสนับสนุนการพัฒนาช่องทางฯ ในพื้นที่รับผิดชอบ ติดตามและประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางฯ 65แห่ง โดยทีมติดตามและประเมินจาก สคร. 1-2, ,8-12 วิเคราะห์จัดทำแผนพัฒนาเพื่อปิด gap

9 ตัวชี้วัดผลผลิตสำนักงบประมาณ ปีงบประมาณ 2560
ตัวชี้วัดผลผลิตสำนักงบประมาณ ปีงบประมาณ 2560 ช่องทางเข้าออกประเทศ 68 แห่ง SDA 0617 SDA0619_1 (เชิงคุณภาพ) นอกพื้นที่เขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ จำนวน 42 แห่ง PSA04_1 SDA1135_1 SDA 1133 ในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (SZE) (10 จังหวัด) จำนวน 26 แห่ง ร้อยละของช่องทางฯ ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด (ร้อยละ 90) (PSA04_1) จำนวนช่องทางฯ ได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศพ.ศ.2548 (SDA 0617 และ SDA 1133) เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการเสริมสร้างความสามารถในการดำเนินงานช่องทางฯ (SDA0619_1 และ SDA1135_1)

10 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด : (3 - 5 ปี) ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ
ร้อยละของช่องทางฯ ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษผ่านเกณฑ์ การประเมินที่กำหนด (ร้อยละ 90) (ตัวชี้วัด : PSA04_1) ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด : (3 - 5 ปี) POE เป้าหมาย POE 26 แห่ง ในเขตSEZ ตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2556 2557 2558 2559 จำนวนด่านช่องทางฯ ที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด แห่ง (ร้อยละ) เป้าหมาย 17 (94.4) 18 46 (90.2) 51 52 (77.6) 67 54 (80.6) ผ่านเกณฑ์การประเมิน > 50 % ของ CCAT & กระบวนการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ เป้าหมาย ปี 2560 เกณฑ์ที่กำหนดในการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ 1.มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานประจำด่านควบคุมโรคฯ 2.จัดทำร่างคำสั่งหรือคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก ตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ หรือคณะทำงานพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ 3.ประชุมคณะทำงานฯ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 4.ช่องทางฯ ประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศด้วยตนเอง (Self assessment) โดยใช้ CCAT 5.ช่องทางฯ จัดทำแผนพัฒนาช่องทางเข้าออกของตนเอง 6.สคร. จัดทำแผนติดตามและประเมินการพัฒนาฯ ช่องทางฯ(Internal audit) โดยใช้ CCAT วิเคราะห์ สรุปผลการประเมิน และรายงานผลการดำเนินงาน ไปยัง สำนักโรคติดต่อทั่วไป ร้อยละ 90 (23 แห่ง จาก 26 แห่ง) ในเขต SEZ KPI : PSA04_1 แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล จัดทำแผนสนับสนุนการพัฒนาช่องทางฯ ประเมิน Internal audit (CCAT) วิเคราะห์ผล & เสนอปัญหาและข้อเสนอแนะต่อผู้บริหาร แจ้งผลการประเมินให้สำนักโรคติดต่อทั่วไป(รายงาน SAR ในระบบ Estimates รอบ 6, 9 และ 12 เดือน ) สคร. 1-2, 5-6, 8-12 สำนักโรคติดต่อทั่วไป รวบรวมข้อมูล จัดทำสรุปผลการดำเนินงานภาพรวม & รายงาน SAR ในระบบ Estimates

11 จำนวนช่องทางฯ ได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศพ. ศ
จำนวนช่องทางฯ ได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศพ.ศ.2548 (68 แห่ง) (ตัวชี้วัด : SDA0617 และ SDA 1133) POE 68 แห่ง ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ลงราชกิจจานุเบกษา 133 ตอนพิเศษ 128 ง ลว 3 มิ.ย.59 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด POE เป้าหมาย ตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2556 2557 2558 2559 จำนวนด่านช่องทางเข้าออกประเทศ*ได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 จำนวน เป้าหมาย - 51* 51 51  54 67 POE ที่ได้รับการพัฒนาตาม IHR 2005 ช่องทางฯ มีการดำเนินงานในการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ ครบทั้ง 3 ประเด็น เป้าหมาย ปี 2560 (42 แห่ง) นอกเขต SEZ KPI : SDA0617 (26 แห่ง) ในเขต SEZ KPI : SDA1133 เป้าหมาย การดำเนินงานในการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ 1.คณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก จัดทำแผนปฏิบัติการในการพัฒนาช่องทางฯ ของตนเอง 2.เจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคฯ ได้รับการอบรมพัฒนาความรู้ ทักษะ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ การควบคุมพาหะนำโรค และการดำเนินงานด้านสุขาภิบาล (ยานพาหนะ/สิ่งแวดล้อม) 3. ช่องทางฯ จัดทำสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลของโปรแกรมอย่างน้อย 1 เรื่อง ได้แก่ 1) การตรวจตราควบคุมกำกับด้านสิ่งแวดล้อมภายในช่องทาง (น้ำ อาหาร ขยะ น้ำเสีย อากาศ ฯลฯ) 2) การควบคุมพาหะนำโรค 3) การเฝ้าระวังโรคหรือภัยสุขภาพภายในช่องทางฯ 4) การตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะ แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล - รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามโครงการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ ในระบบ Estimates SM - สรุปผลตามแบบรายงาน SAR ในระบบ Estimates SM ภายในวันที่ 25 ของเดือนสิ้นไตรมาส สคร. 1-2, 5-6, 8-12 - รวบรวมข้อมูลจากแบบรายงาน SAR ของหน่วยงาน - จัดทำสรุปผลการดำเนินงานภาพรวมโดยรายงาน SAR ในระบบ Estimates SM ในหน่วยงานชื่อ “ภาพรวมกรม” ภายในวันที่ 30 ของเดือนสิ้นไตรมาส สำนักโรคติดต่อทั่วไป

12 เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการเสริมสร้างความสามารถ ในการดำเนินงานช่องทางเข้าออกประเทศ (ร้อยละ 75) (ตัวชี้วัด : SDA0619_1และ SDA 1135_1) POE 68 แห่ง ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ลงราชกิจจานุเบกษา 133 ตอนพิเศษ 128 ง ลว 3 มิ.ย.59 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด POE เป้าหมาย ตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2557 2558 2559 เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการเสริมสร้างความสามารถในการดำเนินงานด่านช่องทางเข้าออกประเทศ ร้อยละ 95.0 86.7 80.89 เครือข่าย POE ที่มีความพึงพอใจ ผลการประเมินความพึงพอใจ ที่มีค่าคะแนนระดับมาก คือ มากกว่า หรือเท่ากับร้อยละ 80 ของคะแนนเต็มทั้งหมด เป้าหมาย ปี 2560 (ร้อยละ 75) สคร. เลือกประเมิน 1 แห่ง นอกเขต SEZ KPI : SDA0619_1 (ร้อยละ 75) สคร. เลือกประเมิน จังหวัดละ 1 แห่ง ซึ่งไม่ซ้ำกับนอกเขต ในเขต SEZ KPI : SDA1135_1 เป้าหมาย การวิเคราะห์/แปลผล ความพึงพอใจ วัดเป็น Rating scale 5 ของเครือข่ายที่มีความพึงพอใจต่อการการเสริมสร้างความสามารถในการดำเนินงานช่องทางเข้าออกประเทศ แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์/แปลผล ตามเกณฑ์ตัวชี้วัด สูตรการคำนวณ จำนวนเครือข่ายที่มีความพึงพอใจฯ x 100 จำนวนเครือข่ายที่ตอบแบบประเมินทั้งหมด สำรวจความพึงพอใจ โดยใช้แบบประเมินฯ ตามแบบประเมินกลาง โดยสุ่มเก็บข้อมูลจากเครือข่ายหรือผู้รับบริการของช่องทางฯ ปีละ 1 ครั้ง ในช่วงเวลาที่เหมาะสมกับการดำเนินงาน จัดทำรายงานและแจ้งผลการประเมินฯ ให้สำนักโรคติดต่อทั่วไป จัดทำแบบรายงาน SAR ในระบบ Estimates สคร. 1-2, 5-6, 8-12 สำนักโรคติดต่อทั่วไป - รวบรวมข้อมูล และจัดทำแบบรายงาน SAR ในระบบ Estimates SM ใน“ภาพรวมกรม”

13 แผนผังกิจกรรมการพัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศ ปีงบประเทศ 2560
ที่ กิจกรรมหลัก ผู้ดำเนินการ แผนการดำเนินงาน เอกสารประกอบ ต.ค. 59 พ.ย. 59 ธ.ค. ม.ค. 60 ก.พ. มี.ค. เม.ย.60 พ.ค. มิ.ย.60 ก.ค.60 ส.ค. ก.ย.60 1 ประสานและชี้แจงเป้าหมาย/ตัวชี้วัด/มาตรการในการดำเนินงานและแนวทางการประเมินการพัฒนาสมรรถนะช่องทาง เข้าออกประเทศ ตป. 9-10 รายงานการประชุมชี้แจง 2 ช่องทางเข้าออกประเทศประเมินตนเอง (Self assessment) โดยใช้คู่มือประเมินตนเอง CCAT ช่องทางฯ ด่านฯ 26 แห่ง ด่านฯ 42แห่ง สคร.รวบรวมผล self assessment มายังสำนัก ต. 3 -ประชุมคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก/คณะทำงานพัฒนาช่องทางฯ -จัดทำแผนพัฒนาช่องทางฯที่สอดคล้องกับผลประเมิน ช่องทางฯ (สคร. สนับสนุน) ด่านฯ 68 แห่ง สคร.รวบรวมแผนพัฒนาช่องทางฯ ปี 2560 4 สคร.สนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศ (ด้านวิชาการ วัสดุอุปกรณ์ การเตรียมความพร้อมตอบโต้ฯ) สคร. ผลการดำเนินงานพัฒนาช่องทางฯ (68 แห่ง) สคร. รายงานผลการดำเนินงานฯ เช่น ผลการดำเนินโครงการพัฒนาช่องทางฯ รายงานผลการประชุมคณะทำงานประจำช่องทางฯ ผลการฝึกซ้อม/ปรับปรุงแผนตอบโต้ฯ ของช่องทางในสังกัด เป็นต้น รายงาน มายังสำนักต. เพื่อสรุปภาพรวม 5 ส่วนกลางจัดอบรมจนท.ด่าน 3 ครั้ง รายงานผลการจัดอบรม 6 ส่วนกลางแต่งตั้งทีมติดตามฯ และลงพื้นที่ติตดามและสนับสนุน ทีมติดตามและแผน/ผลการติดตามฯ 7 ติดตามและประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ ของช่องทางฯ ที่รับผิดชอบ (Internal audit) โดยใช้คู่มือ CCAT - ผล Internal audit (68 แห่ง) - แผนพัฒนาช่องทางปี 2561 8 วิเคราะห์และสรุปผลการประเมินช่องทางเข้าออกประเทศพร้อมข้อเสนอแนะให้แก่ผู้บริหาร สคร.รวบรวมส่งผลการประเมินมายังสำนักต. (68 แห่ง) 9 สัมมนาวิชาการด่านควบคุมโรค ผลการดำเนินงาน 10 สรุปผลการประเมินช่องทางฯ ในภาพรวม รายงานในระบบ estimates ผลการประเมินช่องทางฯ ในภาพรวมทั้งประเทศ

14 แผนงานโครงการเสนอของบประมาณประจำปี 2561 ในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ปี 2561
ในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ปี 2561 กิจกรรมสำคัญ ผลผลิตโครงการ งบประมาณ (บาท) หมายเหตุ กิจกรรมที่ 1. ประชุมคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก ประชุมคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก 26 แห่ง ในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 1,040,000 งบสำหรับสคร. กิจกรรมที่ 2 อบรมบุคลากรที่ปฏิบัติงานช่องทางฯ บุคลากรปฏิบัติงานช่องทางเข้าออกประเทศได้รับการอบรมจำนวน 26 แห่ง 3,900,000 กิจกรรมที่ 3 อบรมเจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคฯ 3 หลักสูตร อบรมเจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ จำนวน 150 ราย 2,800,000 งบดำเนินการของส่วนกลาง กิจกรรมที่ 4 สนับสนุนการดำเนินงานด่านควบคุมโรคฯ (เช่นเฝ้าระวังผู้เดินทางระหว่างประเทศ สุขาภิบาลยานพาหนะ และสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เฝ้าระวังพาหะนำโรคที่ช่องทางฯ เป็นต้น) ด่านควบคุมโรคฯในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษได้รับการสนับสนุนการปฏิบัติงาน 26 แห่ง 5,240,000 ส่วนกลาง 800,000.-บาท สคร. 4,440,000.-บาท กิจกรรมที่ 5 ปรับปรุงคู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานด่านควบคุมโรคฯ ที่สอดคล้องกับ พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ และพัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพของแผนการดำเนินงานควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ ได้คู่มือปฏิบัติงานประจำด่านควบคุมโรคฯ 26 แห่ง 2,940,000 ส่วนกลาง 500,000.-บาท สคร. 2,440,000.-บาท กิจกรรมที่ 6 ติดตาม และประเมินการดำเนินงานพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ ตาม IHR 2005 ผลการประเมินการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ และแผนพัฒนาฯในปีถัดไปจำนวน 26 แห่ง 3,160,000 ส่วนกลาง 2,250,000.-บาท สคร. 910,000.-บาท รวม 19,080,000 งบส่วนกลาง 6,350,000.- บาท งบสำหรับ สคร.12,730,000.- บาท

15 เป้าหมายการพัฒนาช่องทางฯ ตาม IHR2005
ระยะ 5 ปี (พ.ศ ) เป้าหมาย หน่วย งาน กิจกรรม ค่าเป้าหมาย 2560 2561 2562 2563 2564 -ร้อยละของช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศที่มีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด คู่มือประเมิน: CCAT เป้าหมาย: ช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศทั่วประเทศ 68 แห่ง แบ่งเป็น - นอกเขตเศรษฐกิจพิเศษ 42 แห่ง - ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ 26 แห่ง *ค่าเป้าหมายอาจมีการปรับเปลี่ยนขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐบาล สรต. -พัฒนา/เพิ่มขีดความสามารถจนท. /เครือข่าย (อบรม/ประชุม/สัมมนา) - สนับสนุนการดำเนินงาน - ภารกิจพื้นฐาน(เฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ/พาหะนำโรค/สุขาภิบาลยานพาหนะ/สวล. ) -ติดตามและประเมินผล ร้อยละ 90 ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ (61 แห่ง) 68แห่ง ร้อยละ100 (68แห่ง) เป้าหมาย68แห่ง 30 เกณฑ์ระดับปานกลาง (20แห่ง) ร้อยละ50เกณฑ์ระดับปาน กลาง (34แห่ง) ร้อยละ70เกณฑ์ระดับปานกลาง เป้าหมาย (48แห่ง) สคร. 1-2, 5-6, 8-12 สสจ.เชียงราย, ตรัง, สตูล, ปัตตานี, นราธิวาส

16 รายละเอียดระดับการพัฒนาฯ
ระดับพื้นฐาน - มีเจ้าหน้าที่ประจำด่านควบคุมโรคฯ - จัดทำร่างคำสั่งหรือคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก ตามพ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 - ประชุมคณะทำงานฯ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง - ช่องทางฯ Self assessment โดยใช้ Core Capacities Assessment Tool: CCAT - ช่องทางฯ จัดทำแผนพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ - สคร. จัดทำแผนติดตามและประเมินการพัฒนาฯ (Internal audit) เสนอผู้บริหาร

17 ระดับปานกลาง สำนักงานป้องกันควบคุมโรค มีแผนสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศในความรับผิดชอบ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคสนับสนุนด้านวิชาการ เช่น จัดอบรม/สัมมนา/ประชุมวิชาการ หรือส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมอบรมที่ส่วนกลาง สำนักงานป้องกันควบคุมโรค สนับสนุนการจัดทำ/ฝึกซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ ของช่องทางเข้าออกประเทศ สนับสนุนด้านวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นในการปฏิบัติงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ สำนักงานป้องกันควบคุมโรค มีผลการประเมินช่องทางเข้าออกประเทศ โดยใช้เครื่องมือขององค์การอนามัยโลก Joint external evaluation tool: International Health Regulations (2005) (JEE: IHR) - ตัวชี้วัดภาวะปกติ ระดับที่ 1,4,5 ดำเนินการทุกช่องทาง และระดับ 2,3 ช่องทางที่กำหนดต้องดำเนินการ - ตัวชี้วัดฉุกเฉิน ประเมินเฉพาะระดับที่ 1 ตามเครื่องมือโครงสร้างของแผนฉุกเฉินที่กำหนด (International Health regulations(2005) A guide for public health emergency contingency planning at designated points of entry)

18 มีผลงานวิชาการเผยแพร่ในระดับประเทศหรือต่างประเทศ
ระดับดี มีการบูรณาการซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง สำรวจความพึงพอใจของเครือข่ายฯ ที่มีต่อการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ระดับอ้างอิง มีผลงานวิชาการเผยแพร่ในระดับประเทศหรือต่างประเทศ มีการประเมินประสิทธิภาพของการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ณ ช่องทางเข้าออกประเทศ ตลอดจนพิมพ์เผยแพร่ หรือมีการฝึกซ้อมแผนตอบโต้ฯ ร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน

19


ดาวน์โหลด ppt ถ่ายทอดเกณฑ์ และแนวทางการประเมิน การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google