งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
จังหวัดตราด

2 โครงสร้างพื้นฐานทางการค้าและการลงทุน
ตัวแบบการจัดทำข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ Generic Value Chain การค้า การส่งออกและการลงทุน 5 โครงสร้างพื้นฐานทางการค้าและการลงทุน การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ พัฒนาความพร้อมและ สร้างขีดความสามารถ ของผู้ประกอบการ การบริหาร จัดการสินค้า (Logistics) พัฒนาด้าน การตลาดและ ช่องทางการ จัดจำหน่าย พัฒนาฐานข้อมูลการผลิตและการบริโภค พัฒนาฐานข้อมูลตลาดและปริมาณการส่งออก (Trade & Market Intelligence) เงินลงทุนและการเข้าถึงแหล่งเงินทุน อัตราการแลกเปลี่ยนเงิน การทำประกันภัย กฎระเบียบข้อบังคับการส่งออก การพัฒนาระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) การพัฒนาระบบการ สรรหาและสั่งซื้อสินค้าจากผู้ผลิต (Sourcing System) การใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีจากข้อตกลงต่างๆ การพัฒนาขีดความสามารถของผู้ประกอบการ การเพิ่มศักยภาพในการดำเนินธุรกิจ การยกระดับความพร้อมด้านเทคโนโลยี (Technology Readiness) การส่งเสริม พัฒนาการรวมกลุ่มผู้ประกอบการค้า สร้างและขยายเครือข่ายการค้า การลงทุนทั้งในและต่างประเทศ การจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า การพัฒนาประสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่งและกระจายสินค้า อัตราการสูญเสียระหว่างขนส่ง การลดต้นทุนในการบริหารจัดการและเก็บรักษาสินค้าคงคลัง การจัดการงานด้านศุลกากร (ส่งออก/นำเข้า) การพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่าย การจัดกิจกรรมส่งเสริม การขาย การโฆษณาและประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ

3 ตัวแบบการจัดทำข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ
Value Chain การค้าชายแดน STEP 1

4 ตาราง สถิติการค้าชายแดน ปี 2552 - 2557
2553 2554 2555 2556 2557  ประเภท มูลค่าการค้า ชายแดน (ล้าน บาท) 16, 19, 20, 24,557.7 26, 28, ปริมาณการส่ง สินค้า (ตัน) 150, 616,770 .3 530, 751, 723, จำนวนแรงงานที่ ได้รับการพัฒนา (ราย) 1,865 1,445 1,882 3,113 3,396 2,548

5 กราฟ สถิติการค้าชายแดน ปี 2552 - 2557
กราฟ สถิติการค้าชายแดน ปี ที่มา : ด่านศุลกากรจังหวัดตราด

6 โครงการที่นำเสนอ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพด่านศุลกากรคลองใหญ่รองรับ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาด่านศุลกากรคลองใหญ่ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมาก ขึ้น เป้าหมาย 1. ด่านศุลกากรคลองใหญ่มีประสิทธิภาพในการนำเข้า-ส่งออก กิจกรรม หรือ แนวทางโครงการ 1. พัฒนาด่านศุลกากรคลองใหญ่ให้เป็นระบบ C.I.Q 2. ขยายถนนบริเวณหน้าด่านพรมแดนบ้านหาดเล็กให้มี สามารถแยกการขนส่งระหว่างการขนส่งสินค้า (รถ) และการ สัญจรข้ามแดน (คน)

7 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตราด ได้แก่ อำเภอคลองใหญ่ ประกอบด้วยพื้นที่ 3 ตำบล ดังนี้
1. ตำบลคลองใหญ่ อำเภอคลองใหญ่ 2. ตำบลไม้รูด อำเภอคลองใหญ่ 3. ตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ โอกาสและศักยภาพ ขยายการค้าไทย – กัมพูชา – เวียดนาม และ ภูมิภาคอินโดจีน ใกล้ท่าเรือสีหนุวิลล์ และท่าเรือแหลมฉบัง และ สามารถเชื่อมโยงไปยังสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (ตอนใต้) ขยายการท่องเที่ยวในพื้นที่และการท่องเที่ยวเชื่อมโยง

8 จากศักยภาพและโอกาส ดังกล่าว จังหวัดตราด จึง ได้กำหนดบทบาทและจุดยืนในการพัฒนา (Positioning) ในการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตราด ดังนี้ พัฒนาเป็นศูนย์กลางการค้าส่ง และขนส่งต่อเนื่อง ระหว่างประเทศและการเป็นศูนย์กลางให้บริการการ ท่องเที่ยวในระดับภูมิภาค โดยมีแนวทางในการพัฒนา 3 ประการ ได้แก่ 1. การเป็นศูนย์สนับสนุนและให้บริการการนำเข้า- ส่งออก (Support service in Import/Export) 2. การเป็นศูนย์รวมในการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ทั้งระบบการขนส่งทางบก ทาง น้ำและ ทางอากาศ (Logistic Center) 3. การเป็นศูนย์กลางให้บริการการท่องเที่ยวใน ระดับภูมิภาค (Tourism Hub)

9 การเตรียมความพร้อมในการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตราด ในระยะต่อไป
การวางผังเมือง การเตรียมพื้นที่ การบริหารจัดการท่าเทียบเรืออเนกประสงค์คลองใหญ่ การปรับปรุงภูมิทัศน์เส้นทางไปอำเภอคลองใหญ่ การจัดตั้งศูนย์บริการเบ็ดเสร็จด้านการค้า การลงทุน การพิจารณานำเข้า-ส่งออก สินค้าการเกษตร การเตรียมความพร้อมในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ต่างๆ การเปิดเส้นทางการคมนาคมขนส่งทางน้ำเชื่อมโยงไทย- กัมพูชา-เวียดนาม ฯลฯ


ดาวน์โหลด ppt การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google