กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
ร้อยละของอำเภอทีมี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิ กับ ชุมชนและท้องถิ่น อย่างมีคุณภาพ ( ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์พิทยา ไพบูลย์ศิริ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
โรคไข้เลือดออกเขต 12.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ เขตสุขภาพที่ 10
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับกลุ่มบริการ (คพสก.)
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี การพัฒนาคุณภาพ คปสอ./รพ.สต. (คปสอ./รพ.สต.ติดดาว) เพื่อเข้าสู่ระดับเขต ปี ๒๕๕๙ ภ กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

พันธกิจของผู้บริหารหน่วยงานสาธารณสุข 1 จังหวัด 20 อำเภอ 156 ตำบล 1,880 หมู่บ้าน 467,613 ครัวเรือน ประชาชน 1,559,859 คน สสจ. จัดการ คปสอ. ระดับการจัดการ Goal รพ.สต. นสค. Goal Setting สสจ.อุดรธานี ประเด็นยุทธศาสตร์เขตสุขภาพที่8 ปัญหาสุขภาพพื้นที่

ผลการดำเนินงาน ปี 2557 – 2558 (ระดับเขต) ลำดับ อำเภอ หน่วยปฐมภูมิ หน่วยปฐมภูมิที่ผ่านการรับรอง 5 ดาว ระดับเขต ปีที่ได้รับรอง คปสอ. 5 ดาว ทั้งหมด 2557 2558 รวม ร้อยละ 1 เมือง 38 7 10 17 44.74 2 เพ็ญ 15 4 8 53.33  ยังไม่ได้รับรอง 3 หนองวัวซอ 12 66.67 สร้างคอม 6   50.00 ยังไม่ได้รับรอง  5 กุมภวาปี 19 63.16 ประจักษ์ 20.00 ศรีธาตุ 13 0.00  3 ดาว วังสามหมอ 11 9.09   ยังไม่ได้รับรอง 9 โนนสะอาด    ยังไม่ได้รับรอง หนองแสง

ผลการดำเนินงาน ปี 2557 – 2558 (ระดับเขต) ลำดับ อำเภอ หน่วยปฐมภูมิ หน่วยปฐมภูมิที่ผ่านการรับรอง 5 ดาว ระดับเขต ปีที่ได้รับรอง คปสอ. 5 ดาว ทั้งหมด 2557 2558 รวม ร้อยละ 11 หนองหาน 15 2 7 9 60.00 12 กู่แก้ว 6 1   16.67   ยังไม่ได้รับรอง 13 บ้านดุง 16 12.50 4 ดาว  14 ทุ่งฝน 0.00  ยังไม่ได้รับรอง ไชยวาน 5 40.00 พิบูลย์รักษ์ 17 บ้านผือ 21 4 42.86 18 น้ำโสม 10 50.00 19 นายูง 20 กุดจับ 41.67 241 30 57 87 36.10 45.00

เป้าประสงค์ เพื่อพัฒนา คปสอ.และรพ.สต. ให้มีคุณภาพตามเกณฑ์การจัดการสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการสุขภาพในระดับอำเภอ เชื่อมโยงถึงระดับตำบล หมู่บ้าน ครัวเรือนและประชาชน เพื่อสนับสนุนความสำเร็จเชิงประจักษ์ของงานนโยบาย และประเด็นปัญหาของพื้นที่

การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เป้าหมาย 1. สถานการณ์ 2. ตัวชี้วัด เป้าหมาย จังหวัดอุดรธานี มี คปสอ.ที่ผ่านการรับรอง คปสอ.ระดับ 5 ดาว จำนวน 9 อำเภอจากทั้งหมด 20 อำเภอ (ร้อยละ 45) และมีรพ.สต.ผ่านการรับรองระดับ 5 ดาวจำนวน 87 แห่ง จาก 241 แห่ง (ร้อยละ 36.10) ซึ่งในส่วนของDHS ผ่านเกณฑ์คุณภาพ (ระดับ 3 ขึ้นไป) ทุกอำเภอ : ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชน และท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ มีคณะกรรมการพัฒนาระบบสุขอำเภอซึ่งประกอบด้วยทุกภาคส่วนทั้งสาธารณสุข , หน่วยราชการอื่น , อปท.,อสม., ภาคีเครือข่ายสุขภาพ และอื่นๆ เครือข่ายสุขภาพอำเภอมีการพัฒนา ODOP อย่างน้อย 3 เรื่อง โดยเน้นประเด็นสุขภาพตามบริบทของพื้นที่ , งานนโยบายกระทรวง/จังหวัด หรือตามเป้าหมายการดำเนินงานทีมหมอครอบครัวภายใต้แนวทางการพัฒนาของ DHS-PCA มีการติดตามประเมินผลโดยทีมภายในคือ คณะกรรมการระดับจังหวัด และทีมภายนอก คือ คณะกรรมการระดับเขต/กระทรวง (เยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA) มาตรการ Quick win 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน - แต่งตั้งกรรมการ DHS ระดับจังหวัด/อำเภอ - พัฒนาเกณฑ์ร่วมกับเขต - พัฒนาทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด/อำเภอ - ทุกอำเภอมีการพัฒนาตามเกณฑ์ และพัฒนา ODOP - ทุกอำเภอประเมินตนเองส่งจังหวัด - เยี่ยมเสริมพลังโดยทีมตรวจราชการ - ติดตามประเมินผลโดยคณะกรรมการระดับจังหวัด - ส่งผลการประเมินระดับจังหวัดให้เขต - ติดตามประเมินผลโดยคณะกรรมการระดับเขต - จ้ดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนการดำเนินงาน - ร่วมนำเสนอ Best practice , ผลงานเด่น , นวัตกรรม ในเวที ระดับจังหวัด/เขต

Goal Setting ปี 2559 - อัตราการตายจากอุบัติเหตุ ลดลง 30% 1. Fast Track trauma - อัตราการตายจากอุบัติเหตุ ลดลง 30% 2. กลุ่มแม่และเด็ก - MMR =0 - Severe Birth Asphyxia(Apgar 0-3) ลดลง 50 % - PMR จาก BA ลดลง 50 % 3. Sepsis - อัตราตายจาก Sepsis ลดลง 20 % - อัตราการเกิด Severe sepsis/Septic shock ลดลง 50 %

5. NCD ลดภาวะแทรกซ้อนจาก DM&HT 4. Food Safety - อัตราป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษ ลดลง 50 % - อัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง ลดลง 20 % 5. NCD ลดภาวะแทรกซ้อนจาก DM&HT - ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ ลดลง 20 % - CKD Stage 4-5 ลดลง 50% - อัตราการตัดขา ตัดเท้า ลดลง 50 % 6. มะเร็ง - มะเร็งท่อน้ำดี อัตราป่วยรายใหม่ลดลง 30 % - มะเร็งปากมดลูก อัตราป่วยใหม่ ลดลง 50 % - มะเร็งเต้านม อัตราป่วยรายใหม่ลดลง 50 % 7. ผู้สูงอายุ - ผู้สูงอายุติดบ้าน(กลุ่ม 2) ไม่เกิน 10% - ผู้สูงอายุติดเตียง (กลุ่ม 3) ไม่เกิน 1%

8. SRRT ทีม SRRTทุกระดับสามารถป้องกัน ควบคุมโรคได้ตามเกณฑ์มาตรฐานอย่างมีประสิทธิภาพ ระดับอำเภอ ร้อยละ100 9. ระบบข้อมูลสารสนเทศ - ข้อมูลมีความทันเวลา ร้อยละ 100 - ข้อมูลมีความถูกต้อง ร้อยละ 98 - ข้อมูลมีความครบถ้วน ร้อยละ 100 10. งานสุขภาพจิต - อัตราการฆ่าตัวตาย ไม่เกิน 2.04 ต่อแสน ปชก.

11. งาน Service Plan - จำนวน Refer back ผู้ป่วยในจาก รพศ.กลับ รพช. ใกล้บ้าน เพิ่มขึ้นร้อยละ 50 (3,000 ราย) 12. ไข้เลือดออก - ข้อมูลมีความทันเวลา ร้อยละ 100 - ข้อมูลมีความถูกต้อง ร้อยละ 98 - ข้อมูลมีความครบถ้วน ร้อยละ 100 13. ระบบบริการปฐมภูมิ - ร้อยละของตำบลเป้าหมายที่มีการจัดการด้านสุขภาพแบบบูรณาการตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 70

เป้าหมาย ปี 2559 (ระดับเขต) ตัวชี้วัด เป้าหมาย แหล่งข้อมูล 1.ร้อยละ คปสอ.ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ 5 ดาว ร้อยละ 70 (14/20แห่ง) -การประเมินโดยทีมจังหวัด -ระบบรายงาน 2.ร้อยละ รพ.สต.ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ 5 ดาว >ร้อยละ 70 (169/241แห่ง)

เป้าหมายการดำเนินงาน ปี 2559 ระดับเขต เป้าหมาย คปสอ. 5 ดาว ระดับเขต ร้อยละ 70 จำนวน 14 คปสอ. ปี 2558 ปี 2559 จำนวน 8 แห่ง 6 แห่ง คปสอ.ประเมินซ้ำ 3 แห่ง คปสอ.ที่ไม่เคยรับประเมิน คปสอ.ผ่านประเมินระดับ 4 ดาว เมือง หนองหาน ไชยวาน น้ำโสม นายูง กุดจับ บ้านผือ กุมภวาปี หนองวัวซอ โนนสะอาด หนองแสง เพ็ญ วังสามหมอ พิบูลย์รักษ์ ประจักษ์ฯ กู่แก้ว สร้างคอม ทุ่งฝน บ้านดุง (ศรีธาตุ 3 ดาว)

กระบวนการประเมินคุณภาพ คปสอ./รพ.สต. ทุกแห่งพัฒนาคุณภาพ ทีมพัฒนาคุณภาพอำเภอ/เครือข่าย ประเมินตนเอง ทีมประเมินอำเภอ ประเมินโดยทีมภายนอก ทีมประเมินจังหวัด/เขต

แผนการดำเนินงาน ปี 2559 ผู้บริหารจังหวัด/อำเภอ แต่งตั้งกรรมการ/คณะทำงาน ธันวาคม 2558 ผู้บริหารจังหวัด/อำเภอ มกราคม 2559 ประชุมทีมพี่เลี้ยงจังหวัด/อำเภอ มกราคม 2559 มกราคม 2559 การประเมินตนเอง กุมภาพันธ์-มีนาคม 2559 ประเมินโดยทีมจังหวัด การประเมินรับรองระดับเขต เมษายน-พฤษภาคม 2559 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มิถุนายน 2559 นำเสนอ Best Practice จังหวัด/เขต กรกฎาคม-สิงหาคม 2559