งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ เขตสุขภาพที่ 10

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ เขตสุขภาพที่ 10"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ เขตสุขภาพที่ 10
คณะที่ 2 การพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ เขตสุขภาพที่ 10

2 Context เป้าหมายผลลัพธ์ เป้าหมายบริการ ระบบสุขภาพระดับอำเภอ (DHS)
การบูรณาการงานร่วมกันของโรงพยาบาล,สสอ.รพสต.,ชุมชน ท้องถิ่นในการดำเนินการบริหารจัดการปัญหาสุขภาพตามบริบท เป้าหมาย เพื่อประชาชนและชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้และไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีเครือข่ายบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพและได้รับความไว้วางใจมาตรฐาน รูปแบบ การจัดการปัญหาสุขภาพตามบริบทของพื้นที่ตามแนวทาง DHS - PCA , UCCARE (six building blocks) มาตรการการดำเนินการ ปี 2559 ตาม System approach การนิเทศงานผ่านตัวชี้วัด DHS-PCA appreciation , HA Forum , Service plan และการ ดำเนินการบูรณาการ 5 กลุ่มวัย ตาม Issue approach ปัญหาตามบริบทพื้นที่ (ODOP) 3 เรื่อง , การค้นหาปัญหาตาม Essential care นโยบายที่สำคัญ อุบัติเหตุ , การดูแลผู้ป่วยระยะยาว (LTC) , กลุ่มโรคไตเรื้อรัง (CKD) การดูแลกลุ่มที่มีภาวะพึ่งพิง (ผู้สูงอายุ , ผู้พิการ , Palliative Care , เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการล่าช้า) ดดยทีมหมอครอบครัว เป้าหมายผลลัพธ์ เป้าหมายบริการ การพัฒนาตามองค์ประกอบ UCCARE และยกระดับขึ้นหนึ่งระดับทุกข้อ หรือระดับ3ขึ้นไปทุกข้อ ตามแนวทาง DHS –PCA การพัฒนาตามนโยบาย 3 เรื่อง 1) มีการกำหนดจุดเสี่ยง 1 จุด ต่อ 1 อำเภอเพื่อแก้ไขปัญหา อุบัติเหตุ 2) มี CKD คลินิก เพื่อคัดกรองและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะโรค ไตเสื่อม 3) กลุ่มผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง (ผู้สูงอายุติดบ้าน-ติดเตียง,ผู้พิการ ,Palliative care,เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า) ได้รับการดูแล โดยทีมหมอครอบครัวอย่างน้อย 60% ปัญหาตามบริบทพื้นที่ (ODOP) 3 เรื่อง นโยบายสำคัญ (accident, LTC, CKD) การดูแลกลุ่มผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง (ผู้สูงอายุ, ผู้พิการ, Palliative Care, เด็ก 0-5 ปีพัฒนาการล่าช้า) โดยทีมหมอครอบครัว

3 - ประชุมภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนงาน DHS
Input Man - ประชุมภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนงาน DHS - อบรมทีมสนับสนุน ครู ก, ครู ข - อบรม/ประชุมทีมบริการ CM, CG, อสม.รักษ์ไต - DHML/DHB - ศูนย์ดูแลต่อเนื่อง COC - การเยี่ยมบ้านคุณภาพ INHOMESSS Money - งบ PP - งบกองทุนสุขภาพตำบล - งบประมาณเขตสุขภาพที่ 10 - งบประมาณ NGO, สสส. Material - โปรแกรมเยี่ยมบ้าน

4 Process จัดทำแผนปฏิบัติการระดับอำเภอ Single Plan
ใช้ DHS แก้ไขปัญหาตามบริบทของพื้นที่ (ODOP ตาม Essential care 3 เรื่อง และ ODOP ตามนโยบายสำคัญ 3 เรื่อง) พัฒนาทักษะทีมตรวจประเมิน และเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA พัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง (Continuity of care : COC) เพื่อเชื่อมโยงการดำเนินงาน กับ Service plan และการดูแลกลุ่มที่มีภาวะพึ่งพิงโดยทีมหมอครอบครัว การเยี่ยมบ้านคุณภาพโดยใช้ INHOMESSS ฉบับ จนท. และ อสม. เวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน DHS/FCT/COC/DHML หมู่บ้านจัดการสุขภาพ และตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ สมัชชาสุขภาพเปิดโอกาสให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วม

5 Product มีแผนปฏิบัติการที่เกิดจาก การร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมเรียนรู้
มีผลการประเมินตนเอง UCARE-C โดยคณะกรรมการ และภาคีเครือข่าย มีการดูแลสุขภาพตามกลุ่มภาวะพึ่งพิง โดยทีม FCT มีการพัฒนา CM , CG สนับสนุนการดำเนินงานพื้นที่เป้าหมาย LTC รพ. มีการจัดตั้งศูนย์ดูแลต่อเนื่อง (Continuity of care : COC) ระดับอำเภอ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน FCT ระดับตำบล อำเภอ จังหวัด ทุก รพ. มีการจัดระบบดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง CKD Clinic มีการกำหนดและแก้ไขจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย อำเภอละ 5 จุด

6 Impact มีการบูรณาการงานร่วมกันของโรงพยาบาล,สสอ. รพ.สต., ชุมชน และท้องถิ่น ในการดำเนินการบริหารจัดการปัญหาสุขภาพตามบริบท ประชาชนและชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้และไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีเครือข่ายบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ และได้รับความไว้วางใจในมาตรฐาน

7 ข้อค้นพบ CM, CG ลงทุนสูง ยังไม่มีผลลัพธ์ที่ชัดเจน
LTC มีกระบวนการทำงานยุ่งยาก ซับซ้อน ไม่สามารถเบิกจ่ายงบประมาณตามขั้นตอนแนวทางที่ชี้แจงได้ หลายอำเภอไม่สามารถจัดตั้ง CKD Clinic ได้ เนื่องจากมีปัญหาด้านค่าใช้จ่าย LAB

8 Best Practice เกิดรูปแบบการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ ตามบริบท
หมอครอบครัวออนไลน์ : ศรีสะเกษ เครือข่าย คบส. : ศรีสะเกษ เขื่องในโมเดล (DM&HT) : อุบลราชธานี โนนมะเขือปลอดเหล้า : อุบลราชธานี การลงนามความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ : ยโสธร คนคำเขื่อนแก้วสุขภาพดีอย่างยั่งยืน : ยโสธร

9 คนคำเขื่อนแก้ว สุขภาพดีอย่างยั่งยืน
1.อายุเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด 80 ปี 2.อายุเฉลี่ยการมีสุขภาพดี 72 ปี 1.ดูแลกันและกันดี 2.สะอาดดี 3.แม่และเด็กสุขภาพดี 4.วัยเรียนวัยรุ่นพฤติกรรมดี 5.ดูแลตนเองดี - การดูแลต่อเนื่อง – สะอาดปราศจาค ลูกน้ำยุงลาย -เลี้ยงลูกด้วยนมแม่6เดือน -พัฒนาการเด็ก -ลดการตั้งครรภ์ไม่พร้อม -ตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น -เบาหวาน -ความดัน - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง กระบวนการ 5:5:5 ขับเคลื่อน วาระสุขภาพ 5 ดี 5 5 5 ขั้นตอน ร่วม เครือข่าย 1. ร่วมคิด 2. ร่วมทำ 3. ร่วมรับผิดชอบ 4. ร่วมกำกับ ประเมินผล 5. ร่วมพัฒนา 1. จัดทำแผนสุขภาพ 5 ภาคีเครือข่าย 2. มีข้อมูลข่าวสารโรคและภัยสุขภาพ 3. บูรณาการงบประมาณ 4. ขับเคลื่อนงานด้วย 5 ภาคีเครือข่าย 5. การกำกับ ประเมินผล 1. ท้องถิ่น 2. ท้องที่ 3. การศึกษา 4. ศาสนา 5. สาธารณสุข บวร PDCA SI3M

10 ข้อเสนอแนะ ควรใช้ DHML ร่วมกับการขับเคลื่อนงาน DHS
ควรนำสมัชชาสุขภาพ และธรรมนูญสุขภาพ มาใช้ในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพทุกระดับ ควรนำ INHOMESSS มาใช้ในการดำเนินงาน FCT ควรนำระบบสารสนเทศเข้ามา M&E ทีม FCT การจัดหาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว และสหวิชาชีพอื่น ๆ การพัฒนา อสม. ในการเยี่ยมบ้านโดยใช้ INHOMESSS

11 ควรมีการพัฒนาระบบสุขภาพทุกระดับ
DHS ออกแบบระบบงานที่ชัดเจน ต่อเนื่อง การสนับสนุนการทำงานในพื้นที่ องค์ความรู้ นโยบาย วาระสุขภาพอำเภอ มีกลไกการดำเนินงานในตำบลที่ชัดเจน บูรณาการทั้ง ท้องถิ่น/ท้องที่/ อสม./สธ มีเจ้าภาพหลัก /เจ้าภาพรอง/มีนโยบายสาธารณะ/การพัฒนากำลังคนเชิงคุณภาพ/การเสริมแรงจูงใจคนทำงาน/ผู้ป่วยในพื้นที่ THS มีกิจกรรมในระดับชุมชนที่ชัดเจน มอบหมายภารกิจที่ชัดเจนในชุมชน มี อสม. เชี่ยวชาญด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีการติดตามประเมินผล รายบุคคล โดย อสม. (NCD คุณภาพระดับชุมชน) VHS หมู่บ้านจัดการสุขภาพ/ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

12 สิ่งที่ฝากถึงผู้บริหาร
การขับเคลื่อน PCC เหมาะสมกับเขตเมือง ในชุมชนนอกเขตเมืองควรศึกษา และเตรียมความพร้อมก่อนการดำเนินการ

13 DHS : District Health System “มุกศรีโสธรเจริญราชธานี”


ดาวน์โหลด ppt คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ เขตสุขภาพที่ 10

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google