Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย ลักษณะของการศึกษาวัฒนธรรมทางกฎหมาย ตัวอย่างของการศึกษาวัฒนธรรมกฎหมาย เพื่อเข้าใจ และใช้กฎหมายนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ทบทวน) การศึกษาสังคมวิทยากฎหมาย: การมองเชิงสถาบัน (ทบทวน) การศึกษาสังคมวิทยากฎหมาย: การมองเชิงสถาบัน โครงสร้างภายในของระบบกฎหมาย ได้แก่ 1 ระบบการศึกษากฎหมาย อาจารย์ทางกฎหมาย ตำรากฎหมาย 2 โครงสร้างกระบวนการยุติธรรม เช่น ทนาย อัยการ ผู้พิพากษา ราชทัณฑ์ สำนักงานบังคับคดี โครงสร้างภายนอกระบบกฎหมาย ได้แก่ 1 ระบบการศึกษาของสังคม 2 กระบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม 3 โครงสร้างการเมืองและอำนาจต่อรอง 4 สภาพทางเศรษฐกิจ 5 วัฒนธรรม Legal Culture 2
เปรียบเทียบวิธีการศึกษากฎหมายกับสังคม นิติสำนึกกับวัฒนธรรมทางกฎหมาย นิติสำนึก – การมองและใช้กฎหมายจากปัจเจกบุคคล ว่ามีความเชื่อและพื้นฐานความคิดเกี่ยวกับกฎหมายที่ส่งผลถึงการใช้กฎหมายของตน ความคิดและเชื่อนั้น ส่งผลต่อพฤติกรรมในการใช้กฎหมายของบุคคลเหล่านั้น มีสิ่งที่หล่อหลอม (ประกอบสร้าง – construct) ความคิดและพฤติกรรมนั้น เช่น การอบรม บริบทที่แวดล้อม ประสบการณ์ นิติสำนึกของคนที่เราเลือกศึกษา (พื้นที่ในการศึกษาอย่างเฉพาะเจาะจง เช่น ผู้ใช้แรงงาน ผู้เสียหาย ผู้ถูกกล่าวหา กรณีสปก. กรณีไก่ชน)
เปรียบเทียบวิธีการศึกษากฎหมายกับสังคม นิติสำนึกกับวัฒนธรรมทางกฎหมาย วัฒนธรรมทางกฎหมาย – มององค์รวม “วัฒนธรรม” วัฒนธรรมขององค์กร ของสถาบันนั้น เช่น ทนายความ คนในกระบวนการยุติธรรม ความหมายของวัฒนธรรม – วัฒนะ พัฒนะ + ธรรม การพัฒนา – ก่อตัวขึ้นของพฤติกรรม ในทางกฎหมาย – ในการใช้กฎหมาย ของพื้นที่ในการศึกษาของเรา สิ่งสำคัญ 2 ประการ – จะชี้ได้อย่างไร ว่าที่แห่งนั้นมีวัฒนธรรมอะไร และวัฒนธรรมนั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร/เกิดจากอะไร
Legal Culture การใช้กฎหมายที่เป็นอยู่จริงในสังคม สร้างวัฒนธรรมทางกฎหมาย เช่น การที่ศาลพิพากษาคดี การที่ทนายความต่อสู้คดี การที่เจ้าหน้าที่รัฐบังคับใช้กฎหมาย หรือการที่ชาวบ้านมองการใช้กฎหมายในชีวิตประจำวัน อะไรเป็นตัว “สร้าง” วัฒนธรรมทางกฎหมายนั้นๆ? Legal Tradition or Legal Culture?
ตัวอย่าง Legal Culture 1 งานวิจัยอานันท์ กาญจนพันธุ์ เกี่ยวกับการจัดการป่าชุมชน อาจารย์ทางด้านสังคม-มานุษยวิทยา มช. ศึกษาเกี่ยวกับ ความหมายของ “สิทธิ” ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน อธิบายถึงกติกาป่าชุมชนเป็นอย่างไร
ตัวอย่าง Legal Culture 2 บทความของ นิธิ เอียวศรีวงศ์ เรื่อง รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรม การมองเนื้อหา และกลไกของรัฐธรรมนูญ โดยการวิเคราะห์จากปรากฎการณ์ทางสังคม เทียบเคียงกับงานของ Lawrance Friedman – The Legal System: A Social Science Perspective
พิจารณาวัฒนธรรมกฎหมายได้อย่างไร? สิ่งที่คนในสังคม ทำและคิดว่าสิ่งนั้นผูกพันเป็นกรอบความประพฤติปฏิบัติในสังคมนั้น ๆ – การใช้กฎหมาย โดยเชื่อว่าการใช้กฎหมายนั้นของตน เป็นสิ่งที่ต้องทำ อะไรเป็นเครื่องกำหนดให้บุคคลในสังคมนั้น ต้องทำเช่นนั้น? ความรู้ ความเข้าใจ จากสถาบันการศึกษา จากสถาบันวิชาชีพ จากแนวทางการปฏิบัติในองค์กร
วัฒนธรรมกฎหมาย ในการใช้รัฐธรรมนูญของไทย นักเรียนกฎหมายเรียนกฎหมายรัฐธรรมนูญอย่างไร ในสถาบันวิชาชีพสอนกฎหมายรัฐธรรมนูญอย่างไร นักกฎหมายวิชาชีพใช้รัฐธรรมนูญอย่างไร ชาวบ้าน/ นักการเมือง เมื่อไรที่รัฐธรรมนูญศักดิ์สิทธิ์ เมื่อไรรัฐธรรมนูญไร้ความหมาย?? เพราะอะไร? คำอธิบายในบทความของนิธิ เอียวศรีวงศ์ มีสถาบันและกลไกในการใช้รัฐธรรมนูญ นำมาปรับใช้ในปัจจุบันได้อย่างไร
การใช้วิธีการแบบรัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรม การตระหนักถึง law in book vs. law in action Law in book – รัฐธรรมนูญ ในกฎหมาย ที่เขียนว่าเป็นกฎหมายสูงสุด Law in action – สถาบันทางการเมือง และความสัมพันธ์ของสถาบันเหล่านั้น ในความเป็นจริง วิธีการ 1. มีสถาบันใดบ้าง 2. สถาบันเหล่านั้น มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
รัฐธรรมนูญ in book สถาบันทางการเมือง ความสัมพันธ์ของสถาบันเหล่านี้ การตรวจสอบถ่วงดุล สิทธิและเสรีภาพ การเกิดขึ้น และการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญ in book K ตุลาการ นิติบัญญัติ บริหาร ประชาชน Legal Culture
รัฐธรรมนูญ in action K กองทัพ นิติบัญญัติ ตุลาการ ประชาชน บริหาร ศาสนา Legal Culture
การใช้กฎหมาย เรื่องสิทธิชุมชนในรัฐธรรมนูญ จากการจัดการป่าชุมชนของคนที่อยู่ในป่า การใช้กฎหมายของชาวบ้าน การใช้กฎหมายของเจ้าหน้าที่รัฐ การใช้กฎหมายของนักกฎหมาย การใช้กฎหมายที่มีอยู่จริงในสังคม
ปัญหาของการศึกษาวัฒนธรรมทางกฎหมาย การสังเกตการณ์ ปรากฎการณ์ทางกฎหมาย จะเริ่มต้นจากจุดไหน จะมีขอบเขตเพียงใด การกระทำ (การใช้กฎหมาย) ของใครบ้างที่ต้องนำมาพิจารณา เริ่มต้น และสิ้นสุดลง ณ ที่ใด กว้างมาก! วิธีการที่ Friedman เสนอจึงถูกวิพากษ์วิจารณ์ค่อนข้างมาก และมีผู้พยายามเสนอแนะทางออก ข้อเสนอหนึ่งคือ การค้นหา legal ideology
Legal Ideology อะไรคืออุดมการณ์ทางกฎหมาย? หลักกฎหมายทั่วไป หรือหลักกฎหมายที่เป็นพื้นฐานความคิดของกฎหมายประเภทนั้น ในระบบกฎหมายหนึ่ง/ในสังคมหนึ่ง เช่น หลักการทางกฎหมายแบบพาณิชยนิยม รัฐนิยม อำนาจบังคับจากรัฐ เช่น แนวคิดเกี่ยวกับที่ดินของรัฐ อุดมการณ์ทางกฎหมายเข้ามากำกับการใช้กฎหมายของใคร อย่างไร?
วัฒนธรรมทางกฎหมายในการจัดการป่าชุมชน นัทมน ;) ศึกษานิติสำนึกของบุคคล ชุมชนจัดการป่า หน่วยงานรัฐที่ดูแลการจัดการป่า นักกฎหมายในกระบวนการยุติธรรม ศึกษาวัฒนธรรมทางกฎหมายของสังคม การศึกษากฎหมายเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากร มิติทางประวัติศาสตร์กฎหมาย มิติของตัวบทบัญญัติ มิติของการตีความ ในคำพิพากษา เพื่อสะท้อนให้เห็นการใช้กฎหมาย - วัฒนธรรมทางกฎหมาย