พัฒนาการและรูปแบบของกรมธรรม์ประกันชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
Your Investment Partner
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
1.
15 กันยายน 2558 หมวดงบลงทุน. งบ ลงทุน 1) ครุภัณฑ์ 2) ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่าย เพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายใน ลักษณะค่าครุภัณฑ์
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
คำแนะนำ นายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ. ศ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.
ผู้รับประกัน (Insurer) ผู้เอาประกัน (Insured) ผู้รับผลประโยชน์ (Beneficiary)
ผลการปฏิบัติงานของ กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหาร การจัดการสหกรณ์ ประจำเดือน มกราคม 2558.
สัญญาก่อสร้าง.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แนวปฏิบัติทางบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การหักภาษี ณ ที่จ่ายในธุรกรรม Bond Switching
ACCOUNTING FOR INVENTORY
บทที่ 13 นโยบายเงินปันผล (DIVIDENE POLICY)
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
เอกสารการประกันภัย Insurance documents.
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 4 ต้นทุนของเงินทุน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ฝ่ายบัญชีและการเงิน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม
งบการเงินตามแนวคิดการบริหารและต้นทุนจริง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน(ฉบับที่ 2 ) พ.ศ ให้ใช้
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
27 , 30 ตุลาคม 2549 ธนาคารแห่งประเทศไทย
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พัฒนาการและรูปแบบของกรมธรรม์ประกันชีวิต กรมธรรม์ประกันชีวิตพื้นฐาน แบบ ตลอดชีพ แบบ สะสมทรัพย์ แบบ ชั่วระยะเวลา แบบบำนาญ กรมธรรม์ Universal Life กรมธรรม์ Unit-Linked

โครงสร้างของเบี้ยประกันภัย ส่วนประกอบของเบี้ยประกันภัยที่บริษัทได้รับในแต่งวด การนำเบี้ยประกันภัยไปลงทุน พอร์ตการลงทุนของบริษัท ค่าใช้จ่าย ค่าการประกันภัย กรมธรรม์พื้นฐาน พอร์ตการลงทุนของ กรมธรรม์UL กรมธรรม์ UL เงินส่วนของการลงทุน หรือส่วนผลประโยชน์ การอยู่รอดสำหรับ แบบพื้นฐาน พอร์ตโฟลิโอของลูกค้า กองทุนรวม1 กองทุนรวม2 . Unit-Linked

โครงสร้างของเบี้ยประกันภัย กรมธรรม์แบบพื้นฐาน ลักษณะที่สำคัญของกรมธรรม์ แบบพื้นฐาน บริษัทประกันชีวิตจะคิดอัตราผลตอบแทนของเบี้ยประกันภัยด้วยอัตราที่แน่นอนตายตัวตลอดระยะเวลาเอาประกันภัย เมื่อบริษัทรับประกันภัยแล้วเป็นหน้าที่ของบริษัทที่จะต้องนำเบี้ยประกันภัยที่ได้รับไปบริหารและลงทุนให้ได้ผลตอบแทนที่เพียงพอที่จะมาจ่ายผลประโยชน์ตามที่บริษัทได้สัญญาเอาไว้กับผู้เอาประกันภัย เบี้ยประกันภัยของกรมธรรม์แบบพื้นฐานลงทุนในพอร์ตการลงทุนรวมของบริษัท เบี้ยประกันภัย ของนาย ก เบี้ประกันภัย ของนาย ข พอร์ตการลงทุน รวมของบริษัท เบี้ยประกันภัย ของรายอื่น ๆ

โครงสร้างของเบี้ยประกันภัย กรมธรรม์ Universal Life ลักษณะของกรมธรรม์ หลังจากหักค่าใช้จ่าย บริษัทจะนำเงินค่าเบี้ยประกันภัยส่วนหนึ่งไปซื้อความคุ้มครองชีวิต (คุ้มครองกรณีเสียชีวิต) ส่วนที่เหลือนำไปลงทุน โดยตั้งพอร์ตลงทุนแยกต่างหากจากการลงทุนอื่นของบริษัท ผลตอบแทนจากการลงทุนของพอร์ตบริษัทจะจัดสรรสะสมเข้าบัญชีกรมธรรม์ของผู้เอาประกันภัยแบบ UL แต่ละรายตามส่วน เบี้ยประกันภัยของแบบUniversal Life ลงทุนในพอร์ตแยกจากพอร์ต การลงทุนรวม เบี้ยประกันภัย ของนาย ก เบี้ยประกันภัย ของนาย ข พอร์ตการลงทุนของ กรมธรรม์ UL เบี้ยประกันภัย ของรายอื่น ๆ

โครงสร้างของเบี้ยประกันภัย กรมธรรม์ Unit Linked ลักษณะสำคัญของกรมธรรม์ หลังจากหักค่าใช้จ่าย บริษัทจะนำเงินค่าเบี้ยประกันภัยส่วนหนึ่งไปซื้อความคุ้มครองชีวิต (คุ้มครองกรณีเสียชีวิต) ส่วนที่เหลือนำไปลงทุน โดยผู้เอาประกันภัยเป็นผู้เลือกลงทุนในกองทุนรวมต่าง ๆ ที่บริษัทกำหนดไว้ได้เอง การเพิ่มขึ้นหรือลดลงมูลค่าของหน่วยลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยเลือกลงทุนไว้จะถูกสะสมเข้าหรือหักออกจากบัญชีกรมธรรม์ของผู้เอาประกันภัย เบี้ยประกันภัยของแบบ Unit Linked ลงทุนในกองทุนรวมตามที่บริษัทกำหนด เบี้ยประกันภัย กองทุนรวม A C B อื่น ๆ

ความแตกต่างของกรมธรรม์ Unit-Linked ยูนิเวอร์แซลไลฟ์ และแบบพื้นฐาน  ยูนิเวอร์แซลไลฟ์ แบบพื้นฐาน นโยบายการลงทุนของเบี้ยประกันภัย เปิดเผย ผู้เอาประกันภัยสามารถเลือกลงทุนได้ตามความต้องการ อาจจะมีการเปิดเผยถึงข้อมูลการลงทุนหรืออัตราผลตอบแทนจากการลงทุน เพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้เอาประกันภัยประกอบการตัดสินใจ ไม่จำเป็นต้องเปิดเผย โดยเน้นการลงทุนที่ทำให้บริษัทสามารถจ่ายเงินคืนตามสัญญาได้ ความเสี่ยงด้านการลงทุน ผู้เอาประกันภัยเป็นผู้รับความเสี่ยงเพียงฝ่ายเดียว บริษัทและผู้เอาประกันภัยเป็นผู้รับความเสี่ยงร่วมกัน บริษัทประกันภัยเป็นผู้รับความเสี่ยงเพียงฝ่ายเดียว เบี้ยประกันภัย โปร่งใสสามารถแยกได้ ผู้เอาประกันภัยสามารถทราบข้อมูลค่าใช้จ่าย โปร่งใสสามารถแยกได้ ผู้เอาประกันภัยสามารถทราบข้อมูลค่าใช้จ่าย รวมเป็นจำนวนเดียวทั้งค่าใช้จ่าย ค่าความคุ้มครองการเสียชีวิตและอยู่รอด การลงทุน กองทุนรวม แยกพอร์ตการลงทุนเฉพาะแบบยูนิเวอร์แซลไลฟ์ ออกจากพอร์ตการลงทุนรวมของบริษัท พอร์ตการลงทุนรวมของบริษัท

ความแตกต่างของกรมธรรม์ Unit-Linked ยูนิเวอร์แซลไลฟ์ และแบบพื้นฐาน  ยูนิเวอร์แซลไลฟ์ แบบพื้นฐาน ผลตอบแทนต่อผู้เอาประกันภัย เป็นอัตราที่ไม่คงที่ขึ้นอยู่กับราคาหน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่ผู้เอาประกันภัยเลือก ซึ่งอาจจะกำไรหรือขาดทุน เป็นอัตราที่ไม่คงที่ขึ้นอยู่กับผลตอบแทนที่บริษัทประกันชีวิตสามารถทำได้ แต่ไม่ต่ำกว่าอัตราผลตอบแทนที่รับรองไว้ เป็นอัตราคงที่ ตลอดระยะเวลา เอาประกันภัย (อัตราดอกเบี้ยที่ใช้คำนวณเบี้ย ประกันภัย) ผลประโยชน์มรณกรรมและผลประโยชน์ครบกำหนดสัญญา ผลประโยชน์มรณกรรมไม่ต่ำกว่าจำนวนเงิน เอาประกันภัยและผลประโยชน์ครบกำหนดสัญญาขึ้นอยู่กับราคาหน่วยลงทุน อาจจะต่ำหรือสูงกว่าส่วนของ เบี้ยประกันภัยที่เป็น ส่วนการลงทุน ผลประโยชน์มรณกรรมไม่ต่ำกว่าจำนวนเงินเอาประกันภัย และผลประโยชน์ครบกำหนดสัญญาขึ้นอยู่กับผลตอบแทนแต่ไม่ต่ำกว่าส่วนของเบี้ยประกันภัยที่เป็นส่วนการลงทุน เป็นจำนวนเงินที่แน่นอนตามที่ระบุในกรมธรรม์ประกันภัย

ความแตกต่างของกรมธรรม์ Unit-Linked ยูนิเวอร์แซลไลฟ์ และแบบพื้นฐาน การนำเบี้ยประกันภัยใช้สิทธิหักลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ส่วนของเบี้ยทีเป็นค่าธรรมเนียม ค่าการประกันภัย ที่ได้เรียกเก็บ (ไม่รวมส่วนที่นำไปซื้อหน่วยลงทุน) เบี้ยประกันภัยทั้งจำนวน

การทำงานของกรมธรรม์ Universal Life นำเบี้ยประกันภัยหลังหัก Premium Charge ค่าการประกันภัย และค่าบริหารการลงทุน นำไปลงทุน ชำระเบี้ยประกันภัย ผู้เอาประกันภัย บริษัทประกันภัย พอร์ตการลงทุนของกรมธรรม์ UL เบี้ยประกันภัย + ผลตอบแทนจากการลงทุนของพอร์ต ค่าการประกันภัย ค่าบริหารการลงทุน มูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัยของผู้เอาประกันภัย ถอนคืนบางส่วน จำนวนเงินที่ถอนจากบัญชีกรมธรรม์ฯหักค่าธรรมเนียมในการถอน เวนคืนกรมธรรม์ ครบสัญญา มูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย จำนวนเงินตามมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย + จำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิ(ที่บริษัทต้องจ่ายเพิ่ม) เสียชีวิต

การทำงานของกรมธรรม์ Unit-Linked นำเบี้ยประกันภัยหลังหัก Premium Charge ค่าการประกันภัย และค่าบริหารกรมธรรม์นำไปซื้อหน่วยลงทุน ชำระเบี้ยประกันภัย ผู้เอาประกันภัย บริษัทประกันชีวิต บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน พอร์ตโฟลิโอ (กองทุนรวม) ของผู้เอาประกันภัย ค่าการประกันภัย ค่าบริหารกรมธรรม์ ตราสารเงิน ตราสารหนี้ ผสม ตราสารทุน ต่างประเทศ ถอนคืนบางส่วน ขายคืนหน่วยลงทุนในราคารับซื้อคืน เวนคืนกรมธรรม์ ครบสัญญา ขายคืนหน่วยลงทุนในราคารับซื้อคืน ขายคืนหน่วยลงทุนในราคารับซื้อคืน + จำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิ(ที่บริษัทต้องจ่ายเพิ่ม) เสียชีวิต 10

โครงสร้างกรมธรรม์ประกันภัย Unit-Linked Regular Premium Top-up Premium

โครงสร้างกรมธรรม์ประกันภัย Unit-Linked คำนิยาม ต้องมีคำนิยามเกี่ยวกับศัพท์ที่ใช้ในกรมธรรม์ ทั้งหมด เพื่อให้ผู้เอาประกันภัยอ่านกรมธรรม์แล้วเข้าใจ เงื่อนไขทั่วไป ต้องเป็นไปตามกรมธรรม์มาตรฐาน ประเภทสามัญ และมีเงื่อนไขในส่วนที่จะต้องใช้กับ กรมธรรม์ Unit-Linked เพิ่มเติม รายละเอียดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมทั้งหมด ใบคำขอเอาประกันภัย สำหรับกรมธรรม์แบบ Unit-Linked เอกสารเสนอขาย เป็นต้น

โครงสร้างกรมธรรม์ประกันภัย Unit-Linked เบี้ยประกันภัยหลัก เบี้ยประกันภัยเพิ่มพิเศษ ค่าใช้จ่ายที่หักจาก เบี้ยประกันภัย ค่าธรรมเนียมรักษากรมธรรม์ มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ มูลค่า หน่วยลงทุน ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุน ราคาขายหน่วยลงทุน จำนวนเงิน เสี่ยงภัยสุทธิ ค่าการประกันภัย มูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย มูลค่าเวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย การหยุดพักชำระเบี้ยประกันภัย

รูปแบบคุ้มครองกรมธรรม์ Unit-Linked ผลประโยชน์ความคุ้มครอง มี 2 รูปแบบ ดังนี้ รูปแบบที่ 1 กรณีเสียชีวิต (เดิม) จ่ายจำนวนเงินเอาประกันภัย กรณีเสียชีวิต (ปรับใหม่) จ่ายจำนวนที่มากกว่าระหว่างจำนวนเงินเอาประกันภัยกับจำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิขั้นต่ำรวมกับมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย กรณีอยู่ครบกำหนดสัญญา บริษัทจะจ่ายมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ รูปแบบที่ 2 กรณีเสียชีวิต จ่ายจำนวนเงินเอาประกันภัย บวกมูลค่าบัญชีกรมธรรม์

รูปแบบที่ 1 (เดิม) ผลประโยชน์กรณีมรณกรรม การกำหนดผลประโยชน์กรณีมรณกรรมของกรมธรรม์ Unit-Linked และ Universal Life รูปแบบที่ 1 (เดิม) ผลประโยชน์กรณีมรณกรรม เท่ากับจำนวนเงินเอาประกันภัยหรือมูลค่าบัญชีกรมธรรม์แล้วแต่จำนวนใดจะมากกว่า ผลประโยชน์มรณกรรมมีค่าเท่ากับจำนวนที่มากกว่าระหว่าง จำนวนเงินเอาประกันภัย กับจำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิขั้นต่ำ รวมกับมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย จำนวนเงิน เส้นสีน้ำตาล เป็นผลประโยชน์กรณีมรณกรรม ความสูงของพื้นที่แลเงาเป็นจำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิ เส้นจำนวนเงินเอาประกันภัย เส้นมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย ปีกรมธรรม์

การกำหนดผลประโยชน์กรณีมรณกรรม รุปแบบที่ 1 (ปรับใหม่) ผลประโยชน์มรณกรรม เท่ากับจำนวนที่มากกว่าระหว่างจำนวนเงินเอาประกันภัยกับ จำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิขั้นต่ำรวมกับมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย จำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิขั้นต่ำ รูปแบบที่ 1 (เดิม) เส้นสีน้ำตาล คือ ผลประโยชน์มรณกรรม เส้นจำนวนเงินเอาประกันภัย เส้นมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย

รูปแบบที่ 2 ผลประโยชน์มรณกรรม การกำหนดผลประโยชน์กรณีมรณกรรมของกรมธรรม์ Unit-Linked และ Universal Life รูปแบบที่ 2 ผลประโยชน์มรณกรรม เท่ากับจำนวนเงินเอาประกันภัยรวมกับมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย ผลประโยชน์มรณกรรม จำนวนเงิน จำนานเงินเอาประกันภัย มูลค่าบัญชีกรมธรรม์ ปีกรมธรรม์

ชำระเบี้ยประกันภัย ครั้งเดียว ชำระเบี้ยประกันภัย รายงวด การคำนวณเงินผลประโยชน์ในกรณีต่างๆ Unit-Linked ชำระเบี้ยประกันภัย ครั้งเดียว ชำระเบี้ยประกันภัย รายงวด

ชำระเบี้ยประกันภัยครั้งเดียว การคำนวณเงินผลประโยชน์ ชำระเบี้ยประกันภัยครั้งเดียว ในวันที่ 3 มีนาคม 2551 นาย ข ตกลงทำประกันชีวิตแบบ Unit-Linked ด้วย -จำนวนเงินเอาประกันภัย 1,300,000 บาท เบี้ยประกันภัย 1,000,000 บาท -ซึ่งมีเงื่อนไขการจ่ายผลประโยชน์กรณีเสียชีวิต โดยจ่ายจำนวนเงินที่มากกว่า ระหว่าง จำนวนเงินเอาประกันภัยหรือมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัยรวม กับจำนวนเงินความเสี่ยงภัยสุทธิขั้นต่ำ (ในที่นี้กำหนด 30% ของเบี้ยประกันภัย ชำระครั้งเดียว) - ซึ่งบริษัทประกันชีวิตมีค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียม ดังนี้ - ค่าใช้จ่ายหักเบี้ยประกันภัย (Premium Charge) 20% ของเบี้ยประกันภัย - ค่าการประกันภัย (Cost of Insurance) 1.254 บาท ต่อจำนวนเงินเอา ประกันภัย 1,000 บาทต่อปี - ค่าธรรมเนียมในการบริหารกรมธรรม์ประกันภัย (Administration Fee) 1% ของมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัยต่อปี

จำนวนเบี้ยประกันภัย ที่นาย ข ชำระ การคำนวณเงินผลประโยชน์ จำนวนเบี้ยประกันภัย ที่นาย ข ชำระ กรณีที่ 1 การหักค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียม 1,000,000.00 บาท ค่าใช้จ่ายหักจาก เบี้ยประกันภัย 200,000.00 บาท ค่าการประกันภัย ต่อเดือน (1,300,000 – (1,000,000-200,000))* 0.001254/12) 52.25 บาท ค่าบริหาร กรมธรรม์ต่อเดือน (800,000 * 0.01/12) 666.67 บาท 799,281.08 บาท นาย ข เหลือเงินที่จะนำไปซื้อหน่วยลงทุน 3 มีค.51 72,137.28 หน่วย COI = 52.25 ฿ ค่าบริหารกธ.= 666.67฿ 3 เมย.51 3 พค.51

การคำนวณเงินผลประโยชน์ ในวันที่ 6 มีนาคม 2551 -นาย ข เลือกลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุน A -ราคาขาย (Offer Price) หน่วยละ 11.08 บาท ฉะนั้น นาย ข ซื้อหน่วยลงทุนได้ 72,137.28 หน่วย (799,281.08/11.08) 21 21

การคำนวณเงินผลประโยชน์ ในเดือนต่อมา วันที่ 3 เมษายน 2551 ราคากองทุน A มีดังนี้ - ราคาประเมินของหน่วยลงทุน (NAV) หน่วยละ 11.15 บาท - ราคาซื้อคืนหน่วยลงทุน (Bid Price) หน่วยละ 11.10 บาท

ค่าการประกันภัย ต่อเดือน ค่าบริหาร กรมธรรม์ต่อเดือน การคำนวณเงินผลประโยชน์ วันที่ 3 เมษายน 2551 ค่าการประกันภัย ต่อเดือน (1,300,000 – (72,137.28 * 11.15))* 0.001254/12) 51.79 บาท ค่าบริหาร กรมธรรม์ต่อเดือน ((72,137.28 * 11.15)* 0.01/12) 670.28 บาท รวมเป็นเงิน 722.07 บาท บริษัทจะทำการขายหน่วยลงทุน เพื่อชำระค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น เป็นจำนวน 65.05 หน่วย (722.07/11.10) นาย ข เหลือหน่วยลงทุน 72,072.23 หน่วย (72,137.28-65.05) 3 มีค.51 72,137.28 หน่วย COI = 52.25 ฿ ค่าบริหารกธ.= 666.67฿ 3 เมย.51 3 พค.51 72,072.23 หน่วย COI = 51.79 ฿ ค่าบริหารกธ.= 670.28฿

กรณีที่ 2 บริษัทบอกล้างสัญญา การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 2 บริษัทบอกล้างสัญญา หากในเดือนต่อมา บริษัทสืบทราบว่า นาย ข เป็น โรคเบาหวาน และไม่ได้แถลงในใบคำขอเอาประกันภัย บริษัทบอกล้างสัญญาในวันที่ 1 เมษายน 2551 ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุนของกองทุน A หน่วยละ 11.12 บาท นาย ข จะได้รับเงินคืนทั้งหมด เท่าใด

การคำนวณเงินผลประโยชน์ บริษัทบอกล้างสัญญาวันที่ 1 เมษายน 2551 ค่าใช้จ่ายหักจาก เบี้ยประกันภัย 200,000.00 บาท ค่าการประกันภัย ต่อเดือน (1,300,000 – (1,000,000-200,000))* 0.001254/12) 52.25 บาท ค่าบริหารกรมธรรม์ต่อเดือน (800,000 * 0.01/12) 666.67 บาท ค่าขายหน่วยลงทุน (72,137.28 * 11.12) 802,166.55 บาท 3 มีค.51 72,137.28 หน่วย COI = 52.25 ฿ ค่าบริหารกธ.= 666.67฿ 3 เมย.51 3 พค.51 บอกล้างสัญญา 1 เมย.51

การคำนวณเงินผลประโยชน์ นาย ข ได้เงินคืนรวม 1,002,885.47 บาท

กรณีที่ 3 ผู้เอาประกันภัยบอกเลิกกรมธรรม์ภายใน 15 วัน การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 3 ผู้เอาประกันภัยบอกเลิกกรมธรรม์ภายใน 15 วัน หากในวันที่ 10 มีนาคม 2551 นาย ข ขอยกเลิก กรมธรรม์ประกันภัย โดยราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุน (Bid Price) ณ วันที่ 10 มีนาคม 2551 หน่วยละ 11.05 บาท นาย ข จะได้รับเงินคืน เท่าใด

การคำนวณเงินผลประโยชน์ บอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย ภายใน 15 วัน ค่าใช้จ่ายหักจากเบี้ยฯ 200,000.00 บาท (1,300,000 – (1,000,000-200,000))* 0.001254/12) ค่าการประกันภัยต่อเดือน 52.25 บาท ค่าบริหารกรมธรรม์ต่อเดือน (800,000 * 0.01/12) 666.67 บาท ค่าขายหน่วยลงทุน 797,116.94 บาท (72,137.28 * 11.05) หักค่าใช้จ่ายในการยกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย 500.00 บาท 3 มีค.51 72,137.28 หน่วย COI = 52.25 ฿ ค่าบริหารกธ.= 666.67฿ 3 เมย.51 3 พค.51 บอกเลิกกรมธรรม์ภายใน 15 วัน

การคำนวณเงินผลประโยชน์ นาย ข ได้เงินคืนรวม 997,335.86 บาท

กรณีที่ 4 ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 4 ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต -นาย ข เสียชีวิต ในวันที่ 15 เมษายน 2551 -ผู้รับผลประโยชน์แจ้งเรื่องการเสียชีวิตของผู้เอาประกันภัยในวันที่ 17 เมษายน 2551 -ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุน ราคาหน่วยละ 11.20 บาท ณ วันที่ -ผู้รับผลประโยชน์ของนาย ข จะได้รับเงินดังนี้

ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต การคำนวณเงินผลประโยชน์ ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุนกองทุน A ราคาหน่วยละ11.20 บาท ค่าขายหน่วยลงทุน (72,072.23 * 11.20) 807,208.98 บาท เมื่อขายหน่วยลงทุนแล้ว จำนวนเงินที่ได้รวมกับจำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิขั้นต่ำ (300,000+807,208.98=1,107,208.98) น้อยกว่าจำนวนเงินเอาประกันภัย (1,300,000) ผู้รับผลประโยชน์จะได้รับเงินเท่ากับ 1,300,000.00 บาท 3 มีค.51 72,137.28 หน่วย COI = 52.25 ฿ ค่าบริหารกธ.= 666.67฿ 3 เมย.51 3 พค.51 แจ้งบริษัท 17 เมย.51 72,072.23 หน่วย COI = 51.79 ฿ ค่าบริหารกธ.= 670.28฿

ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต การคำนวณเงินผลประโยชน์ ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุนกองทุน A ราคาหน่วยละ15 บาท ค่าขายหน่วยลงทุน (72,072.23 * 15) 1,081,083.45 บาท เมื่อขายหน่วยลงทุนแล้ว จำนวนเงินที่ได้รวมกับจำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิขั้นต่ำ (300,000+1,081,083.45=1,381,083.45) มากกว่าจำนวนเงินเอาประกันภัย (1,300,000) ผู้รับผลประโยชน์จะได้รับเงินเท่ากับ 1,381,083.45 บาท 3 มีค.51 72,137.28 หน่วย COI = 52.25 ฿ ค่าบริหารกธ.= 666.67฿ 3 เมย.51 3 พค.51 แจ้งบริษัท 17 เมย.51 72,072.23 หน่วย COI = 51.79 ฿ ค่าบริหารกธ.= 670.28฿

กรณีที่ 5 เวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 5 เวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย หาก นาย ข มาขอเวนคืนกรมธรรม์ประกันภัยในวันที่ 17 เมษายน 2551 ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุนกองทุน A ราคาหน่วยละ 11.20 บาท นาย ข จะได้รับเงิน เท่าใด

การคำนวณเงินผลประโยชน์ เวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย ค่าขายหน่วยลงทุน 807,208.98 บาท (72,072.23 * 11.20) ค่าการประกันภัยส่วนที่ยังไม่ได้ รับความคุ้มครองของเดือนเมษายน 25.90 บาท (51.79 * 15/30) 807,234.88 บาท รวมเงินที่ได้ 3 มีค.51 72,137.28 หน่วย COI = 52.25 ฿ ค่าบริหารกธ.= 666.67฿ 3 เมย.51 3 พค.51 เวนคืนกรมธรรม์ 17 เมย.51 72,072.23 หน่วย COI = 51.79 ฿ ค่าบริหารกธ.= 670.28฿

กรณีที่ 6 ผู้เอาประกันภัยถูกผู้รับประโยชน์ฆ่าตายภายใน 1 ปี การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 6 ผู้เอาประกันภัยถูกผู้รับประโยชน์ฆ่าตายภายใน 1 ปี -หากนาย ข ระบุผู้รับประโยชน์สองคนคือ นาง ค และ นาย ง -ต่อมานาย ข ถูกนาง ค ฆาตกรรม ในวันที่ 15 เมษายน 2551 -โดยนาย ง แจ้งบริษัทประกันชีวิตในวันที่ 17 เมษายน 2551 ราคารับซื้อหน่วยลงทุนกองทุน A ราคาหน่วยละ 11.20 บาท -นาย ง จะได้รับเงิน เท่าใด

การคำนวณเงินผลประโยชน์ ถูกผู้รับประโยชน์ฆ่าตาย ค่าขายหน่วยลงทุน ส่วนของ นาง ค 403,604.49 บาท (72,072.23 * 11.20)/2 จำนวนเงินเอาประกันภัย ส่วนของนาย ง (1,300,000/2) 650,000 บาท 1,053,604.49 บาท รวมเงินที่ได้ 3 มีค.51 72,137.28 หน่วย COI = 52.25 ฿ ค่าบริหารกธ.= 666.67฿ 3 เมย.51 3 พค.51 แจ้งบริษัท 17 เมย.51 72,072.23 หน่วย COI = 51.79 ฿ ค่าบริหารกธ.= 670.28฿

กรณีที่ 7 ผู้เอาประกันภัย การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 7 ผู้เอาประกันภัย แถลงอายุคลาดเคลื่อน หากนาย ข แถลงอายุในใบคำขอเอาประกันชีวิต 35 ปี แต่อายุจริง 40 ปี โดยค่าการประกันภัยอายุ 35 ปี และ 40 ปี เท่ากับ 1.055 บาท และ 1.254 บาท ต่อจำนวนเงินเอา ประกันภัย 1,000 บาท ตามลำดับ

การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีนาย ข ยังมีชีวิตอยู่ บริษัทสืบทราบว่า นาย ข แถลงอายุต่ำกว่าอายุจริง ในวันที่ 17 เมษายน 2551 -ฉะนั้นนาย ข จะต้องชำระค่าการประกันภัยเพิ่มอีก เท่าใด

การคำนวณเงินผลประโยชน์ วันที่ 17 เมษายน 2551 (1,300,000 – (72,072.23 * 11.15))* 0.001055/12) ค่าการประกันภัย อายุ 35 ปี 43.64 บาท (1,300,000 – (72,072.23 * 11.15))* 0.001254/12) ค่าการประกันภัย อายุ 40 ปี 51.87 บาท นาย ข ต้องชำระ เบี้ยประกันภัยเพิ่มเติม (จ่ายเพิ่มเฉพาะ COI ส่วนที่ขาดของเดือน ปัจจุบันคือเดือนเมษายนเท่านั้น) 8.23 บาท 3 มีค.51 72,137.28 หน่วย 3 เมย.51 3 พค.51 บริษัททราบ 17 เมย.51 72,072.23 หน่วย COI ของอายุ 40 ปี = 51.87 ฿ COI ของอายุ 35 ปี = 43.64 ฿

การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีนาย ข เสียชีวิต บริษัทสืบทราบว่า นาย ข แถลงอายุต่ำกว่าอายุจริง ใน วันที่ 17 เมษายน 2551 ผู้รับประโยชน์ของนาย ข จะได้รับผลประโยชน์ มรณกรรม เท่าใด

การคำนวณเงินผลประโยชน์ วันที่ 17 เมษายน 2551 ค่าการประกันภัย 51.87 บาท สำหรับซื้อความคุ้มครองได้ เท่ากับ (1,300,000 – (72,072.23 * 11.15)) 496,394.64 บาท ถ้าค่าการประกันภัย43.64 บาท จะซื้อความคุ้มครองได้ เท่ากับ (496,394.64 * 43.64/ 51.87) 417,633.7 บาท ผู้รับประโยชน์ของนาย ข จะได้รับเงิน (72,072.23 * 11.15) + 417,620.69 1,221,239.10 บาท

การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีแถลงอายุสูงกว่าอายุจริง นาย ข อายุจริง 35 ปี แต่แถลงอายุในใบคำขอเอา ประกันภัย 40 ปี เมื่อบริษัทสืบทราบในวันที่ 17 เมษายน 2551 ว่านาย ข แถลงอายุสูงกว่าอายุจริง กรณีนี้ไม่ว่านาย ข จะเสียชีวิต หรือมีชีวิตอยู่ บริษัทประกันชีวิตจะคืนค่าการประกันภัยที่เก็บไว้เกิน 2 เดือน

การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีนาย ข แถลงอายุคลาดเคลื่อนโดยอายุจริงอยู่นอกพิกัดอัตราทางการค้าปกติ บริษัทจะบอกล้างสัญญา

กรณีที่ 8 กรมธรรม์ประกันภัยสิ้นผลบังคับ การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 8 กรมธรรม์ประกันภัยสิ้นผลบังคับ หากมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัยมีไม่เพียงพอที่จะชำระค่าการประกันภัย และค่าธรรมเนียม งวดประจำเดือนใด บริษัทจะให้ความคุ้มครองเต็มเดือนนั้น และหากผู้เอาประกันภัยยังไม่ได้ชำระเบี้ยประกันภัยภายในเดือน นั้น กรมธรรม์ประกันภัยจะสิ้นผลบังคับเมื่อสิ้นเดือนนั้น วันที่ 3 เมษายน 2551 นาย ข ต้องชำระค่าการประกันภัย และค่าบริหารกรมธรรม์ประกันภัยดังนี้

การคำนวณเงินผลประโยชน์ ค่าการประกันภัยเดือนเมษายน 51.79 บาท ค่าบริหารกรมธรรม์ประกันภัย670.28 บาท 722.07 บาท (รวม 51.79 + 670.28) บัญชีกรมธรรม์มีหน่วยลงทุนเหลือ 55 หน่วย ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุน หน่วยละ 11.10 บาท ค่าขายหน่วยลงทุน (55 * 11.10) 610.50 บาท หน่วยลงทุนที่เหลือทำให้ได้รับความคุ้มครอง (30 * 610.50/722.07) 25 วัน บริษัทจะคุ้มครองจนถึงวันที่ 2 พฤษภาคม 2551 หากนาย ข ไม่ชำระเบี้ยประกันภัยภายในวันที่ 2 พฤษภาคม 2551 กรมธรรม์ประกันภัยจะสิ้นผลบังคับ 55 หน่วย COI = 51.79฿ ค่าบริหารกธ.= 670.28฿ 55 หน่วย คุ้มครองได้จริง 25 วัน 3 มีค.51 3 เมย.51 3 พค.51

ชำระเบี้ยประกันภัยรายงวด การคำนวณเงินผลประโยชน์ ชำระเบี้ยประกันภัยรายงวด ในวันที่ 3 มีนาคม 2551 นาย ข ตกลงทำประกันชีวิตแบบ Unit-Linked -จำนวนเงินเอาประกันภัย 300,000 บาท -ซึ่งมีเงื่อนไขการจ่ายผลประโยชน์กรณีเสียชีวิต เท่ากับจำนวนเงินเอาประกันภัย รวมกับมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย -โดยชำระเบี้ยประกันภัยราย 3 เดือน ค่าเบี้ยประกันภัย 30,000 บาท -ซึ่งบริษัทประกันชีวิตมีค่าในค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมดังนี้ - ค่าใช้จ่ายหักเบี้ยประกันภัย (Premium Charge) 20% ของเบี้ยประกันภัย - ค่าการประกันภัย (Cost of Insurance) 1.254 บาท ต่อจำนวนเงินเอา ประกันภัย 1,000 บาท - ค่าธรรมเนียมในการบริหารกรมธรรม์ประกันภัย (Administration Fee) 1% ต่อปี ของมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย

กรณีที่ 1 การหักค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียม การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 1 การหักค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียม เบี้ยประกันภัยที่นาย ข ชำระ 30,000.00 บาท ค่าใช้จ่ายหักจากเบี้ยฯ 6,000.00 บาท ค่าการประกันภัยต่อเดือน (300,000 * 0.001254)/12 31.35 บาท ค่าบริหารกรมธรรม์ต่อเดือน 20.00 บาท (24,000 * 0.01/12) 23,948.65 บาท นาย ข เหลือเงินที่จะนำไปซื้อหน่วยลงทุน 3 มีค.51 2,161.43 หน่วย COI = 31.35 ฿ ค่าบริหารกธ.= 20฿ 3 เมย.51 3 พค.51

การคำนวณเงินผลประโยชน์ ในวันที่ 6 มีนาคม 2551 นาย ข เลือกลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุน A ราคาขาย (Offer Price) หน่วยละ 11.08 บาท ฉะนั้น นาย ข ซื้อหน่วยลงทุนได้ 2,161.43 หน่วย (23,948.65/11.08)

การคำนวณเงินผลประโยชน์ ในเดือนต่อมา (วันที่ 3 เมษายน 2551) -ราคาประเมินของหน่วยลงทุน (NAV) กองทุน A หน่วยละ 11.15 บาท -ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุน (Bid Price) หน่วยละ 11.10 บาท 49 49

ค่าการประกันภัย ต่อเดือน ค่าบริหารกรมธรรม์ต่อเดือน การคำนวณเงินผลประโยชน์ วันที่ 3 เมษายน 2551 ค่าการประกันภัย ต่อเดือน (300,000 * 0.001254)/12 31.35 บาท ค่าบริหารกรมธรรม์ต่อเดือน ((2,161.43 * 11.15)* 0.01)/12 20.08 บาท รวมเป็นเงิน 51.43 บาท บริษัทจะทำการขายหน่วยลงทุน เพื่อชำระค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น เป็นจำนวน 4.63 หน่วย (51.43/11.10) นาย ข เหลือหน่วยลงทุน 2,156.8 หน่วย (2,161.43-4.63) 3 มีค.51 2,161.43 หน่วย COI = 31.35 ฿ ค่าบริหารกธ.= 20฿ 3 เมย.51 3 พค.51 2,156.8 หน่วย COI = 31.35 ฿ ค่าบริหารกธ.= 20.08฿

การคำนวณเงินผลประโยชน์ ในเดือนต่อมา (วันที่ 3 พฤษภาคม 2551) ราคาประเมินของหน่วยลงทุน (NAV) กองทุน A หน่วยละ 11.20 บาท ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุน (Bid Price) หน่วยละ 11.15 บาท

ค่าการประกันภัย ต่อเดือน ค่าบริหารกรมธรรม์ต่อเดือน การคำนวณเงินผลประโยชน์ วันที่ 3พฤษภาคม 2551 ค่าการประกันภัย ต่อเดือน (300,000 * 0.001254)/12 31.35 บาท ค่าบริหารกรมธรรม์ต่อเดือน ((2,156.80 * 11.20)* 0.01)/12 20.13 บาท รวมเป็นเงิน 51.48 บาท บริษัทจะทำการขายหน่วยลงทุน เพื่อชำระค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น เป็นจำนวน 4.62 หน่วย (51.48/11.15) นาย ข เหลือหน่วยลงทุน 2,152.18 หน่วย (2,156.80-4.62) 3 มีค.51 2,161.43 หน่วย COI = 31.35 ฿ ค่าบริหารกธ.= 20฿ 3 เมย.51 3 พค.51 2,156.8 หน่วย 2,152.18 หน่วย COI = 31.35 ฿ COI = 31.35 ฿ ค่าบริหารกธ.= 20.08฿ ค่าบริหารกธ.= 20.13฿

การคำนวณเงินผลประโยชน์ ในเดือนต่อมา (วันที่ 3 มิถุนายน 2551) -นาย ข ชำระเบี้ยประกันภัย 30,000 บาท -ราคาประเมินของหน่วยลงทุน (NAV) กองทุน A หน่วยละ 11.25 บาท -ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุน (Bid Price) หน่วยละ 11.20 บาท

การคำนวณเงินผลประโยชน์ ชำระเบี้ยประกันภัย 30,000.00 บาท ค่าใช้จ่ายหักจากเบี้ยฯ 6,000.00 บาท ค่าการประกันภัยต่อเดือน (300,000 * 0.001254)/12 31.35 บาท ((2,152.18 * 11.25) + 24,000) * 0.01/12) ค่าบริหารกรมธรรม์ต่อเดือน 40.18 บาท นาย ข เหลือเงินที่จะนำไปซื้อหน่วยลงทุน (24,000 – 71.53) 23,928.47 บาท 2,161.43 หน่วย COI = 31.35 ฿ ค่าบริหารกธ.= 20฿ 3 มีค.51 3 เมย.51 3 พค.51 2,156.8 หน่วย ค่าบริหารกธ.= 20.08฿ 2,152.18 หน่วย ค่าบริหารกธ.= 20.13฿ 4,248.84 หน่วย ค่าบริหารกธ.= 40.18฿ 3 มิย.51

นาย ข มี หน่วยลงทุนทั้งสิ้น การคำนวณเงินผลประโยชน์ นาย ข มี หน่วยลงทุนทั้งสิ้น 4,248.84 หน่วย (2,152.18 + 2,132.66)

กรณีที่ 2 บริษัทบอกล้างสัญญา การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 2 บริษัทบอกล้างสัญญา หากในเดือนต่อมา -บริษัทสืบทราบว่า นาย ข เป็นโรคเบาหวาน และไม่ได้แถลงในใบคำ ขอเอาประกันภัย บริษัทบอกล้างสัญญาในวันที่ 1 เมษายน 2551 -ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุนของกองทุน A หน่วยละ 11.12 บาท -นาย ข จะได้รับเงินคืนทั้งหมด เท่าใด

การคำนวณเงินผลประโยชน์ บริษัทบอกล้างสัญญา วันที่ 1 เมษายน 2551 ค่าใช้จ่ายหักจาก เบี้ยประกันภัย 6,000.00 บาท (300,000 * 0.001254)/12 ค่าการประกันภัย ต่อเดือน 31.35 บาท (24,000 * 0.01/12) ค่าบริหารกรมธรรม์ ประกันภัยต่อเดือน 20.00 บาท (2,161.43 * 11.12) ค่าขายหน่วยลงทุน 24,035.10 บาท 3 มีค.51 2,161.43 หน่วย COI = 31.35 ฿ ค่าบริหารกธ.= 20฿ 3 เมย.51 3 พค.51 บอกล้างสัญญา 1 เมย.51

การคำนวณเงินผลประโยชน์ นาย ข ได้เงินคืนรวม 30,086.45 บาท

กรณีที่ 3 ผู้เอาประกันภัยบอกเลิกกรมธรรม์ภายใน 15 วัน การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 3 ผู้เอาประกันภัยบอกเลิกกรมธรรม์ภายใน 15 วัน หากในวันที่ 10 มีนาคม 2551 นาย ข ขอยกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุน (Bid Price) หน่วยละ 10.05 บาท นาย ข จะได้รับเงินคืนเท่าใด

การคำนวณเงินผลประโยชน์ บอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย ภายใน 15 วัน ค่าใช้จ่ายหักจาก เบี้ยประกันภัย 6,000.00 บาท ค่าการประกันภัย ต่อเดือน (300,000 * 0.001254)/12 31.35 บาท ค่าบริหารกรมธรรม์ประกันภัย ต่อเดือน (24,000 * 0.01/12) 20.00 บาท ค่าขายหน่วยลงทุน (2,161.43 * 11.05) 23,883.80 บาท หักค่าใช้จ่ายในการยกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย 500.00 บาท 3 มีค.51 2,161.43 หน่วย COI = 31.35 ฿ ค่าบริหารกธ.= 20฿ 3 เมย.51 3 พค.51 ขอยกเลิก 10 มีค.51

การคำนวณเงินผลประโยชน์ นาย ข ได้เงินคืนรวม 29,435.15 บาท

กรณีที่ 4 ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 4 ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต นาย ข เสียชีวิต ในวันที่ 15 เมษายน 2551 ผู้รับผลประโยชน์แจ้งเรื่องการเสียชีวิตของผู้เอา ประกันภัยในวันที่ 17 เมษายน 2551 ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุนกองทุน A ราคาหน่วยละ 11.20 บาท ณ วันที่ 17 เมษายน 2551 ผู้รับผลประโยชน์จะได้รับเงินดังนี้

ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต จำนวนเงินเอาประกันภัย การคำนวณเงินผลประโยชน์ ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุนกองทุน A ราคาหน่วยละ11.20 บาท ผู้รับผลประโยชน์ของนาย ข จะได้รับเงินดังนี้ ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต ค่าขายหน่วยลงทุน (2,156.80 * 11.20) 24,156.16 บาท จำนวนเงินเอาประกันภัย 300,000.00 บาท ผู้รับประโยชน์ จะได้รับเงิน 324,156.16 บาท 3 มีค.51 2,161.43 หน่วย COI = 31.35 ฿ ค่าบริหารกธ.= 20฿ 3 เมย.51 3 พค.51 2,156.8 หน่วย ค่าบริหารกธ.= 20.08฿ แจ้งบริษัท 17 เมย.51

กรณีที่ 5 เวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 5 เวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย หาก นาย ข มาขอเวนคืนกรมธรรม์ประกันภัยในวันที่ 17 เมษายน 2551 ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุนกองทุน A ราคาหน่วยละ 11.20 บาท นาย ข จะได้รับเงินดังนี้

การคำนวณเงินผลประโยชน์ เวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย ค่าขายหน่วยลงทุน (2,156.80 * 11.20) 24,156.16 บาท ค่าการประกันภัยส่วนที่ ยังไม่ได้รับความคุ้มครอง ของเดือนเมษายน (31.35 * 15/30) 15.68 บาท รวมเงินที่ได้ 24,171.84 บาท 3 มีค.51 2,161.43 หน่วย COI = 31.35 ฿ ค่าบริหารกธ.= 20฿ 3 เมย.51 3 พค.51 2,156.8 หน่วย ค่าบริหารกธ.= 20.08฿ เวนคืน 17 เมย.51

กรณีที่ 6 ผู้เอาประกันภัย ถูกผู้รับประโยชน์ฆ่าตาย การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 6 ผู้เอาประกันภัย ถูกผู้รับประโยชน์ฆ่าตาย หากนาย ข ระบุผู้รับประโยชน์สองคนคือ นาง ค และ นาย ง ต่อมานาย ข ถูกนาง ค ฆาตกรรม ในวันที่ 15 เมษายน 2551 นาย ง แจ้งบริษัทประกันชีวิตในวันที่ 17 เมษายน 2551 ราคารับซื้อหน่วยลงทุนกองทุน A ราคาหน่วยละ 11.20 บาท นาย ง จะได้รับเงินเท่าใด

ถูกผู้รับประโยชน์ฆ่าตาย จำนวนเงินเอาประกันภัย ส่วนของนาย ง การคำนวณเงินผลประโยชน์ ถูกผู้รับประโยชน์ฆ่าตาย ค่าขายหน่วยลงทุน 24,156.16 บาท (2,156.8 * 11.20) จำนวนเงินเอาประกันภัย ส่วนของนาย ง 150,000 บาท (300,000/2) รวมเงินที่ได้ 174,156.16 บาท 3 มีค.51 2,161.43 หน่วย COI = 31.35 ฿ ค่าบริหารกธ.= 20฿ 3 เมย.51 3 พค.51 2,156.8 หน่วย ค่าบริหารกธ.= 20.08฿ แจ้งบริษัท 17 เมย.51

กรณีที่ 7 ผู้เอาประกันภัย การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 7 ผู้เอาประกันภัย แถลงอายุคลาดเคลื่อน กรณีแถลงอายุต่ำกว่าความจริง หากนาย ข แถลงอายุในใบคำขอเอาประกันชีวิต 35 ปี แต่อายุจริง 40 ปี ค่าการประกันภัยอายุ 35 ปี และ 40 ปี เท่ากับ 1.055 บาท และ 1.254 บาท ต่อจำนวนเงินเอาประกันภัย 1,000 บาท ตามลำดับ

การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีนาย ข ยังมีชีวิตอยู่ บริษัทสืบทราบว่า นาย ข แถลงอายุต่ำกว่าอายุจริง ใน วันที่ 17 เมษายน 2551 นาย ข จะต้องชำระค่าการประกันภัยเพิ่มอีก ในเดือน ใดบ้าง เป็นจำนวนเท่าใด

การคำนวณเงินผลประโยชน์ วันที่ 17 เมษายน 2551 ค่าการประกันภัย อายุ 35 ปี (300,000 * 0.001055/12) 26.38 บาท ค่าการประกันภัย อายุ 40 ปี (300,000 * 0.001254/12) 31.35 บาท นาย ข ต้องชำระ เบี้ยประกันภัยเพิ่มเติม (บริษัทจะเรียกเบี้ยประกันภัยส่วนที่นาย ข ชำระขาดในเดือนเมษายนเท่านั้น ) 4.97 บาท

การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีนาย ข เสียชีวิต -บริษัทสืบทราบว่า นาย ข แถลงอายุต่ำกว่าอายุจริง ใน วันที่ 17 เมษายน 2551 -ผู้รับประโยชน์ของนาย ข จะได้รับผลประโยชน์ มรณกรรม เท่าใด

ผู้รับประโยชน์ของนาย ข จะได้รับเงิน การคำนวณเงินผลประโยชน์ วันที่ 17 เมษายน 2551 ค่าการประกันภัย 31.35 บาท 300,000 บาท ค่าการประกันภัย 26.38 บาท (300,000 * 26.38/31.35) 252,440.19 บาท ผู้รับประโยชน์ของนาย ข จะได้รับเงิน (252,440.19 + 24,156.16) 276,596.35 บาท

การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีแถลงอายุสูงกว่าความเป็นจริง -นาย ข อายุจริง 35 ปี แต่แถลงอายุในใบคำขอเอา ประกันภัย 40 ปี -บริษัทสืบทราบในวันที่ 17 เมษายน 2551 ว่านาย ข แถลงอายุสูงกว่าอายุจริง กรณีนี้ไม่ว่านาย ข จะเสียชีวิต หรือมีชีวิตอยู่ บริษัทประกันชีวิตจะคืนค่าการประกันภัยที่เก็บไว้เกิน 2 เดือน

การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีนาย ข แถลงอายุคลาดเคลื่อนโดยอายุจริงอยู่นอกพิกัดอัตราทางการค้าปกติ บริษัทจะบอกล้างสัญญา

กรณีที่ 8 กรมธรรม์ประกันภัยสิ้นผลบังคับ การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 8 กรมธรรม์ประกันภัยสิ้นผลบังคับ หากมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัยมีไม่เพียงพอที่จะชำระค่าการประกันภัย และค่าธรรมเนียม งวดประจำเดือนใด -บริษัทจะให้ความคุ้มครองเต็มเดือนนั้น -และหากผู้เอาประกันภัยยังไม่ได้ชำระเบี้ยประกันภัยภายใน เดือนนั้น กรมธรรม์ประกันภัยจะสิ้นผลบังคับเมื่อสิ้นเดือนนั้น วันที่ 3 เมษายน 2551 นาย ข ต้องชำระค่าการประกันภัย และค่าบริหารกรมธรรม์ประกันภัยดังนี้

การคำนวณเงินผลประโยชน์ ค่าการประกันภัย ประจำเดือนเมษายน 31.35 บาท ค่าบริหารกรมธรรม์ประกันภัย 20.08 บาท (รวม 31.35 + 20.08) 51.43 บาท มูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัยมีหน่วยลงทุนเหลือ 3 หน่วย ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุน (Bid Price) หน่วยละ 11.10 บาท ค่าขายหน่วยลงทุน (3 * 11.10) 33.30 บาท จำนวนเงินขายหน่วยลงทุน ทำให้ได้รับความคุ้มครอง (30 * 33.30/51.43) 19 วัน บริษัทจะคุ้มครองจนถึงวันที่ 2 พฤษภาคม 2551 หากนาย ข ไม่ชำระเบี้ยประกันภัยภายในวันที่ 2 พฤษภาคม 2551 กรมธรรม์ประกันภัยจะสิ้นผลบังคับ

กรณีต่ออายุกรมธรรม์ประกันภัย การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีต่ออายุกรมธรรม์ประกันภัย หากนาย ข มีความประสงค์จะต่ออายุกรมธรรม์ประกันภัย นาย ข จะต้อง ชำระเบี้ยประกันภัยและ ชำระหนี้สิน ในส่วนของหนี้สินคือค่าการประกันภัย และค่าบริหารกรมธรรม์ประกันภัยส่วนที่ขาด

นาย ข ต้องชำระหนี้สินเป็นจำนวน การคำนวณเงินผลประโยชน์ นาย ข ต้องชำระหนี้สินเป็นจำนวน 18.13 บาท (51.43 – 33.30)

กรณีที่ 9 หยุดพักชำระเบี้ยประกันภัย การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 9 หยุดพักชำระเบี้ยประกันภัย เมื่อถึงกำหนดชำระเบี้ยประกันภัย ผู้เอาประกันภัยไม่ชำระเบี้ยประกันภัย บริษัทจะขายหน่วยลงทุนชำระค่าการประกันภัยและค่าธรรมเนียมให้

ถาม-ตอบ

ขอบคุณ