อัตราส่วนการตายมารดาไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์สุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา
ก้าวต่อไปในการดำเนินงานโครงการสำคัญ
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
งานแม่และเด็ก เครือข่ายสุขภาพอำเภอกะปง
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
มาตรการ/กลวิธีสำคัญในการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
ระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นร้อยละ 9
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อัตราส่วนการตายมารดาไทย เป้าหมาย : ไม่เกิน 20 ต่อแสนการเกิดมีชีพ

สูตรคำนวณ อัตราส่วนการตายมารดาต่อการเกิดมีชีพแสนคน = (A/B) x ๑๐๐,๐๐๐

ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 1.ระบบบริหารจัดการและขับเคลื่อนการดำเนินงาน 2.การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และลดปัจจัยเสี่ยง 3.การสร้างภาคีเครือข่าย 4.ระบบบริการที่มีคุณภาพ

มาตรการดำเนินงาน มาตรการ เป้าหมาย ผลลัพธ์ที่ต้องการ 1.ใช้กลไกMCH board /Service plan /คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)ในการขับเคลื่อน ติดตาม และบริหารจัดการดำเนินงาน เพื่อป้องกันและลดการตายมารดาในพื้นที่ 1.ถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติ  2.การบริหารจัดการเพื่อลดการตายมารดา   1.การวิเคราะห์สถานการณ์การตายมารดาปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข 2.มีกลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม พร้อมทั้งมีการถ่ายทอดแผนปฏิบัติการและมาตรการในการป้องกันการตายมารดาสู่ผู้ปฎิบัติ 3.มีระบบเฝ้าระวังการตายมารดาและรายงานจำนวนมารดาตายรายเดือน

มาตรการดำเนินงาน มาตรการ เป้าหมาย ผลลัพธ์ที่ต้องการ 2.สร้างความตระหนักรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และครอบครัว สื่อสารความรู้เพื่อสร้างความตระหนักรู้ด้านสุขภาพแก่หญิงตั้งครรภ์และครอบครัว 1. มีการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ผ่านสื่อต่างๆ เช่นสื่อท้องถิ่น สื่อบุคคล สื่อดิจิตัลฯ 2. หญิงตั้งครรภ์ สามี หรือญาติเข้าร่วมกระบวนการโรงเรียนพ่อแม่ และใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 3. หน่วยบริการสนับสนุนการใช้โปรแกรมสื่อสารของหญิงตั้งครรภ์ (Rapid pro) 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีองค์ความรู้และทักษะในการสื่อสารสร้างความตระหนักรู้

มาตรการดำเนินงาน มาตรการ เป้าหมาย ผลลัพธ์ที่ต้องการ 3. สร้างการมีส่วนร่วมและเสริมพลังภาคีเครือข่าย เพื่อการบูรณาการงานอนามัยแม่และเด็กร่วมกับภาคีเครือข่าย 1.มีการประชุม MCH board เพื่อหาแนวทางการดำเนินงานและขับเคลื่อนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง 2. ประชุมสืบสวนการตายมารดาระดับเขต 3.ติดตามเยี่ยมเสริมพลัง/นิเทศงาน/การประเมินมาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก 4.ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์ 5.ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์

มาตรการดำเนินงาน มาตรการ เป้าหมาย ผลลัพธ์ที่ต้องการ 4. พัฒนาคุณภาพระบบบริการ ลดอัตราส่วนการตายมารดาไม่เกิน 20 ต่อแสนการเกิดมีชีพ 1.อัตราส่วนการตายมารดาไม่เกิน 20 ต่อแสนการเกิดมีชีพ 2.ร้อยละ 30 ของการตายมารดาจากการตกเลือดลดลงจากปี 2560 3.ร้อยละ 30 ของการตายมารดาจากความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ลดลงจากปี 2560 4.ร้อยละโรงพยาบาลผ่านมาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก 5.หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางน้อยกว่าร้อยละ 16

การตายมารดา ปีงบประมาณ2560 จำนวนมารดาเสียชีวิต เด็กเกิดมีชีพ MMR ตรวจราชการ ตค.59 -มิย.60 88 37,053 23.75 เฝ้าระวังการตายมารดา 110 622,100 17.68 สาเหตุการตายหลัก 1.ตกเลือด 2.ความดันโลหิตสูง 3.โรคทางอายุรกรรม

จำนวนแม่ตายรายเขตสุขภาพ ปี2560 จำนวนมารดาเสียชีวิต 1 14 2 9 3 5 4 11 6 16 7 8 10 12 21 ประเทศ 110 จำนวนแม่ตายรายเขตสุขภาพ ปี2560

สวัสดีค่ะ กลุ่มอนามัยแม่และเด็ก