อัตราส่วนการตายมารดาไทย เป้าหมาย : ไม่เกิน 20 ต่อแสนการเกิดมีชีพ
สูตรคำนวณ อัตราส่วนการตายมารดาต่อการเกิดมีชีพแสนคน = (A/B) x ๑๐๐,๐๐๐
ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 1.ระบบบริหารจัดการและขับเคลื่อนการดำเนินงาน 2.การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และลดปัจจัยเสี่ยง 3.การสร้างภาคีเครือข่าย 4.ระบบบริการที่มีคุณภาพ
มาตรการดำเนินงาน มาตรการ เป้าหมาย ผลลัพธ์ที่ต้องการ 1.ใช้กลไกMCH board /Service plan /คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)ในการขับเคลื่อน ติดตาม และบริหารจัดการดำเนินงาน เพื่อป้องกันและลดการตายมารดาในพื้นที่ 1.ถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติ 2.การบริหารจัดการเพื่อลดการตายมารดา 1.การวิเคราะห์สถานการณ์การตายมารดาปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข 2.มีกลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม พร้อมทั้งมีการถ่ายทอดแผนปฏิบัติการและมาตรการในการป้องกันการตายมารดาสู่ผู้ปฎิบัติ 3.มีระบบเฝ้าระวังการตายมารดาและรายงานจำนวนมารดาตายรายเดือน
มาตรการดำเนินงาน มาตรการ เป้าหมาย ผลลัพธ์ที่ต้องการ 2.สร้างความตระหนักรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และครอบครัว สื่อสารความรู้เพื่อสร้างความตระหนักรู้ด้านสุขภาพแก่หญิงตั้งครรภ์และครอบครัว 1. มีการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ผ่านสื่อต่างๆ เช่นสื่อท้องถิ่น สื่อบุคคล สื่อดิจิตัลฯ 2. หญิงตั้งครรภ์ สามี หรือญาติเข้าร่วมกระบวนการโรงเรียนพ่อแม่ และใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 3. หน่วยบริการสนับสนุนการใช้โปรแกรมสื่อสารของหญิงตั้งครรภ์ (Rapid pro) 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีองค์ความรู้และทักษะในการสื่อสารสร้างความตระหนักรู้
มาตรการดำเนินงาน มาตรการ เป้าหมาย ผลลัพธ์ที่ต้องการ 3. สร้างการมีส่วนร่วมและเสริมพลังภาคีเครือข่าย เพื่อการบูรณาการงานอนามัยแม่และเด็กร่วมกับภาคีเครือข่าย 1.มีการประชุม MCH board เพื่อหาแนวทางการดำเนินงานและขับเคลื่อนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง 2. ประชุมสืบสวนการตายมารดาระดับเขต 3.ติดตามเยี่ยมเสริมพลัง/นิเทศงาน/การประเมินมาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก 4.ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์ 5.ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์
มาตรการดำเนินงาน มาตรการ เป้าหมาย ผลลัพธ์ที่ต้องการ 4. พัฒนาคุณภาพระบบบริการ ลดอัตราส่วนการตายมารดาไม่เกิน 20 ต่อแสนการเกิดมีชีพ 1.อัตราส่วนการตายมารดาไม่เกิน 20 ต่อแสนการเกิดมีชีพ 2.ร้อยละ 30 ของการตายมารดาจากการตกเลือดลดลงจากปี 2560 3.ร้อยละ 30 ของการตายมารดาจากความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ลดลงจากปี 2560 4.ร้อยละโรงพยาบาลผ่านมาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก 5.หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางน้อยกว่าร้อยละ 16
การตายมารดา ปีงบประมาณ2560 จำนวนมารดาเสียชีวิต เด็กเกิดมีชีพ MMR ตรวจราชการ ตค.59 -มิย.60 88 37,053 23.75 เฝ้าระวังการตายมารดา 110 622,100 17.68 สาเหตุการตายหลัก 1.ตกเลือด 2.ความดันโลหิตสูง 3.โรคทางอายุรกรรม
จำนวนแม่ตายรายเขตสุขภาพ ปี2560 จำนวนมารดาเสียชีวิต 1 14 2 9 3 5 4 11 6 16 7 8 10 12 21 ประเทศ 110 จำนวนแม่ตายรายเขตสุขภาพ ปี2560
สวัสดีค่ะ กลุ่มอนามัยแม่และเด็ก