คบสอ.ตะพานหิน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ รพศ. ขนาด 562 เตียง.
Advertisements

ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2559.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต คัดเลือกโรงเรียนนำร่องรุ่นที่ 1 จำนวน ร้อยละ 10 ของโรงเรียนในสังกัด (43 โรงเรียน ) จำนวน 4 โรงเรียน -
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
นายรังสรรค์ ศรีล้วน สรุปผลการดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ 2558 ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี
การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอหนองโดน
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
จารุพร ตามสัตย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ(APN)
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
ศิลปะการทำงาน ให้ได้ผล คนพอใจ
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
การเบิกจ่าย ค่าชดเชยการรักษา (E-Claim palliative)
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
งานผู้สูงอายุ ตัวชี้วัดหลัก : ตำบลมีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ตัวชี้วัดรอง.
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ 1/61
ตำบลจัดการสุขภาพ.
ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (L0ng Term Care)
Change 59 Road Map “เปลี่ยน...เพื่อสิ่งที่ดีกว่า” แนวทางการปฏิบัติงาน
การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
1 ภารกิจด้าน อำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไป
ลูกรัก เก่ง ฉลาด ด้วย 3 ดี
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับอำเภอรอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561 อำเภอเมืองอ่างทอง วันที่ 11 มิถุนายน 2561.
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับจังหวัด รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561
วันที่ ๒๔ -๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
โภชนาการ เด็กวัยเรียน สิรภัทร สาระรักษ์ ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
ลงพื้นที่ตรวจราชการจังหวัดสุโขทัย รอบที่ ๒/๒๕๖๑
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
พระพุทธศาสนา.
ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
แผนงานปี 2561 กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
โรงพยาบาลดอยหล่อ อ.ดอยหล่อ จ.เชียงใหม่
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
เขตสุขภาพที่ 11 นพ. ประกอบ ลือชาเกียรติศักดิ์
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
การวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยใน (IPD)แบบประคับประคอง จังหวัดสกลนคร Discharge planning in Palliative care รายการ Assessment Planning/ผู้บันทึก D: Disease.
กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
โรงพยาบาลหนองบัวลำภู
สรุปผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คบสอ.ตะพานหิน

การดำเนินงานมะเร็ง 5 อวัยวะ คบสอ.ตะพานหิน

การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การวางแผนกลยุทธ์ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล การนำ ผลการดำเนินงาน การมุ่งเน้นผู้ป่วยและสิทธิผู้ป่วย การจัดการกระบวนการ

ชี้ทิศ ชี้เป้าหมาย ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ • เติมภูมิธรรม ภูมิปัญญา กลุ่มดี เสี่ยง ต้องไม่ป่วย แผนงานที่ 1,4,7,27 • เติมภูมิธรรม ภูมิปัญญา • ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม 3 อ 3 ส วิถีธรรม วิถีไทย สติปัฏฐาน 4 แผนที่ชีวิต แผนที่ชุมชน • การคัดกรอง CA ให้ครอบคลุมมากขึ้น (80%) • ปรับพฤติกรรมกลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยง (สูบบุหรี่, ดื่มสุรา) กลางน้ำ กลุ่มป่วยได้รับการรักษาทันท่วงที แผนงานที่ 12,17 • เติมภูมิธรรม ภูมิปัญญา • ผู้ป่วยสามารถลดหรือหยุดปัจจัยเสี่ยงได้ • กลุ่มป่วยปรับเปลี่ยน พฤติกรรม 3 อ 3 ส วิถีธรรม วิถีไทย สติปัฏฐาน 4 แผนที่ชีวิต แผนที่ชุมชน • กระตุ้นให้กลุ่มป่วยเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง (ผ่าตัด, เคมีบำบัด, รังสีรักษา) • ผู้ป่วยได้รับการเยี่ยมเสริมพลัง และทานยาอย่างต่อเนื่อง ปลายน้ำ ลดภาวะแทรกซ้อน ลดอัตราตาย แผนงานที่ 17 • มีการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (ทีมสหวิชาชีพ, ทีม Palliative, เวชภัณฑ์, ครุภัณฑ์ เช่น Syringe Driver,ที่นอนลม, สิ่งสนับสนุน เช่น Oxygen home therapy) • ดูแลญาติ/ Care Giver

สถานการณ์โรคมะเร็งอำเภอตะพานหิน 1º prevention 2º prevention 3º prevention ดี - เสี่ยง แผนงานที่ 1,4,7,27 คัดกรองมะเร็ง ปี 2560 - มะเร็งเต้านม (เป้า 80%) = 88.64% - มะเร็งปากมดลูก (เป้าสะสม 2558 – 2562 = 80 %) = 35.93% - มะเร็งลำไส้ (เป้า 80%) = 80% (พบผิดปกติ 214 ราย) FIT Positive 10 ราย Colonoscope 10 ราย พบเป็นมะเร็ง 0 ราย ป่วย แผนงานที่ 7,12,17 คัดกรองกลุ่มป่วย มะเร็งตับในกลุ่มป่วย ได้แก่ ผู้ป่วย Cirrhosis ไวรัสตับอักเสบบี หรือซี เรื้อรัง (เป้า 80%) ปี 60 = 54.21% จากการคัดกรองด้วย U/S ไม่พบผู้ป่วย อัตราป่วยรายใหม่มะเร็งที่เป็นปัญหา 5 อันดับแรกในปี 2558 - 2560 1. มะเร็งเต้านม 58 = 29.29, 59 = 29.55 และ 60 = 34.18 2. มะเร็งลำไส้ 58 = 33.68, 59 = 31.03 ,60 = 19.32 3. มะเร็งตับ 58 = 45.40, 59 = 22.17 ,60 = 19.32 4. มะเร็งปากมดลูก 58 = 10.25 , 59 = 19.21 ,60 = 10.40 5. มะเร็งปอด 58 = 14.65, 59 = 19.21 และ 60 = 5.94 แทรกซ้อน พิการ ตาย แผนงานที่ 12,17 อัตราตายต่อแสนประชากร ปี 2558 - 2560 ในผู้ป่วยมะเร็งทุกประเภท 58 = 144.99 และ 59 = 137.42 และ 60 = 65.38 อัตราตายมะเร็งที่เป็นปัญหา 5 อันดับแรก ในปี 2558 - 2560 ได้แก่ 1. มะเร็งตับ 58 = 49.79, 59 = 31.03 และ 60 = 22.29 2. มะเร็งปอด 58= 20.50, 59 = 17.73 และ 60 = 4.46 3. มะเร็งลำไส้ 58 = 4.39, 59 = 7.30 และ 60 = 4.46 4. มะเร็งเต้านม 58 = 29.29, 59 = 7.39 และ 60 = 2.97 5. มะเร็งปากมดลูก 58 = 1.46, 59 = 7.39 และ 60 = 1.49

มะเร็งตับ มะเร็งลำไส้ มะเร็งเต้านม มะเร็งปอด มะเร็งปากมดลูก

มะเร็งตับ มะเร็งเต้านม มะเร็งปอด มะเร็งลำไส้ มะเร็งปากมดลูก

กลุ่มเป้าหมาย มะเร็งลำไส้ใหญ่ กลุ่มอายุ 50 - 70 ปี 17,354 คน มะเร็งเต้านม กลุ่มสตรีอายุ 30 - 70 ปี 20,332 คน มะเร็งปากมดลูก กลุ่มสตรีอายุ 30 - 60 ปี 16,437 คน

การดำเนินกิจกรรม แผนงาน  ให้ความรู้ผ่านเสียงตามสาย/ แผ่นพับ  ประชาสัมพันธ์ แนะนำกลุ่มเสี่ยง  คัดกรองกลุ่มเสี่ยง - คัดกรองด้วยวาจา - Fit Test (กลุ่มเสี่ยงมะเร็งลำไส้) - Colonoscope - การตรวจเต้านมด้วยบุคลากรสาธารณสุข - Smart Pap smear - Colposcope - Ultrasound ในผู้ป่วยเสี่ยงมะเร็งตับ  รักษาด้วยการผ่าตัด (มะเร็งเต้านม/ลำไส้)  ส่งต่อเพื่อรับการรักษา

วิเคราะห์ตามกรอบอริยสัจ 4 โรค ทุกข์ นิโรธ สมุทัย มรรค มะเร็ง ร้อยละการคัดกรอง ปชก.กลุ่มเป้าหมายยังไม่เป็นไปตามเกณฑ์ - สตรี 30 – 70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยบุคลากรสาธารณสุข 80% - ร้อยละสตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม (2558-2562) เป้าปี 61 = 70% หรือ เพิ่มขึ้น 10% การค้นหายังไม่ ครอบคลุมปชก.กลุ่มเป้าหมาย -ค้นหากลุ่มเป้าหมายให้ครอบคลุม - ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ เช่น แผ่นพับ,เสียงตามสาย - ประสานภาคีเครือข่ายร่วมรณรงค์ และคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลารอคอยการผ่าตัดไม่เป็นไปตามเป้าหมาย - ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งได้รับการผ่าตัดภายใน 4 สัปดาห์ (ลำไส้,เต้านม) 80% - ระยะเวลารอคอยผลชิ้นเนื้อไม่เป็นไปตามเป้าหมาย - ผู้ป่วยยังไม่ยินยอมรับการรักษา - ประสานงานชันสูตรติดตามผลตรวจชิ้นเนื้อภายใน 10 วัน - ประสานรพ.พิจิตรเพิ่มการให้ข้อมูลผู้ป่วยเรื่องความสำคัญของการได้รับการผ่าตัดโดยเร็ว

วิเคราะห์ตามกรอบอริยสัจ 4 (ต่อ) โรค ทุกข์ นิโรธ สมุทัย มรรค มะเร็ง ระยะเวลารอคอยเคมีบำบัดไม่เป็นไปตามเป้าหมาย - ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดภายใน 6 สัปดาห์ (ลำไส้,เต้านม) 80% ผู้ป่วยไม่สะดวกในการเดินทางไปรับเคมีบำบัดตามใบส่งตัว ประสาน รพ.พิจิตรเพิ่มช่องทางพิเศษในการเข้าถึงบริการ ร้อยละผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้ายได้รับการดูแลแบบประคับประคองยังไม่เป็นไปตามเป้าหมาย - ร้อยละของ รพ.ที่มีการดูแลแบบประคับประคองเป้าปี 61 = 100% ยังไม่มีระบบ Palliative careในผู้ป่วยมะเร็งที่ชัดเจน มีการจัดทำระบบการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (CPG, Palliative Team)

กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระบบส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ มุ่งเน้นทรัพยากร บุคลากร เงิน การจัดการ ยุทธศาสตร์ที่ 1,2,3 PP,IP,OP กองทุนหลักประกันสุขภาพ เงินบำรุง กำหนดทิศทางร่วมกัน ทีมสหวิชาชีพ ค้นหากลุ่มเป้าหมาย ระบบส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ ทีม Palliative ให้บริการรักษา FCT อำเภอ FCT ตำบล FCT ชุมชน ทันเวลา - พัฒนาศักยภาพบุคลากรในทีม(อบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย) - เพิ่มบุคลากรในทีม เช่น นักสังคมสงเคราะห์ การติดตาม

ทุกขตา 3 (states of suffering) 1. ทุกขทุกขตา : สภาพทุกข์คือทุกข์ หรือความเป็นทุกข์เพราะทุกข์ (Painfulness as suffering) 2. วิปริณามทุกขตา : ความเป็นทุกข์เพราะความแปรปรวน ได้แก่ความสุข ซึ่งเป็นเหตุให้เกิดความทุกข์เมื่อต้องเปลี่ยนแปรไปเป็นอื่น (Suffering in change) 3. สังขารทุกขตา : ความเป็นทุกข์เพราะเป็นสังขาร ทำให้คงสภาพอยู่ไม่ได้ พร่องอยู่เสมอ (Suffering due to formations) สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต)