งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โภชนาการ เด็กวัยเรียน สิรภัทร สาระรักษ์ ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โภชนาการ เด็กวัยเรียน สิรภัทร สาระรักษ์ ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โภชนาการ เด็กวัยเรียน สิรภัทร สาระรักษ์ ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี

2 โรคขาดอาหาร....ภัยเงียบที่คุณมองข้าม

3 โรคอ้วน....ภัยใกล้ตัวคุณ

4 การประเมินภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก
ชั่งน้ำหนัก- วัดส่วนสูง แปลผลโดยจุดน้ำหนัก-ส่วนสูงในกราฟ ภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก แนวโน้มการเจริญเติบโตของเด็ก

5 ความหมายของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ เน้นการติดตามเป็นรายบุคคล
เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้น เป็นระยะๆ อย่าง สม่ำเสมอและต่อเนื่อง เพื่อให้รู้สถานการณ์ และ ดำเนินการส่งเสริมภาวะโภชนาการ ป้องกัน หรือ แก้ไขปัญหาทุพโภชนาการ เน้นการติดตามเป็นรายบุคคล

6 การชั่งน้ำหนัก และ วัดส่วนสูง

7 เทคนิคการชั่งน้ำหนัก เด็กที่จะชั่งน้ำหนัก
สิ่งที่ต้องคำนึงถึง เครื่องชั่งน้ำหนัก เด็กที่จะชั่งน้ำหนัก การอ่านค่าน้ำหนัก

8 การเตรียมเครื่องชั่งน้ำหนัก
เด็กวัยเรียน ให้ใช้เครื่องชั่งที่มีความละเอียด 0.5 กิโลกรัม

9 ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล กองโภชนาการ กรมอนามัย
ตรวจสอบเครื่องชั่งให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ก่อนทำการชั่งทุกครั้ง ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล กองโภชนาการ กรมอนามัย

10 วางเครื่องชั่งอยู่บนพื้นราบและปรับให้เข็ม
อยู่ที่เลข 0 ควรใช้เครื่องชั่งเดิมทุกครั้งในการติดตาม ภาวะโภชนาการ

11 การเตรียมเด็กที่จะชั่งน้ำหนัก
ควรชั่งน้ำหนักเมื่อเด็กยังไม่ได้รับประทาน อาหารจนอิ่ม ควรถอดเสื้อผ้าที่หนาๆ ออก ให้เหลือเท่าที่จำเป็น รวมทั้ง รองเท้า ถุงเท้า ของเล่น กระเป๋า

12 การอ่านค่าน้ำหนัก ให้อ่านน้ำหนักโดยอยู่ ตรงข้ามกับผู้ถูกชั่งใน
ลักษณะหันหน้าเข้าหากัน และตรงกับเข็มในเครื่องชั่ง ห้ามอ่านเฉียงๆ จาก ด้านข้างทั้ง 2 ด้าน

13 ในกรณีที่เข็มไม่ตรงกับตัวเลข ต้องอ่านน้ำหนัก
อย่างระมัดระวัง อ่านค่าให้ละเอียด มีทศนิยม 1 ตำแหน่ง เช่น 10.5 กิโลกรัม จดน้ำหนักให้เรียบร้อย ก่อนให้เด็กลงจาก เครื่องชั่ง

14 เทคนิคการวัดความยาวและส่วนสูง
ถอดรองเท้า ยืนบน พื้นราบ ตัวตรง หันด้านหลังไปชิด กับเครื่องวัดส่วนสูง เด็กอายุ 2 ปีขึ้นไป ส้นเท้า หลัง ก้น ไหล่ ศีรษะสัมผัส ไม้วัด

15 ยืดตัวขึ้นไปข้างบนให้เต็มที่ ไม่งอเข่า เท้าชิด

16 ศีรษะตรง ไม่เอียง ตามองตรงไป ข้างหน้า ถ้าเด็กผูกผม คาดผม ให้เอาออก ก่อนทำการวัด

17 ผู้วัดประคองหน้าให้ ขอบตาล่างอยู่ระดับ เดียวกับหูส่วนบน เลื่อนไม้ที่ใช้วัดให้ สัมผัสศีรษะพอดี อ่านค่าส่วนสูงให้ละเอียดถึง 0.1 เซนติเมตร เช่น เซนติเมตร

18

19

20

21 วัน เดือน ปี ที่ชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง
การคิดอายุ วัน เดือน ปี เกิด วัน เดือน ปี ที่ชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง

22 กราฟแสดงการเจริญเติบโต
มี 2 เกณฑ์ 1. ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ 2. น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง

23 กราฟแสดงการเจริญเติบโต น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง
ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ กราฟแสดงการเจริญเติบโต เพศชาย น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง

24 กราฟแสดงการเจริญเติบโต น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง
ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ กราฟแสดงการเจริญเติบโต เพศหญิง น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง

25 ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ แสดงผลของการกินอาหารในระยะยาว หรือในอดีตที่ผ่านมาเป็นเวลานาน สะท้อนถึงการเจริญเติบโตของเด็กได้ ดีกว่าน้ำหนัก เนื่องจากความสูงเกี่ยวข้องกับสารอาหารหลายชนิด

26 น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง
บอกให้รู้ถึงภาวะอ้วน-ผอม แสดงผลของการกินอาหารในระยะสั้น

27 น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง ข้อเด่น ข้อด้อยของตัวชี้วัด
น้ำหนักตามเกณฑ์อายุ ตามเกณฑ์ หนักมาก หนักมากๆ น้อย ผอมสูง ผอมมาก (สูง) เริ่มอ้วน สมส่วน (สูงใหญ่) สูง ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ ผอม สมส่วน เริ่มอ้วน น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง สูงตามเกณฑ์ น้อยมาก ผอม (เตี้ย) สมส่วน (เตี้ย) เริ่มอ้วน (เตี้ย) อ้วน (เตี้ย) เตี้ย ข้อเด่น ข้อด้อยของตัวชี้วัด

28 ลักษณะของการเจริญเติบโตที่ดี
ส่วนสูง เทียบกับอายุ น้ำหนัก เทียบกับส่วนสูง สูงกว่าเกณฑ์ ค่อนข้างสูง สูงตามเกณฑ์ สมส่วน

29 เด็กชายอายุ 8 ปี 7 เดือน น้ำหนัก 23.8 กก.
แนวโน้มการเจริญเติบโตของเด็ก ตัวอย่าง เด็กชายอายุ 8 ปี 7 เดือน น้ำหนัก กก. ส่วนสูง ซม.

30 ความหมายของแนวโน้มการเจริญเติบโต
ภาวะการเจริญเติบโตอยู่ในระดับขาดอาหาร มีการเจริญเติบโตอยู่ในระดับ “ผอม” แต่มีแนวโน้มการเจริญเติบโตดีขึ้น คือ เส้นการเจริญเติบโตเบนขึ้นเข้าหา เส้นบนของแถบสีเขียวอ่อน แสดงว่า น้ำหนักเพิ่มขึ้นดีแล้ว

31 เด็กชายอายุ 8 ปี 7 เดือน น้ำหนัก 23.8 กก.
แนวโน้มการเจริญเติบโตของเด็ก ตัวอย่าง เด็กชายอายุ 8 ปี 7 เดือน น้ำหนัก กก. ส่วนสูง ซม.

32 ส่งเสริม เด็กวัยเรียน มีการเจริญเติบโตดี

33 ปริมาณอาหารใน 1 วัน สำหรับเด็กวัยเรียน
กลุ่มอาหาร อนุบาล 3-5ปี เด็กอายุ 6-12 ปี 13-118ปี ข้าว-แป้ง (ทัพพี) 6 9 12 ผัก (ทัพพี) 3 4 5 ผลไม้ (ส่วน) เนื้อสัตว์ (ช้อนกินข้าว) 4.5 นมและผลิตภัณฑ์ (แก้ว) 2 น้ำมัน กะทิ น้ำตาล (ช้อนชา) ≤ 3/2 ≤ 4/3

34 ข้าว1ทัพพีให้พลังงาน 80 kcal

35

36 = ไข่ไก่ 1/2 ฟอง = เต้าหู้ขาว1/4 ชิ้น
เนื้อสัตว์ 1ช้อนกินข้าว ให้พลังงาน 25 กิโลแคอรี่ =ปลาทู 1 ช้อนแกง ( 1/2 ตัว ) = ไข่ไก่ 1/2 ฟอง = เต้าหู้ขาว1/4 ชิ้น = เต้าหู้หลอด 1/2 หลอด = เนื้อหมู 1 ช้อนกินข้าว

37

38

39 = ผักใบเขียวเข้ม 4 ทัพพี
นมพร่องไขมัน 1แก้ว (200 ซีซี ) ให้พลังงาน 96 กิโลแคลอรี่ อาหารทดแทนนม (Ca) = โยเกริ์ต 1 ถ้วย = ปลาเล็กปลาน้อย 2 ช้อน = ปลาซาร์ดีน 1-2 ชิ้น = ผักใบเขียวเข้ม 4 ทัพพี

40

41 การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

42 การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
พฤติกรรมการบริโภคอาหารแต่ละข้อใน แบบประเมิน เป็นพฤติกรรมที่เหมาะสม

43 แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กวัยเรียน
พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติ 1. กินอาหารเช้าที่มีกลุ่มอาหารอย่างน้อย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มข้าว-แป้งและเนื้อสัตว์ ทุกวัน 2. กินอาหารหลัก วันละ 3 มื้อ (เช้า กลางวัน เย็น) ทุกวัน 3. กินอาหารว่าง วันละ 2 ครั้ง (ช่วงสายและช่วงบ่าย) ทุกวัน 4. ปริมาณอาหารที่บริโภคในแต่ละกลุ่ม 4.1 กินอาหารกลุ่มข้าว-แป้ง วันละ 3 ทัพพี ทุกวัน 4.2 กินอาหารกลุ่มผักวันละ 2 ทัพพี ทุกวัน 4.3 กินอาหารกลุ่มผลไม้ วันละ 3 ส่วน ทุกวัน 4.4 กินอาหารกลุ่มเนื้อสัตว์ วันละ 3 ช้อนกินข้าว ทุกวัน 4.5 ดื่มนมจืด วันละ 2 แก้วหรือกล่อง ทุกวัน

44 การส่งเสริมป้องกัน และแก้ไขปัญหา
เด็กที่มีการเจริญเติบโตดี เด็กที่เสี่ยงต่อการขาดอาหารหรืออ้วน เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ

45 เด็กที่มีการเจริญเติบโตดี สูงกว่าเกณฑ์ ค่อนข้างสูง หรือสูงตามเกณฑ์
และสมส่วน

46 1. ให้คำแนะนำ/ปรึกษาในเรื่องอาหารตามวัยและพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสม
กินอาหารให้ครบ 6 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มข้าว-แป้ง กลุ่มผัก กลุ่มผลไม้ กลุ่มเนื้อสัตว์ กลุ่มนม กลุ่มน้ำมัน น้ำตาล ในปริมาณที่เหมาะสมตามวัยและควรกินให้หลากหลาย

47 2. กินอาหารที่เป็นแหล่งธาตุเหล็กสัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง เช่น ตับ เลือด เนื้อสัตว์โดยเฉพาะเนื้อแดง และควรกินอาหารที่มีวิตามินซีสูง ร่วมด้วย เช่น ฝรั่ง ส้มมะขามป้อม มะปรางสุก มะละกอสุก เป็นต้น เพื่อช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็ก

48 3. กินอาหารที่เป็นแหล่งแคลเซียมทุกวัน เช่น
นม โยเกิร์ต ปลาเล็กปลาน้อย ปลาร้ากินทั้งกระดูก ปลากระป๋อง เต้าหู้แข็ง-อ่อน สัตว์ตัวเล็กที่กินทั้งตัวและกระดูก ได้แก่ กบ/เขียด/อึ่งแห้ง/แย้/กิ้งก่า เป็นต้น กุ้งแห้ง กุ้งฝอย กะปิ

49 4. กินอาหารที่เป็นแหล่งวิตามินเอเป็นประจำ : ผัก-ผลไม้สีเหลือง/ส้ม
การมองเห็น การเจริญเติบโตของเซลล์ ระบบภูมิคุ้มกันโรค

50 5. กินอาหารระหว่างมื้อ ก่อนเวลาอาหาร 1 ½-2 ชม
5. กินอาหารระหว่างมื้อ ก่อนเวลาอาหาร 1 ½-2 ชม. ได้แก่ อาหารว่างเช้าและบ่าย โดยเลือกอาหารว่างที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เช่น นมจืด ผลไม้ ขนมไทยรสไม่หวานจัด เช่น เต้าส่วน กล้วยบวดชี ฟักทองแกงบวด ข้าวต้มมัด ข้าวเหนียวถั่วดำ เป็นต้น

51 6. ให้ยาเม็ดธาตุเหล็ก สัปดาห์ๆ ละ 1 เม็ดเพื่อป้องกันการขาดธาตุเหล็ก
เด็กขาดธาตุเหล็กจะส่งผลต่อการพัฒนาการเรียนรู้โดยเฉพาะในเด็กอายุ 2 ปีแรกจะบกพร่องการเรียนรู้อย่างถาวร

52 7. ใช้เกลือหรือน้ำปลาเสริมไอโอดีนในการปรุงอาหารกลางวันทุกครั้ง เพื่อป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
เด็กที่ขาดสารไอโอดีน จะมีผลทำให้การ เจริญเติบโตและการเรียนรู้ช้า

53 8. โรงเรียนจัดอาหารกลางวันและอาหารว่างที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบ 6 กลุ่มอาหาร
9.อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี 10.นอนหลับอย่างน้อยวันละ 8 ชั่วโมง

54 11. ส่งเสริมให้เด็กออกกำลังกายเป็นประจำ
เช่น เล่นบาสเก็ตบอล กระโดดเชือก ช่วยกระตุ้นการสร้างมวลกระดูกและเพิ่มความยาวของกระดูก

55 การติดตามภาวะโภชนาการ

56 ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ทุก 2 สัปดาห์สำหรับกลุ่มเสี่ยง ทุก 1 สัปดาห์สำหรับกลุ่มขาดอาหารและเด็กอ้วน เปลี่ยนความถี่ในเดือนที่ 2 เป็นทุก 2 สัปดาห์สำหรับเด็กขาดอาหารและเด็กอ้วน และทุกเดือนในเด็กกลุ่มเสี่ยง หลังจากนั้น ประเมินทุกเดือนในเด็กขาดอาหารและเด็กอ้วน และทุก 2 เดือนในกลุ่มเสี่ยง

57 การเยี่ยมบ้าน เด็กขาดอาหาร เด็กอ้วน เด็กกลุ่มเสี่ยง
เยี่ยมบ้านอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อดูชนิดอาหาร สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกบ้าน เช่น การเตรียมอาหาร การปรุงอาหาร การกำจัดขยะ หากไม่เหมาะสม ให้คำแนะนำ

58 โภชนาการอ้วน (เริ่มอ้วน/อ้วน และเสี่ยงต่อภาวะอ้วน(ท้วม)
เด็กวัยเรียน ชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูงและแปลผล โดยใช้เกณฑ์ของกรมอนามัย 3 เกณฑ์ (นน/อายุ,สส/อายุ,นน/สส) ประเมินภาวะโภชนาการ กลุ่มที่ 1 โภชนาการดี/ปกติ (สูงกว่าเกณฑ์ ค่อนข้างสูง หรือสูงตามเกณฑ์ และสมส่วน) กลุ่มที่ 2 โภชนาการขาดสารอาหาร (น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ /เตี้ย/ผอม)และเสี่ยงต่อการขาดสารอาหาร (น้ำหนักค่อนข้างน้อย/ค่อนข้างเตี้ย/ค่อนข้างผอม) กลุ่มที่ 3 โภชนาการอ้วน (เริ่มอ้วน/อ้วน และเสี่ยงต่อภาวะอ้วน(ท้วม) -แนะนำการบริโภคอาหาร -ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร กลุ่ม 1 นัดตามปกติ กลุ่ม 2 นัด 1 เดือน กลุ่ม 3 นัด 1 เดือน ส่งพบแพทย์ พบนักโภชนากร พฤหัสบดีที่ 1,3

59 แบบฟอร์มภาวะการเจริญเติบโตของเด็กเป็นรายคน
หมู่บ้าน/ศูนย์เด็ก ตำบล อำเภอ จังหวัด งวดที่ ปีงบประมาณ ลำดับที่ รายชื่อเด็ก ที่อยู่ อายุ (ปี/เดือน) เพศ น้ำหนัก (กิโลกรัม) ส่วนสูง (เซนติเมตร) ตามเกณฑ์อายุ ตามเกณฑ์ส่วนสูง

60 รายงานภาวะการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6-18 ปี งวดที่.......... ปีงบประมาณ.................
ตำบล/อำเภอ/จังหวัด หมู่บ้าน/ตำบล/อำเภอ จน.เด็ก 0-5 ปีทั้งหมด (คน) 0-5 ปีที่ชั่ง (คน) ความครอบคลุม (ร้อยละ) ภาวะการเจริญเติบโตโดยใช้น้ำหนักตามเกณฑ์อายุ (ร้อยละ) มากกว่าเกณฑ์ ค่อนข้าง มาก น้ำหนักตามเกณฑ์ ค่อนข้างน้อย น้อยกว่าเกณฑ์ รวมทั้งหมด

61 เด็กไทยเติบโตสมวัย ฉลาดแข็งแรง
สวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt โภชนาการ เด็กวัยเรียน สิรภัทร สาระรักษ์ ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google