งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ 1. ระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ 1.1 ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ 1.2 จำนวนหน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุข

2 รายงานผลการดำเนินงาน
เขตสุขภาพ(จังหวัด)ที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ จังหวัดจันทบุรี เขตสุขภาพที่ 6 การตรวจราชการ รอบที่1/2562 คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ สนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ ข้อมูล ณ วันที่ 31 มกราคม 2562

3 การบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ จังหวัดจันทบุรี
มีระบบการบริหารจัดการข้อมูลด้านกำลังคนอย่างมีประสิทธิภาพ 1 1.1 ข้อมูลบุคลากรสาธารณสุขเป็นปัจจุบัน 1.2 มีรายงานสถิติกำลังคน 1.3 มีการใช้ประโยชน์จากข้อมูลฯ การบริหารตำแหน่ง ข้าราชการ ตน. 45 ตน. การวางแผนกำลังคน พนักงาน ราชการ 7 ตน. การวิเคราะห์ภาระงาน สนับสนุนการตัดสินใจ ของผู้บริหาร ใบประกอบวิชาชีพ วุฒิการศึกษา คำสั่งเลื่อนเงินเดือน (1) จำนวนบุคลากรสาธารณสุข ที่ปฏิบัติงานจริง รวม 4,444 คน (2) จำนวนการสูญเสีย บุคลากรรวมรวม 59 คน (3) ข้อมูลตำแหน่งว่าง 52 ตน. จากตำแหน่งที่มีทั้งหมด 2,544 ตน. บุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ 4 มีการดำเนินการตามแผน 3 มีแผนบริหารตำแหน่ง 2 ร้อยละของตำแหน่งว่างลดลง 1. แผนกำลังคน 2. แผนบริหารตำแหน่งฯ 3. แผนพัฒนาบุคลากร x100 = บุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ 63.41% 2,135 x100 = ตำแหน่งว่างคงเหลือ 3.81 % 97 3,367 2,544

4 การบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ
- ผู้ใช้ยังไม่สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลในระบบ HROPS ได้อย่างเต็มที่ เนื่องจากขาดองค์ความรู้ ความเข้าใจในการใช้โปรแกรม เช่น การรายงานผลข้อมูลย้อนหลัง - ระเบียบการสรรหา, การประเมินผลงานวิชาการเข้าสู่ตำแหน่ง ต้องใช้ระยะเวลา ส่งผลให้ไม่สามารถดำเนินการใช้ตำแหน่งได้ตามที่กำหนด เห็นควรจัดอบรมการใช้โปรแกรม HROPH ให้กับบุคลากรในส่วนภูมิภาค เพื่อสามารถใช้ประโยชน์จากโปรแกรม HROPH ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประเด็น ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ

5 จำนวนหน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุข
สถานการณ์ จำนวนหน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุข - ปี 2561 หน่วยงานในสังกัด 23 แห่ง ดำเนินงานองค์กรสร้างสุข ทุกแห่ง ผ่านเกณฑ์ดังนี้ ร้อยละ 70 ของบุคลากรในองค์กรประเมิน Happinometer & HPI รายการ จำนวนทั้งหมด ตอบแบบประเมิน ร้อยละ Happinometer 4,642 3,652 78.59 % HPI 357 309 86.55 % 47.% 52.17 % ข้อมูล ณ 20 ม.ค. 2562 ปัญหาอุปสรรค ในการดำเนินงานรอบ 3 เดือน 11 แห่ง 12 แห่ง ระดับ 4 ระดับ 5 Admin ระดับหน่วยงาน ลงข้อมูลผู้ตอบแบบประเมินไม่ถูกต้อง ซึ่งต้องให้ผู้ดูแลระบบของกระทรวงเป็นผู้แก้ไขข้อมูลให้ ผู้ประเมินกรอกข้อมูลผิด ทั้งรหัสสถานบริการหรือหมายเลขบัตรประชาชน ซึ่งต้องส่งให้ Admin กระทรวงเป็นผู้แก้ไขข้อมูลให้ ในส่วนของระบบที่มีการปรับปรุง Server ส่งผลให้การทำงานของ Server ช้าลง หรือในบางเวลาที่มีผู้ใช้บริการจำนวนมาก ส่งผลให้เข้าระบบไม่ได้ หรือเข้าได้แต่การประมวลผลช้า กลุ่มเป้าหมายมีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากมีผู้ลาออก ส่งผลกระทบต่อร้อยละของผู้ประเมิน และการแก้ไขจำนวนกลุ่มเป้าหมายต้องให้ Admin กระทรวงแก้ไข โดยส่งมา mail ซึ่งค่อนข้างล่าช้า - ปี 2561 ได้กำหนดค่าดัชนีความสุข ของคนทำงานเป็นตัวชี้วัด และมีการ ประเมิน Hppinometer พบว่า ค่าดัชนีความสุขเพิ่มขึ้น จากปี 2560 ร้อยละ เป็น ร้อยละ 63.41

6 คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
2. ระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ 2.1 ร้อยละของ รพ. สังกัด กสธ. มีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัด สป. ที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด 2.3 ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีนวัตกรรมการบริหารจัดการ ร้อยละ ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA 2.5 ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัด สป.มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุม ภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด

7 ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 (รพศ. 100% / รพช. 90%) ผลดำเนินงาน ปี 2562 สรุป ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ 1. รพศ. 1 100 ผ่าน 2.รพช. 11 10 90.91 หมายเหตุ : รพช.แก่งหางแมว ส่งเอกสารให้สรพ.แล้ว รอกำหนดวันประเมินรับรองจาก สรพ. Key Success Factor โอกาสพัฒนา ทุกโรงพยาบาลรวมเป็นเครือข่ายเดียวกันทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่ายและมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาร่วมกัน ทีมพี่เลี้ยงQLN ที่เข็มแข็งและมีประสบการณ์ในแต่ละระบบตามมาตรฐาน HA มีระบบให้คำปรึกษาและช่วยเหลือสนับสนุน แต่ละระบบในเชิงลึก ระหว่างพี่เลี้ยงและเครือข่าย ผู้บริหารทุกโรงพยาบาลให้ความสำคัญและสนับสนุนการพัฒนางานคุณภาพ การพัฒนาสู่จังหวัดคุณภาพ

8 ปี 2561 ผลงาน : ผ่านตามเกณฑ์
ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ ที่กำหนด (ระดับ 5) ปี 2561 สสจ.และสสอ.2 แห่ง (สสอ.เมือง และ สสอ.แก่งหางแมว) ปัจจุบันยังคงรักษาสภาพหมวด 1 และหมวด 5 ไว้ (Maintain) ปี 2562 เป้าหมาย สสจ. และ สสอ.4 แห่ง ดำเนินการตาม Small success คือ ทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร/ประเมินองค์กร/จัดทำ KPI และแผนพัฒนาองค์กร ในหมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์/หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ผลงาน : ผ่านตามเกณฑ์ สสจ. ดำเนินการตามเกณฑ์ ระดับ 5 สสอ. 10 แห่ง ดำเนินการตามเกณฑ์ ระดับ 5 จำนวน 8 แห่ง

9 จังหวัดที่มีนวัตกรรมการบริหารจัดการ (PA)
สถานการณ์ : ในปี 2562 กระทรวงสาธารณสุข กำหนดให้มีการพัฒนาระบบบริหารจัดการ โดยมุ่งเน้นให้หน่วยบริหาร และ หน่วยบริการ คิดนวัตกรรมการบริหารจัด 3 ประเด็น จัดระบบ primary fund Service and HR Blueprint 3) Initiative Management Model แนวคิด : การบริหารจัดการร่วม ระหว่าง โรงพยาบาลท่าใหม่ กับโรงพยาบาลสองพี่น้อง สืบเนื่องจากจังหวัดจันทบุรีมี 10 อำเภอ มีโรงพยาบาลชุมชนทั้งสิ้น 11 แห่ง อำเภอละ 1 แห่งยกเว้น อำเภอท่าใหม่ มี โรงพยาบาลชุมชน 3 แห่งคือ โรงพยาบาลท่าใหม่ โรงพยาบาลเขาสุกิม และโรงพยาบาลสองพี่น้อง

10 ผลการดำเนินการ รพ. สองพี่น้อง รพ. ท่าใหม่
1.ประชุมหารือร่วมกันระดับจังหวัด 2.ประชุมเครือข่ายในระดับอำเภอท่าใหม่ 3.ศึกษา/วิเคราะห์ข้อมูล ความเป็นไปได้ 1.บริหารข้อมูลร่วม ในประเด็น )ราคาสินค้าในการจัดซื้อจัดจ้าง )เทียบเคียงระบบข้อมูลด้านการเงินบัญชี 2.บูรณาการการทำงาน - การประชุมร่วม การบริหารบุคลากรร่วม บูรณาการห้องปฏิบัติการนอกเวลาราชการและยานพาหนะ 3.บริหารพัสดุร่วม - วัสดุสำนักงาน ในรูปแบบการตกลงร่วม 4.บริหารยาร่วม - เลือกบริษัท ที่จะจัดซื้อร่วมกัน และวางแผนสำรองยาร่วมกันในส่วนของ ยาที่เป็นยาทีมีอัตราการใช้น้อย 5.บริหารจัดการหน่วยจ่ายกลางร่วม - กำหนดให้โรงพยาบาลสองพี่น้องเป็นผู้ดำเนินการหน่วยจ่ายกลาง ของทั้งสองโรงพยาบาล รพ. สองพี่น้อง รพ. ท่าใหม่

11 หน่วยงานผ่านเกณฑ์ประเมิน EB 1-4 ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง ทุกแห่ง
ร้อยละของหน่วยงานในสังกัด สป. ผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA เกณฑ์เป้าหมาย : ร้อยละ 100 สถานการณ์ : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี มีหน่วยงานในสังกัดที่ต้องประเมินตนเอง (Self-Assessment ตามแบบประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Based Integrity and Transparency Assessment: EBIT) จำนวน 23 หน่วยงาน ประกอบด้วย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 10 แห่ง โรงพยาบาลศูนย์พระปกเกล้า และ โรงพยาบาลชุมชน จำนวน 11 แห่ง และผ่านการประเมินตามเกณฑ์ทุกแห่ง คะแนนเฉลี่ยรวมทั้งจังหวัด 99.40 แผนพัฒนางาน : 1.เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดตามเกณฑ์ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงาน 1) พัฒนาบุคลากร ด้านการบริหารการจัดซื้อจัดจ้าง การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและการป้องกัน ผลประโยชน์ทับซ้อน 2) การประกาศเจตจำนงสุจริต 2.เพิ่มคุณภาพการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส 1) ทบทวนและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเกณฑ์การประเมินให้กับทุกหน่วยงาน 2) กำกับ ติดตามการดำเนินงานประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสประเมิน ในเดือน ธันวาคม มีนาคม และ พฤษภาคม 2562 ผลงานไตรมาส 1 หน่วยงานผ่านเกณฑ์ประเมิน EB 1-4 ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง ทุกแห่ง

12 ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 1 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100 ค่าเป้าหมาย EB 1-4 ผ่านเกณฑ์ระดับ 5
ไม่ผ่าน

13 ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 1 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100 ค่าเป้าหมาย EB 1-4 ผ่านเกณฑ์ระดับ 5
ไม่ผ่าน

14 ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
“ประกาศเจตจำนงสุจริต” วันที่ 30 พฤศจิกายน 2561 “ติดตามกำกับงาน” ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ ในกำกับสำนักงานสาธารณสุขจันทบุรี เพื่อให้ผ่านเกณฑ์ระดับความคาดหวังในไตรมาสที่ 1 วันที่ 24 ธันวาคม 2561

15 ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัด สป
ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัด สป.มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด(เกณฑ์เป้าหมาย : ร้อยละ 100) สถานการณ์ :สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี มีการกำกับดูแลระบบควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด โดยใช้กลไกลการตรวจสอบภายในทุกหน่วยงานในสังกัด ใช้แบบประเมินประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังระบบควบคุมภายใน5 มิติ กำกับให้หน่วยบริการประเมินระบบควบคุมภายในด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Internal Audit : EIA) วิเคราะห์ผลการดำเนินงานปี2561 พบว่า 1.ในด้านการนำผลการประเมิน 5 มิติมาวางแผนพัฒนา พบว่ายังไม่สอดคล้องกับประเด็นที่ไม่ผ่าน 2.จากการสุ่มตรวจสอบ พบว่าการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์และเวชภัณฑ์มิใช่ยาของโรงพยาบาลยังไม่เป็นไปตามระเบียบ แผนพัฒนา ปี 2562 : 1. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบประเมินระบบควบคุมภายในด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Internal Audit : EIA) ทุกหน่วยบริการ 2.ประเมินประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังระบบควบคุมภายใน 5 มิติ ตามคู่มือการประเมินระบบการควบคุมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ของกลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 3. แผนการตรวจสอบภายในประจำปี 2562 ระหว่างเดือน ธันวาคม – มีนาคม 2562( 5มิติและ การจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์และเวชภัณฑ์มิใช่ยา) 4.การตรวจสอบงบการเงินของโรงพยาบาลชุมชน เป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้งบการเงินมีความถูกต้องและเป็นไปในแนวทางเดียวกันทั้งจังหวัด

16 คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน
การจัดบริการสุขภาพ 3. การบริหารจัดการประสิทธิภาพ 3.1 เขตสุขภาพดำเนินการ digital transformation อย่างน้อย เขตละ 1 จังหวัด 3.2 การใช้ Application สำหรับ PCC ใน PCC ทุกแห่ง 3.3 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงินระดับ 7

17 จังหวัดมีการดำเนินงาน Digital Transformation เพื่อก้าวสู่การเป็น Smart Hospital(PA) เกณฑ์เป้าหมาย : รพศ. 1 แห่ง, ร้อยละ 50 ของ รพช. สถานการณ์ จังหวัดจันทบุรี มีโรงพยาบาลทั้งสิ้นจำนวน 12 แห่ง ประกอบด้วยโรงพยาบาลศูนย์(Aจำนวน 1 แห่ง และโรงพยาบาลชุมชนขนาดกลาง (F2) 7 แห่ง โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ (F1) 4 แห่ง ทุกโรงพยาบาลมีการใช้ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ สนับสนุนการจัดบริการผู้ป่วย 1.อบรมการทำ Application ทุก รพ. 2.ขับเคลื่อน Smart Hospital ศึกษาดูงาน รพ.พหลพลพยุหเสนา และ โรงพยาบาลด่านมะขามเตี้ย 3.สร้างทีมงานเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และ Co-working space ออนไลน์ แผนพัฒนา ปี 2562 ยกระดับคุณภาพการบริการในหน่วยบริการสุขภาพ ให้ทันสมัยและได้มาตรฐาน ด้วยการนำเทคโนโลยีด้านดิจิทัล มาประยุกต์ใช้ร่วมกับระบบสารสนเทศที่มีอยู่

18 ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ผลการดำเนินงาน Digital Transformation เพื่อก้าวสู่การเป็น Smart Hospital ระบบคิว Online Less Paper การใช้Application ในระบบบริการ ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (E-สารบรรณ) ระบบ HIS Gateway ยังไม่ได้ใช้ระบบคิว Online ทั้ง 12 แห่ง มีเพียง โรงพยาบาลเขาคิชฌกูฏ ได้ดำเนินการลงทะเบียนประวัติออนไลน์ และรพช.บางแห่งอยู่ในระหว่างการพัฒนาระบบคิวในรพ. มีระบบ Less Paper to OPD Card 1. ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์อย่างเดียว 7 แห่ง 2. ใช้ทั้ง 2 ระบบ(อิเล็กทรอนิกส์และกระดาษคู่กัน) 5 แห่ง ใช้ KSK Application สำหรับการเยี่ยมบ้าน ที่พัฒนาโดยโรงพยาบาลเขาสุกิม และขยายสู่การปฏิบัติใน โรงพยาบาลชุมชนและรพ.สต.ทุกแห่ง 1. ใช้รูปแบบเดียวกับระดับจังหวัด รพช. 11 แห่ง 2. ใช้ภายในโรงพยาบาลเท่านั้น 1 แห่งคือ โรงพยาบาลพระปกเกล้า 1.ติดตั้งระบบ HIS Gateway เสร็จเรียบร้อย 10 แห่งอีก 2 แห่ง ที่ยังไม่ได้ติดตั้ง คือ รพ.เขาสุกิม และ รพ.สองพี่น้อง 2.ดำเนินการใช้ Application H4U จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ รพ.นายายอามและ รพ.แก่งหางแมว

19 มีการใช้ Application สำหรับ PCC ในหน่วยบริการปฐมภูมิ(PA)
เกณฑ์เป้าหมาย : ร้อยละ 100 สถานการณ์ : จังหวัดจันทบุรี มี PCC ที่เปิดดำเนินการในปัจจุบัน 6 PCC คือ 1) PCC รพ.เมือง 2) PCC จันทนิมิต 3) PCC คลองนารายณ์ 4) PCC รพ.ขลุง 5) PCC รพ.เขาสุกิม 6) PCC รพ.เขาคิฌชกูฎ ผลงาน : 1.ทั้ง 10 FCT มีการใช้ Web Application KSK Home Health Care 2.รอการพัฒนา Application สำหรับ PCC จากส่วนกลาง

20 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน (ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4)
เป้าหมาย หน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงินระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4 มาตรการ 1.หน่วยบริการได้รับการจัดสรรที่พอเพียงต่อการให้บริการมีรายได้ ไม่ต่ำกว่า ค่าใช้จ่าย 2.พัฒนาการบริหารระบบบัญชี 3.สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ 4.ติดตาม กำกับเครื่องมือ ประสิทธิภาพทางการเงิน

21 ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2562 (ณ ธันวาคม 2561)
ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100 ระดับ ค่าเป้าหมาย ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4

22 สรุปผลการดำเนินงานตามมาตรการด้านการเงินการคลังสุขภาพจังหวัดจันทบุรี ปี 2562

23 ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ
ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จ ปัญหาอุปสรรค 1. การเปลี่ยนบุคลากรด้านบัญชี ทำให้มีผลกระทบต่อการเรียนรู้เรื่องการบันทึกบัญชี ข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์จึงไม่ครบถ้วน ถูกต้อง รวมทั้งระบบการบริหารจัดการไม่ต่อเนื่อง 2. ขาดองค์ความรู้ด้านบัญชี ด้านการบริหารการเงินการคลัง และทักษะของผู้ปฏิบัติงาน/ผู้ปฏิบัติงานใหม่(ลูกจ้าง) 3. ความร่วมมือภายในองค์กร และโปรแกรมบัญชี ในหน่วยบริการ ต้องการความร่วมมือจากทุกฝ่ายในหน่วยบริการ 1. ผู้บริหารให้ความสำคัญในการมีและใช้แผนทางการเงิน 2. การดำเนินงานควบคุมภายใน ที่มีโครงสร้าง ปฏิบัติตามกระบวนงาน ข้อระเบียบ มีส่วนส่งผลให้สถานการณ์การเงินมีแนวโน้มในทางที่ดีขึ้น 3. มีการกำกับแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกับแผนการเงินและกำกับติดตามทุกเดือน 4. มีคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังระดับจังหวัด และระดับโรงพยาบาล มีการติดตามสถานการณ์การเงินในการประชุมของคณะกรรมการอำนวยการในคณะกรรมการบริหารระบบและเครือข่ายบริการสุขภาพ จังหวัดจันทบุรี (คอจ.) ทุกเดือน 5. โรงพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี ให้ความอนุเคราะห์หนี้ค่าบริการทางการแพทย์ ให้กับโรงพยาบาลชุมชนทุกแห่ง ตั้งแต่ ปีงบประมาณ เป็นเงินจำนวน 87,031,502 บาท ข้อเสนอแนะ 1. ควรใช้ระบบข้อมูล/เทคโนโลยีสารสนเทศ มาสนับสนุนการทำงานด้านการเงินและบัญชีเพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็ว ลดขั้นตอนและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน 2. ควรมีการพัฒนาศักยภาพการเงินการคลังสำหรับผู้บริหาร และคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังระดับหน่วยบริการ อย่างต่อเนื่อง

24 ทีมPCC ทั้งหมดที่ขึ้น
สรุปผลการดำเนินงาน คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ ไตรมาส 1 ( 1 ตุลาคม ธันวาคม 2561) ที่ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย small success 3 เดือน ผลงาน ผลประเมิน 1 ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 75 ผ่าน 2 จำนวนหน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุข 2.1 ร้อยละของบุคลากรในองค์กรประเมิน Happinometer ร้อยละ70 77.11 2.2 ร้อยละของบุคลากรในองค์กรประเมิน HPI 77.53 3 เขตสุขภาพมีการดำเนินงาน Digital Transformation เพื่อก้าวสู่ การเป็น Smart Hospital รพศ.1 แห่ง รพช. ร้อยละ 50 1 แห่ง100 4 มีการใช้ Application สำหรับ PCC ใน PCC ทุกแห่ง ทีมPCC ทั้งหมดที่ขึ้น ทะเบียน รอส่วนกลาง 5 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงินระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4

25 เพิ่มขึ้นจากฐานข้อมูล
สรุปผลการดำเนินงาน คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ ไตรมาส 1 ( 1 ตุลาคม ธันวาคม 2561) ที่ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย small success 3 เดือน ผลงาน ผลประเมิน 6 ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐาน ผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 รพศ. ร้อยละ100 รพช. ร้อยละ 90 100 90.91 ผ่าน 7 ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด 7.1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ร้อยละ 70 7.2 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 80 8 จำนวนนวัตกรรม หรือเทคโนโลยีสุขภาพที่คิดค้นใหม่ หรือที่พัฒนาต่อยอด - ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีนวัตกรรมการบริหารจัดการ (ร้อยละ 100) เพิ่มขึ้นจากฐานข้อมูล กรมวิทย์ 8 เรื่อง 1 เรื่อง 9 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ การประเมิน ITA ร้อยละ 90 10 ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัด สป.มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด


ดาวน์โหลด ppt คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google