รายวิชา การบริหารการศึกษา การติดต่อสื่อสาร
รายวิชา การบริหารการศึกษา ในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของธุรกิจหรือหน่วยงานใด ๆ ก็ตามจะต้องอาศัยการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน โดยมีจุดประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนข่าวสาร ข้อมูล ความรู้ ความคิด อันก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน นอกจากนี้ การติดต่อสื่อสาร (Communication) ยังช่วยให้การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของหน่วยงานเป็นไปอย่างถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ก่อให้เกิดผลสำเร็จในการปฏิบัติงาน การติดต่อสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสาร รายวิชา การบริหารการศึกษา การติดต่อสื่อสาร (Communication) หมายถึง การส่งข้อมูลข่าวสารจากบุคคลหนึ่งไปยังบุคคลหนึ่ง หรือหลายคน เพื่อให้เข้าใจความหมายของข้อมูลข่าวสารที่ผู้ส่งส่งไป และเกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน ซึ่งการส่งข่าวสารอาจอยู่ในรูปของการสื่อสารด้วยวาจา ลายลักษณ์อักษร การใช้กิริยาท่าทางอย่างหนึ่งอย่างใดก็ได้ โดยอาศัยช่องทางในการติดต่อสื่อสาร ความหมายของการสื่อสาร
องค์ประกอบของการติดต่อสื่อสาร รายวิชา การบริหารการศึกษา องค์ประกอบของการติดต่อสื่อสาร ผู้ส่งข่าวสาร (Sender) ความเข้าใจและการตอบสนอง ข้อมูลข่าวสาร (Message) องค์ประกอบของการสื่อสาร ผู้รับข่าวสาร (Receivers) สื่อในช่องทางการสื่อสาร (Media)
วัตถุประสงค์การติดต่อสื่อสาร รายวิชา การบริหารการศึกษา 1. เพื่อแจ้งข่าวสาร 2. เพื่อชักชวน หรือจูงใจ 3. เพื่อประเมิน 4. เพื่อสั่งสอนหรือให้ความรู้ 5. เพื่อสนองความต้องการด้านวัฒนธรรมและมนุษยสัมพันธ์ วัตถุประสงค์การติดต่อสื่อสาร
ประเภทของการติดต่อสื่อสาร รายวิชา การบริหารการศึกษา ประเภทของการติดต่อสื่อสาร การติดต่อสื่อสารภายใน (Internal Communication) 1. การติดต่อสื่อสารในระดับเดียวกัน ไม่เป็นพิธีการ ง่ายแก่การเข้าใจ 2. การติดต่อสื่อสารจากเบื้องบนสู่เบื้องล่าง เป็นพิธีการ และมักเป็นการสื่อสารทางเดียว 3. การติดต่อสื่อสารจากเบื้องล่างสู่เบื้องบน เป็นพิธีการเช่นเดียวกันการสื่อสารจากบนสู่ล่าง
ประเภทของการติดต่อสื่อสาร (ต่อ) รายวิชา การบริหารการศึกษา ประเภทของการติดต่อสื่อสาร (ต่อ) การติดต่อสื่อสารภายนอก (External Communication) 7. การใช้บริการสื่อมวลชนต่าง ๆ 1. การต้อนรับ 2. การนัดหมาย 8. สิ่งตีพิมพ์ของบริษัท 3. จดหมายออก และจดหมายเข้า 9. คำปราศรัย 4. โทรศัพท์ โทรสาร และจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ 5. การใช้บริการจากบริษัท กสท. โทรคมนาคม จำกัด 6. การใช้บริการบริษัทไปรษณีย์ไทย
บัญญัติ 10 ประการในการติดต่อสื่อสาร รายวิชา การบริหารการศึกษา บัญญัติ 10 ประการในการติดต่อสื่อสาร 1. แสวงหาความกระจ่างในเรื่องที่จะถ่ายทอดก่อนที่จะทำการติดต่อสื่อสารออกไปเพื่อช่วยให้การติดต่อสื่อสารชัดเจนขึ้น 2. ตรวจสอบวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการติดต่อสื่อสารแต่ละครั้งว่าต้องการส่งข่าวสารอะไร มีจุดมุ่งหมายอย่างไร 3. พิจารณาเตรียมการเมื่อท่านจะติดต่อสื่อสาร โดยเฉพาะสภาพแวดล้อมของบุคคล 4. ปรึกษาหารือกับคนอื่นตามความเหมาะสม ในการวางแผน การติดต่อสื่อสาร เพื่อให้เกิดความกระจ่าง 5. จงระมัดระวังในขณะที่ทำการติดต่อสื่อสาร ทั้งด้านบุคลิกภาพและกายวาจาโดยสังเกตการตอบสนองจากผู้รับฟัง
บัญญัติ 10 ประการในการติดต่อสื่อสาร (ต่อ) รายวิชา การบริหารการศึกษา บัญญัติ 10 ประการในการติดต่อสื่อสาร (ต่อ) 6. โอกาสแรกต้องแสดงถึงผลประโยชน์และการสร้างความสำคัญของผู้รับ (received) 7. ติดตามผลการติดต่อสื่อสารของท่าน เพื่อนำมาปรับปรุง 8. การติดต่อสื่อสารสำหรับพรุ่งนี้กับวันนี้ โดยยึดหลักว่าวันพรุ่งนี้ต้องดีกว่าวันนี้ 9. มั่นใจว่าการกระทำของท่านสนับสนุนการติดต่อสื่อสารให้เกิดผลดี 10. เปิดโอกาสให้ผู้ฟังได้รับความเข้าใจ ผู้สื่อสารควรตั้งใจฟังและสังเกตปฏิกิริยาของผู้รับเป็นสิ่งสำคัญ
บรรณานุกรม รายวิชา การบริหารการศึกษา การสื่อสารในองค์กร. (2558). สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2559. จากhttps://sites.google.com/site/darunsitpattanarangsan/sara-na-ru/585 หน่วยที่ 5 การติดต่อสื่อสาร. (2558). สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2559. จาก http://www.tice.ac.th/Online/Online2-2548/bussiness/nantapon/index.htm องค์ประกอบของการสื่อสาร. (2557). สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2559. จาก https://sites.google.com/site/chaipatcompanylimited/txn-thi-2-xngkh-prakxb-khxng-kar-suxsar
คณะผู้จัดทำ นางสาว ปรียานุช คำมี 5680108115 นางสาว ปรียานุช คำมี 5680108115 นางสาว ศินิทรา อัตโน 5680108127 นางสาว เสาวดี พนมศิลป์ 5680108133 นางสาว อรพรรณ พรพุทธรัตน์ 5680108135 นางสาว นิฮัมนะห์ หะยีแวดือเระ 5680108145 นางสาว สุกุมา สุขจรุ่ง 5680108147 ชั้นปีที่ 4 หมู่ที่ 1 คณะครุศาสตร์ โปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษ เสนอ ดร. ศักดิ์ชัย ภู่เจริญ