โครงการประเมินสถานภาพ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ การประชุมชี้แจงแบบประเมินสถานภาพด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล โครงการประเมินสถานภาพ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ Web Conference วันพฤหัสบดีที่ 14 มิถุนายน 2561 เวลา 10.00 – 11.30 น. ณ ห้องประชุม 404 อาคาร 4 ชั้น 4
กรอบมาตรฐานความสำเร็จ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล CAD มิติที่ 5 คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน มิติที่ 2 ประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรบุคคล ความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมในการทำงาน และระบบงาน การรักษาไว้ซึ่งข้าราชการที่จำเป็นต่อการบรรลุ เป้าหมาย สวัสดิการและสิ่งอำนวยความสะดวก ความพึงพอใจต่อนโยบาย/มาตรการ ในการบริหารทรัพยากรบุคคล ความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ปฏิบัติงาน ทุกระดับ มิติที่ 1 ความสอดคล้อง เชิงยุทธศาสตร์ การเรียนรู้และพัฒนา ระบบการบริหาร ผลการปฏิบัติงาน นโยบาย แผนงาน และมาตรการด้านทรัพยากรบุคคล การวางแผนและบริหารกำลังคน การบริหารกำลังคนกลุ่มที่มีทักษะและสมรรถนะสูง การสร้าง พัฒนา และสืบทอดตำแหน่ง กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากร บุคคล การตัดสินใจบนหลักความสามารถ หลักคุณธรรมหลักนิติธรรม หลักสิทธิมนุษยชน ระบบฐานข้อมูล ความคุ้มค่าของค่าใช้จ่ายในกิจกรรมการบริหาร ทรัพยากรบุคคล ความโปร่งใสของกระบวนการ และพร้อมรับการตรวจสอบ เทคโนโลยีเพื่อการบริหารทรัพยากรบุคคล มิติที่ 4 ความพร้อมรับผิดด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล มิติที่ 3 ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล
กรอบมาตรฐานความสำเร็จด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล มิติที่ 1 ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ อาทิ นโยบาย แผนงาน และมาตรการด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลสอดคล้องกับเป้าหมายภารกิจของส่วนราชการ / มีการวางแผนและบริหารกำลังคน ฯลฯ มิติที่ 2 ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล อาทิ กิจกรรมและกระบวนการการบริหารทรัพยากรบุคคลมีความถูกต้องและทันเวลา / มีระบบฐานข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลที่ถูกต้อง ฯลฯ มิติที่ 3 ประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรบุคคล อาทิ การรักษาไว้ซึ่งข้าราชการที่จำเป็นต่อ การบรรลุเป้าหมายและภารกิจของส่วนราชการ / ความพึงพอใจของข้าราชการและบุคลากร ต่อนโยบาย ฯลฯ มิติที่ 4 ความพร้อมรับผิดด้านการบริหารทรัพยากร อาทิ การรับผิดชอบต่อการตัดสินใจ และ ผลการตัดสินใจด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล และการดำเนินการทางวินัยบนหลักของความสามารถ หลักคุณธรรม หลักนิติธรรม และหลักมนุษยธรรม / ความโปร่งใสของกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลและพร้อมให้มีการตรวจสอบ ฯลฯ มิติที่ 5 คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงาน อาทิ ความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมในการทำงานและระบบงาน / การจัดสวัสดิการและสิ่งอำนวยความสะดวกเพิ่มเติมจากสวัสดิการตามกฎหมาย ฯลฯ
ขั้นตอนการจัดทำแผนกลยุทธ์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ. ขั้นตอนที่ 1 การจัดกิจกรรมพัฒนาหรือเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทำแผนกลยุทธ์ ตามแนวทาง HR Scorecard ขั้นตอนที่ 2 การดำเนินการประเมินสถานภาพด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ได้แก่ - การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน ของการบริหารทรัพยากรบุคคล - การวิเคราะห์ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรบุคคล ขั้นตอนที่ 3 การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ได้แก่ - วิเคราะห์ทิศทาง นโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงาน/โครงการของส่วนราชการ - กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ การบริหารทรัพยากรบุคคล ขั้นตอนที่ 4 การกำหนดเป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์การทรัพยากรบุคคลและตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน ของแต่ละเป้าประสงค์ ได้แก่ - กำหนดเป้าประสงค์ - กำหนดตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน ข้อมูลพื้นฐาน และค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด ขั้นตอนที่ 5 การจัดทำรายละเอียดแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลเสนอแผนกลยุทธ์ต่อฝ่ายบริหารและจัดทำแผนงาน/โครงการรองรับ
โครงการประเมินสถานภาพด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล กำหนดการดำเนินการ 2 ส่วน บุคลากรทุกหน่วยงานในสังกัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ (ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างประจำ) ตอบแบบประเมินสถานภาพด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลผ่านระบบ Google Form ระหว่างวันที่ 15 - 30 มิถุนายน 2561 ส่วนที่ 1 บุคลากรในหน่วยงานเป้าหมาย (ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างประจำ) สังกัด สมช. และ สตส.สระแก้ว นครราชสีมา น่าน เพชรบูรณ์ ตรัง กระบี่ กรุงเทพมหานคร ซึ่งอยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบของสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 2, 3, 6, 8 และ 9 เข้าร่วมประเมินสถานภาพด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ในลักษณะ Focus Group ระหว่างวันที่ 11 มิถุนายน ถึงวันที่ 6 กรกฎาคม 2561 ส่วนที่ 2
แบบประเมินสถานภาพ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล CAD ส่วนที่ 1 แบบประเมินสถานภาพ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล บุคลากรทุกหน่วยงานในสังกัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ (ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างประจำ) ตอบแบบประเมินสถานภาพด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลผ่านระบบ Google Form ระหว่างวันที่ 15 - 30 มิถุนายน 2561
QR Code โครงการประเมินสถานภาพด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล CAD QR Code โครงการประเมินสถานภาพด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ของข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างประจำ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ เว็บลิงก์เข้าไปทำแบบประเมิน https://goo.gl/forms/SHqJb4Ecsh5FN2XA2
ประเด็นที่น่าสนใจ (ส่วนที่ 1) อตส./รตส./ผชช./กตน./กพร./กปร. ส่วนที่ 1 คำถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 คำถามเกี่ยวกับสถานภาพด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ส่วนที่ 3 คำถามเกี่ยวกับความผูกพันของบุคลากรต่อองค์กร ประเด็นที่น่าสนใจ (ส่วนที่ 1) อตส./รตส./ผชช./กตน./กพร./กปร. หน่วยงานที่สังกัด หน่วยงานขึ้นตรงต่ออธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ สำนักบริหารกลาง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษ สำนักมาตรฐานการบัญชีและการสอบบัญชี สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1 - 10 สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัด
สถานภาพการรับราชการ ข้าราชการ ประเภท บริหาร อำนวยการ วิชาการ ระดับ ปฏิบัติการ/ชำนาญการ/ชำนาญการพิเศษ/เชี่ยวชาญ ทั่วไป ระดับ ชำนาญงาน/อาวุโส พนักงานราชการ ประเภท กลุ่มงานบริการ/กลุ่มงานบริหารทั่วไป/กลุ่มงานเทคนิค/ กลุ่มงานวิชาชีพเฉพาะ/กลุ่มงานเชี่ยวชาญเฉพาะ ลูกจ้างประจำ ประเภท ช่าง/สนับสนุน/บริการพื้นฐาน
ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ ลำดับที่ ชื่อตำแหน่ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 กลุ่มงานบริการ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบบัญชี เจ้าพนักงานตรวจสอบบัญชี กลุ่มงานบริหารงานทั่วไป นักวิชาการตรวจสอบบัญชี เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ นักวิชาการพัสดุ นักวิชาการเผยแพร่ นักวิชาการเงินและบัญชี นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักสถิติ นักทรัพยากรบุคคล นักวิเทศสัมพันธ์ นักจัดการงานทั่วไป นิติกร นักวิชาการโสตทัศนศึกษา กลุ่มงานวิชาชีพเฉพาะ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ กลุ่มงานเชี่ยวชาญเฉพาะ ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้เชี่ยวชาญด้านตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดระบบงานและอัตรากำลัง ลำดับที่ ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงานบริการพื้นฐาน 1 พนักงานบริการเอกสารทั่วไป 2 พนักงานรักษาความปลอดภัย 3 พนักงานสถานที่ 4 พนักงานรับโทรศัพท์ 5 พนักงานเก็บเอกสาร กลุ่มงานสนับสนุน 6 พนักงานขับรถยนต์ พนักงานราชการ
ประเด็นที่น่าสนใจ (ส่วนที่ 2 และ 3) ระดับความพึงพอใจ/ความคิดเห็น และ ระดับความสำคัญ มากที่สุด มาก น้อย น้อยที่สุด ตัวอย่างคำถาม ท่านมีโอกาสพัฒนาความรู้และประสบการณ์ในการทำงาน โดยการสัมมนาและการเข้ารับการฝึกอบรมตามที่หน่วยงานต้องการ ตัวอย่างคำตอบ ความพึงพอใจ/ความคิดเห็น น้อย ความสำคัญ มากที่สุด คำอธิบาย ผู้ตอบเห็นว่า ผู้ตอบมีโอกาสในการได้รับการพัฒนาน้อย จึงตอบระดับความพึงพอใจ/ความคิดเห็น ในช่อง “น้อย” แต่ ผู้ตอบเห็นว่า การพัฒนาความรู้และประสบการณ์ในการทำงานเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญมากต่อการทำงาน ผู้ตอบจึงตอบในช่องระดับความสำคัญ “มากที่สุด”
แบบประเมินนี้ต้องตอบทุกข้อ
ส่วนที่ 1
บางข้อคำถามที่ต้องเลือกตอบซับซ้อน
ความพึงพอใจ/ความคิดเห็น และ ความสำคัญ ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจ/ความคิดเห็น และ ความสำคัญ
อธิบายเพิ่มเติมได้
ตอบทุกข้อแล้ว ไปต่อได้
ความพึงพอใจ/ความคิดเห็น ส่วนที่ 3 ความพึงพอใจ/ความคิดเห็น
ตอบไม่ครบ ส่งแบบไม่ได้
ตอบครบ ส่งแบบได้
ส่งแบบได้แล้ว ดีต่อใจ
ส่วนที่ 2 4 ประเด็นคำถาม CAD บุคลากรในหน่วยงานเป้าหมาย (ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างประจำ) สังกัด สมช. และ สตส.สระแก้ว นครราชสีมา น่าน เพชรบูรณ์ ตรัง กระบี่ กรุงเทพมหานคร ซึ่งอยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบของสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 2, 3, 6, 8 และ 9 เข้าร่วมประเมินสถานภาพด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ในลักษณะ Focus Group ระหว่างวันที่ 11 มิถุนายน ถึงวันที่ 6 กรกฎาคม 2561
4 ประเด็นคำถาม 1. เป้าหมายสูงสุดหรือผลสัมฤทธิ์ที่สำคัญที่องค์กรต้องการให้เกิดขึ้นใน 1 - 3 ปีข้างหน้าคืออะไร 2. อะไรบ้างที่เป็นจุดแข็งหรือสิ่งที่ดีที่องค์กรมีอยู่ และอยากจะให้รักษาไว้ต่อไป หรือมุ่งเน้นให้ดียิ่งๆ ขึ้น 3. อะไรบ้างที่เป็นสิ่งท้าทาย หรือสิ่งที่ต้องปรับปรุงเพื่อให้การบริหารงานขององค์กรประสบผลสำเร็จ เป้าหมายสูงสุดที่คาดหวัง 4. อะไรบ้างที่หน่วยงานการเจ้าหน้าที่ควรจะทำ แต่ไม่ได้ทำให้ช่วงที่ผ่านมา หรือท่านคาดหวังให้หน่วยงานการเจ้าหน้าที่สนับสนุน
Thank you CAD คณะทำงานจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล คณะทำงานย่อยเพื่อประเมินสถานภาพด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล