อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
Advertisements

สิ่งแวดล้อมในฟาร์มเลี้ยงสัตว์
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน ว่าด้วยมาตรการป้องกัน แก้ไข และ ติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม สำหรับผู้ได้รับการยกเว้น.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
สภาพและความต้องการของเด็กสถานพินิจเด็กและเยาวชนชาย:ศึกษากรณีบ้านมุทิตา
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบบการจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
โครเมี่ยม (Cr).
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่องท่าทางการทำงานที่ถูก หลักการยศาสตร์ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน สนับสนุนโดยสำนักงานประกันสังคม.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ชุมชนปลอดภัย.
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การยศาสตร์ (Ergonomics)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
# ความปลอดภัยในการทำงาน #
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
เรื่อง อันตรายของเสียง
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
1.
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคใบด่างมันสำปะหลัง
หมวดที่ 4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
กองวิศวกรรมการแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ในโรงพยาบาล นพ.ประเวศ ตรงฤทธิชัยการ หัวหน้ากลุ่มงานอาชีวเวชกรรม

อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงพยาบาล การดำเนินงานอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลหมายถึง การดำเนินงาน เพื่อการดูแลสุขภาพและความปลอดภัยในการทำงานให้แก่บุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล ซึ่งนับเป็นผู้ประกอบอาชีพในสถานที่ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการทางการแพทย์ การพยาบาล การสาธารณสุข อันมีสภาพแวดล้อมการทำงานที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพและความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน

ธรรมชาติของการเกิดโรค

สิ่งคุกคาม(hazard) สิ่งคุกคาม (hazard) หมายถึง “สิ่ง” หรือ “สภาวการณ์” ใดๆ ก็ตาม ที่มีความสามารถก่อปัญหาสุขภาพต่อคนได้ สิ่งคุกคามที่พบได้จากการทำงาน (occupational hazard)

สิ่งคุกคามสุขภาพในโรงพยาบาล สิ่งคุกคามสุขภาพทางกายภาพ (Physical health hazards) สิ่งคุกคามสุขภาพทางชีวภาพ (Biological health hazards) สิ่งคุกคามสุขภาพทางเคมี (Chemical health hazards) สิ่งคุกคามทางการยศาสตร์ (Ergonomics) สิ่งคุกคามสุขภาพทางจิตวิทยาสังคม (Psychosocial health hazards) ความปลอดภัย (safety hazard)

สิ่งคุกคามสุขภาพทางกายภาพ (Physical health hazards) 01

สิ่งคุกคามสุขภาพทางกายภาพ สิ่งคุกคามทางกายภาพ (physical hazard) เป็นพลังงานทางฟิสิกส์ ที่หากมีสภาวะที่ไม่เหมาะสมแล้ว สามารถทำให้เกิดโรคได้ ตัวอย่าง สิ่งคุกคามทางกายภาพเสียงดัง แสงสว่างจ้าเกินไป เสียงดัง ความร้อน กัมมันตภาพรังสี ความกดอากาศที่สูงหรือต่ำเกินไป

สิ่งคุกคามสุขภาพทางกายภาพ ที่มา : ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ปี 2561 เรื่อง มาตรฐานระดับเสียงที่ยอมให้ลูกจ้างได้รับ เฉลี่ยตลอดระยะเวลาการทำงานในแต่ละวัน

สิ่งคุกคามสุขภาพทางกายภาพ ที่มา : ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ปี 2561 เรื่อง มาตรฐานความเข้มของแสงสว่าง

สิ่งคุกคามสุขภาพทางชีวภาพ (Biological health hazards) 02

สิ่งคุกคามสุขภาพทางชีวภาพ สิ่งคุกคามทางชีวภาพ (biological hazard) คือเชื้อโรคชนิดต่างๆ ที่พบในการทำงาน และสามารถทำให้เกิดโรคได้ในรูปแบบของการติดเชื้อ ตัวอย่างของสิ่งคุกคามทางชีวภาพ เชื้อไวรัสโรคพิษสุนัขบ้า เชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ เชื้อไวรัสโรคซาร์ เชื้อไวรัสไข้หวัดนก เชื้อแบคทีเรียแอนแทร็กซ์ เชื้อปรสิตมาลาเรีย

สิ่งคุกคามสุขภาพทางเคมี (Chemical health hazards) 03

สิ่งคุกคามสุขภาพเคมี สิ่งคุกคามทางเคมี คือสารเคมี ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของธาตุหรือสารประกอบ ในรูปของแข็ง ของเหลว แก็ส ฝุ่น ละออง หรือฟูม ซึ่งหากคนทำงานได้รับเข้าไปแล้ว สามารถทำให้เกิดโรคได้ ตัวอย่าง สิ่งคุกคามทางเคมีธาตุโลหะต่างๆ เช่น ตะกั่วปรอท แคดเมียม ธาตุอโลหะ เช่นสารหนู ฟอสฟอรัส ตัวทำละลาย เช่น เบนซีน โทลูอีน สไตรีน แก็สพิษ เช่น แอมโมเนีย คลอรีน ฟอสจีน ยาฆ่าแมลง เช่น ออร์กาโนฟอสเฟต ยากำจัดศัตรูพืช เช่น ไกลโฟเสต

GHS คือ ระบบการจัดกลุ่มสารเคมี การติดฉลาก และการแสดงรายละเอียดบนเอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) อันตรายทางกายภาพ อันตรายต่อสุขภาพ เพลิงไหม้ ระเบิด ก่อมะเร็ง สารเคมี กัดกร่อน / ระคายเคือง อื่นๆ อันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ทำลายระบบนิเวศน์ เป็นพิษสะสมในสิ่งมีชีวิตในน้ำ

เครื่องหมายนี้เรียกง่ายๆ ว่า "เพชรไฟ" (fire diamond) NFPA คือ เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ซึ่งกำหนดและรักษามาตรฐานโดย สมาคมป้องกันอัคคีภัยแห่งชาติ (National Fire Protection Association) ของสหรัฐอเมริกา เพื่อป้องกันและเตือนถึงวัสดุอันตรายต่างๆ เครื่องหมายนี้เรียกง่ายๆ ว่า "เพชรไฟ" (fire diamond)

สิ่งคุกคามทางการยศาสตร์ (Ergonomics) 04

สิ่งคุกคามสุขภาพทางการยศาสตร์ สิ่งคุกคามทางการยศาสตร์ (Ergonomics hazard) คือสิ่งคุกคามที่เกิดจากท่าทางการทำงานที่ก่อให้เกิดโรคได้ เช่น การทำงานในท่าเดิมซํ้าๆ นานๆ (repetitive work) การทำงานที่ต้องใช้แรงเกินกำลัง (forceful work) การทำงานที่ต้องบิดเอี้ยวตัวกว่าปกติ (malposition / awkward posture)

สิ่งคุกคามสุขภาพทางการยศาสตร์ ยกสิ่งของที่มีน้ำหนักมาก ทำให้เกิดความผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง(Muskuloskeletal Disorders; MSDs) ซึ่งหมายถึงอาการเจ็บป่วยถาวร มีการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อข้อต่อ เอ็น และเนื้อเยื่ออื่นๆ ที่อยู่ใกล้เคียง ตัวอย่าง เช่น โรคปวดหลังส่วนบั้นเอว(Low Back Pain; LBP) เอ็นอักเสบ (Tendinitis) กลุ่มอาการอุโมงค์ข้อมือ (Carpal Tunnel Syndrome; CTS) เป็นต้น ยืน/นั่งทำงานนานๆ มีรูปแบบการทำงานซ้ำๆ ออกแรงดึงหรือดันที่ออกแรงมาก

สิ่งคุกคามสุขภาพทางการยศาสตร์ ยกสิ่งของที่มีน้ำหนักมาก กฎกระทรวง กำหนดอัตราน้ำหนักที่นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานได้ พ.ศ.2547 ในมาตรา 37 ลูกจ้างเด็กหญิง อายุตั้งแต่ 15 ปีแต่ไม่ถึง 18 ปี ยกของหนักได้ไม่เกิน 20 กิโลกรัม ลูกจ้างเด็กชาย อายุตั้งแต่ 15 ปีแต่ไม่ถึง 18 ปี ยกของหนักได้ไม่เกิน 25 กิโลกรัม ลูกจ้างเพศหญิง ที่อายุเกิน 18 ปี ยกของหนักได้ไม่เกิน25 กิโลกรัม ลูกจ้างชาย อายุเกิน 18 ปีขึ้นไป สามารถยกของหนักได้ไม่เกิน 55 กิโลกรัม

สิ่งคุกคามสุขภาพทางการยศาสตร์

สิ่งคุกคามสุขภาพทางการยศาสตร์

สิ่งคุกคามสุขภาพทางจิตวิทยาสังคม (Psychosocial health hazards) 05

สิ่งคุกคามสุขภาพด้านจิตวิทยาสังคม สิ่งคุกคามทางด้านจิตวิทยาสังคม (psychological hazard) คือสภาวการณ์ที่ทำให้เกิดผลกระทบทางด้านจิตใจกับคนทำงาน ทำให้เกิดความเครียดและเกิดเจ็บป่วยเป็นโรค ตัวอย่างของสิ่งคุกคามทางจิตใจ การถูกหัวหน้างานต่อว่า การทะเลาะกับเพื่อนร่วมงาน ปัญหาศีลธรรมในที่ทำงาน การทำงานงานกะ ผิดเวลา ชั่วโมงการทำงานยาวนาน ได้พักผ่อนน้อย

สิ่งคุกคามทางความปลอดภัย (safety hazard) 06

สิ่งคุกคามสุขภาพทางความปลอดภัย สิ่งคุกคามทางความปลอดภัย (safety hazard) คือสภาวการณ์ที่มีโอกาสทำให้เกิดอุบัติเหตุ (accident) ได้มากหรือกล่าวในเชิงตรงกันข้ามก็คือสภาวการณ์ที่ขาดซึ่งความปลอดภัย (safety) สิ่งคุกคามกลุ่มนี้ มีความแตกต่างจากสิ่งคุกคามกลุ่มอื่นๆ คือจะทำให้เกิดการบาดเจ็บ (injury) ไม่ใช่การเจ็บป่วย (illness) ตัวอย่างสิ่งคุกคามทางความปลอดภัยเดินบนพื้นลื่น - ปีนบันไดที่ชำรุด - ขับรถด้วยความเร็วสูง - ทำงานกับเครื่องจักรขณะง่วงนอน

การควบคุมที่ทางผ่าน การป้องกันที่ตัวบุคคล การจัดการสิ่งคุกคามสุขภาพและปัญหาสภาพแวดล้อมจากการทำงาน การควบคุมที่แหล่งกำเนิด การควบคุมที่ทางผ่าน การป้องกันที่ตัวบุคคล -ปรับปรุง ปรับเปลี่ยนเปลี่ยนกระบวนการทำงาน -ใช้สารอื่นทดแทน -ซ่อมบำรุง เปลี่ยนอุปกรณ์ -การทำความสะอาด, 5 ส -ฉากกั้น ปลูกต้นไม้กั้น -แยกห้อง แยกส่วน -การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล -การอบรม -การเปลี่ยน หมุนเวียน