กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
สกลนครโมเดล.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
คณะที่ ๒ : การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
แนวทางการสนับสนุนงบบริการสร้างเสริม สุขภาพและป้องกันโรค (PPA-PPD) เพื่อ สนับสนุนนโยบายทีมหมอครอบครัว (FCT) ปี 2558 เขต 9 นครราชสีมา งานพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิและเวชปฏิบัติครอบครัว.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
การดำเนินงานทรัพยากรบุคคล ปี 2560
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560 แผนงาน การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (Primary Care Cluster) โครงการ พัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิระดับภาคกลาง ปี 2562 เป้าหมาย เพื่อให้เกิดการดูแลประชาชนในพื้นที่ที่มีขนาดเหมาะสมได้อย่างมีประสิทธิภาพ เข้าถึงบริการครอบคลุม ทุกมิติ และได้รับบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 100 ของพื้นที่เป้าหมายมีคลินิกหมอครอบครัว ( จำนวน 64 PCC 183ทีม) เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน ภาคกลางกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ มีภาระจากโรคที่ป้องกันได้ เมื่อเจ็บป่วยจึงตรงเข้าหาบริการจากแพทย์เฉพาะทางโดยตรงในรพศ./รพท.ทำให้เกิดความแออัดในโรงพยาบาลขนาดใหญ่และข้อจำกัดของงบประมาณด้านสุขภาพของประเทศ กระทรวงสาธารณสุขจึงกำหนดนโยบายในการดำเนินงานพัฒนาระบบปฐมภูมิและคลินิก (Primary Care Cluster) ยุทธศาสตร์/ มาตรการ พัฒนารูปแบบโครงสร้างและ การจัดบริการปฐมภูมิ พัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคน พัฒนาระบบสนับสนุนการพัฒนากลุ่มเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และการอภิบาลระบบ กิจกรรมหลัก 1.พัฒนารูปแบบการจัดบริการปฐมภูมิและคลินิกหมอครอบครัวที่มีคุณภาพและสอดคล้องกับบริบทพื้นที่ 2.สร้างกลไกการขับเคลื่อนเพื่อขยายพื้นที่PCC 3.จัดกลุ่มเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิเพื่อยกระดับเป็นคลินิกหมอครอบครัว 4.พัฒนาระบบการเชื่อมโยงบริการปฐมภูมิกับระบบบริการในระดับอื่นๆ 5.วิจัยรูปแบบการจัดบริการในคลินิกหมอบครอบครัวที่เหมาะสม และการถอดบทเรียน 6.จัดบริการเชิงรุก เชิงรับ(ทุกคน ทุกอย่าง ทุกที่ ทุกเวลา ด้วยเทคโนโลยี 7.การสนับสนุนจัดหาสิ่งก่อสร้างและครุภัณฑ์ ที่จำเป็นและสอดคล้องกับการให้บริการ 8.พัฒนาคุณภาพมาตรฐานใน รพ.สต.เช่น IC QSC ความเสี่ยง รพ.สต.ติดดาว รพ.สต.ดีเด่น ระบบบริการฉุกเฉิน โดยการสนับสนุนงบประมาณพัฒนาโครงสร้างและระบบบริการทกแห่งรองรับ PCC 1.ผลิตแพทย์เวชศาสตร์และอบรมแพทย์ทั่วไปด้านเวชศาสตร์รอบครัว 2.พัฒนาสหวิชาชีพเพื่อรองรับการทำงานในคลินิกหมอครอบครัว 3.พัฒนาและสร้างเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อรองรับการพัฒนาระบบปฐมภูมิ 4.จัดตั้งและพัฒนาศูนย์เรียนรู้เพื่อการขับเคลื่อนระบบปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว(Good Model)ระดับจังหวัด/ระดับเขตสุขภาพ 5.พัฒนาระบบการสร้างแรงจูงใจให้กับแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวและทีมหมอครอบครัวในการให้บริการในกลุ่มเครือข่ายและหน่วยบริการปฐมภูมิ 6.พัฒนาจิตอาสา แกนนำ ภาคีอื่นๆร่วมพัฒนางาน PCC 1.พัฒนารูปแบบการสนับสนุนด้านต่างๆที่เกี่ยวข้อง 2.สนับสนุนการจัดหาสถานที่การจัดกลุ่มเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่เหมาะสมโดยเชื่อมโยงระบบบริการกับศูนย์บริการสาธารณสุขของเทศบาลและคลินิกชุมชนอบอุ่น แบบไร้รอยต่อ 3.พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพเชื่อมโยงกับข้อมูลหน่วยงานอื่นทั้งภาครัฐและเอกชน 4.จัดทำหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขการจ่ายเงินค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster) 5.สร้างช่องทางการเข้าถึงบริการข้อมูลสุขภาพ 6.จัดระบบสนับสนุนและแชร์ทรัพยากรภายในเครือข่าย (supportive system) 7.พัฒนาระบบบริการฉุกเฉินร่วมกับภาคีอื่นๆ 1.ถ่ายทอดนโยบายและทิศทางสู่การขับเคลื่อนอย่างบูรณาการและมีส่วนร่วมจากหน่วยงานและภาคีต่างๆ 2.จัดทำกฎหมายการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ รองรับการดำเนินงานตรม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักไทย ปีพ.ศ.2559 3.ประสาน สร้างความร่วมมือภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพในการบริหารจัดการ จัดบริการและแสวงหาการสนับสนุนรูปแบบต่างๆ 4.ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจแก่ประชาชน 5.พัฒนาระบบกำกับติดตามประเมินผลให้มีประสิทธิภาพ ระดับความสำ เร็จ ไตรมาส 1 -เปิดดำเนินการPCC ได้ 20%ของแผน ไตรมาส 2 -เปิดดำเนินการPCC ได้ 30%ของแผน - จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ด้านเวชศาสตร์ตรอบครัวสำหรับสหวิชาชีพ 1 แห่งต่อเขต ไตรมาส 3 -เปิดดำเนินการPCC ได้ 70%ของแผน ไตรมาส 4 -เปิดดำเนินการPCC ได้ 90%ของแผน มีสถาบันหลักที่ผลิตแพทย์ด้วยหลักสูตร Formal training หรือ in-service training 1 แห่งต่อเขต มีผลการดำเนินงานที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม (ความแออัดของ รพท./รพช. ลดลง,อัตราการเจ็บป่วย/อัตราตาย/การเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคต่างๆลดลง,คุณภาพชีวิตของประชาชนดีขึ้น,ค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพ เทียบกับต้นทุนบริการลดลง)